Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ัญหายาเสพติดเป็ นปัญหาสังคมและมีผลกระทบโดยตรงตอทังตัวผู้ติดผู้เสพยาเสพติด ชุมชน สังคม และประเทศชาติ จึงทําให้รัฐบาลในทุกยุคทุกสมัยให้ความสําคัญและกําหนดเป็ น วาระแห่งชาติ เพือแก้ไขปัญหายาเสพติดและจะต้องควบคุม ป้ องกั

ัญหายาเสพติดเป็ นปัญหาสังคมและมีผลกระทบโดยตรงตอทังตัวผู้ติดผู้เสพยาเสพติด ชุมชน สังคม และประเทศชาติ จึงทําให้รัฐบาลในทุกยุคทุกสมัยให้ความสําคัญและกําหนดเป็ น วาระแห่งชาติ เพือแก้ไขปัญหายาเสพติดและจะต้องควบคุม ป้ องกั

Published by phsinwngkhxnu, 2022-08-24 05:17:35

Description: ัญหายาเสพติดเป็ นปัญหาสังคมและมีผลกระทบโดยตรงตอทังตัวผู้ติดผู้เสพยาเสพติด ชุมชน สังคม และประเทศชาติ จึงทําให้รัฐบาลในทุกยุคทุกสมัยให้ความสําคัญและกําหนดเป็ น วาระแห่งชาติ เพือแก้ไขปัญหายาเสพติดและจะต้องควบคุม ป้ องกั

Search

Read the Text Version

ยาเสพติด

คำนำ ัญหายาเสพติดเป็ นปัญหาสังคมและมีผลกระทบโดยตรงตอทังตัวผู้ติด/ผู้เสพยาเสพติด ชุมชน สังคม และประเทศชาติ จึงทําให้รัฐบาลในทุกยุคทุกสมัยให้ความสําคัญและกําหนดเป็ น วาระแห่งชาติ เพือแก้ไขปัญหายาเสพติดและจะต้องควบคุม ป้ องกัน และปราบปรามปัญหายาเสพติด ซึงการแก้ไขปัญหายาเสพติดทีมุ่งเน้นตัวผู้ติด ผู้เสพยาเสพติดทีเป็ นตัวการหลักในการใช้ยาเสพติดนัน ถือเป็ นทางหนึงในการแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยการนําผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดเหล่านันเข้าสู่ กระบวนการบําบัดรักษายาเสพติดระบบแบบสมัครใจในรูปแบบค่ายปรับเปลียนพฤติกรรม ภายใต้ ชือ “ศูนย์ขวัญแผ่นดินจังหวัดนครสวรรค์” เพือปลูกฝังจิตสํานึกให้ผู้เข้ารับการบําบัดรักษาได้มี ส่วนร่วมและสมัครใจเข้ารับการปรับเปลียนพฤติกรรมได้เห็นคุณค่าในตนเอง เลิกใช้ยาเสพติดและ กลับเป็ นคนดีของสังคมก็จะทําให้ชุมชน หมู่บ้าน สังคมและประเทศชาติ มีความมันคงและ ปลอดภัยจากยาเสพติดมากยิงขึน และจากการดําเนินงานจัดทําค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดินจังหวัด นครสวรรค์ ตังแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๘ พบว่า ปัญหายาเสพติดในพืนทีจังหวัดนครสวรรค์เบาบางลง และ ศูนย์ขวัญแผ่นดินยังเป็ นต้นแบบ การแก้ไขปัญหายาเสพติดทีใช้ระบบบําบัดแบบสมัครใจไป ทัวประเทศ การศึกษาวิจัยในครังนีเป็ นการศึกษาการดําเนินงานของศูนย์ขวัญแผ่นดินจังหวัด นครสวรรค์ เพือประเมินผลการดําเนินการตามโครงการและติดตามผล และเพือเสนอแนวทาง ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดตามแผนแนวทางของศูนย์ขวัญแผ่นดินจังหวัดนครสวรรค์อย่างยังยืน ต่อไป ผู้จัดทำ ด.ช.พศิน วงค์อนุ ม.2/2 เลขที่25

สารบัญ หัวข้อ หน้า ความหมายของยาเสพติด 4 ประเภทของยาเสพติด 5 การออกฤทธิ์ของฝิ่ น 6 การออกฤทธิ์ของมอร์ฟีน 7 เเหลงอ้างอิง 8

4 ความหหมายของยาเสพติด ความหมายของยาเสพติด ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตาม ธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้น เมี่อน าเข้าสู้ ร่างกายไม่ว่าจะโดยวิธีรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ท าให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ นอกจากนี้ ยังจะท าให้เกิดการเสพติดได้ หากใช้สารนั้นเป็นประจ าทุกวัน หรือวันละหลาย ๆ ครั้ง ลักษณะส าคัญของสารเสพติด จะท าให้เกิดอาการ และอาการแสดงต่อผู้เสพ ดังนี้ ๑. เกิดอาการดื้อยา หรือต้านยา และเมื่อติดแล้ว ต้องการใช้สารนั้นในประมาณ มากขึ้น ๒. เกิดอาการขาดยา ถอนยา หรืออยากยา เมื่อใช้สารนั้นเท่าเดิม ลดลง หรือหยุดใช้ ๓. มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจ อย่างรุนแรงตลอด เวลา ๔. สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลง เกิดโทษต่อตนเอง ครอบครัว ผู้อื่น ตลอดจน สังคม และ ประเทศชาต

5 ประเภทของสารเสพติด ประเภทของยาเสพติด แบ่งได้หลายรูปแบบ ตามลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ ๑. แบ่งตามแหล่งที่เกิด ซึ่งจะแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑.๑ ยาเสพติด ธรรมชาติ(Natural Drugs) คือยาเสพติดที่ผลิตมาจากพืช เช่น ฝิ่ น กระท่อม กัญชา เป็นต้น เฮโรอีน ยาบ้า ๑.๒ ยาเสพติดสังเคราะห์ (Synthetic Drugs) คือยาเสพติดที่ผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีทาง เคมีเช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน เป็นต้น ๒. แบ่งตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.๒๕๒๒ ซึ่งจะแบ่งออกเป็น ๕ ประเภท คือ ๒.๑ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๑ ได้แก่ เฮโรอีน แอลเอสดีแอมเฟ ตามีน หรือยาบ้า ยา อีหรือยาเลิฟ ๒.๒ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๒ ยาเสพ ติดประเภทนี้สามารถน ามาใช้เพื่อประโยชน์ทาง การแพทย์ได้ แต่ต้องใช้ภายใต้ การควบคุมของแพทย์ และใช้เฉพาะกรณีที่จ าเป็นเท่านั้น ได้แก่ ฝิ่ น มอร์ฟีน โคเคน หรือโคคาอีน โคเคอีน และเมทาโดน ๒.๓ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๓ ยาเสพติดประเภทนี้เป็นยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติด ประเภทที่ ๒ ผสมอยู่ด้วย มีประโยชน์ทางการแพทย์ การน าไปใช้เพื่อจุดประสงค์อื่น หรือเพื่อเสพติด จะมี บทลงโทษก ากับไว้ ยาเสพติดประเภทนี้ ได้แก่ ยาแก้ไอ ที่มีตัวยาโคเคอีน ยาแก้ ท้องเสีย ที่มีฝิ่ นผสมอยู่ด้วย ยาฉีดระงับปวดต่าง ๆ เช่น มอร์ฟีน เพทิ ดีน ซึ่ง สกัดมาจากฝิ่ น ๒.๔ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๔ คือสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยา เสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๑ หรือประเภทที่ ๒ ยาเสพติดประเภทนี้ไม่มีการน ามา ใช้ประโยชน์ในการบ าบัดโรคแต่อย่างใด และมี บทลงโทษก ากับไว้ด้วย ได้แก่น้ ายาอะเซติคแอนไฮไดรย์ และ อะเซติลคลอไรด์ ซึ่งใช้ในการเปลี่ยนมอร์ฟีน เป็น เฮโรอีน สารคลอซูไดอีเฟครีน สามารถใช้ในการผลิตยาบ้าได้ และวัตถุออกฤทธิ์ ต่อจิตประสาทอีก ๑๒ ชนิด ที่สามารถน ามาผลิตยาอีและยาบ้าได้

6 ฝิ่ น ฝิ่ น (Opium) เป็นสารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งได้จากยางของผลฝิ่ น ในเนื้อฝิ่ นมีสารเคมีผสมอยู่มากมาย ประกอบด้วย โปรตีน เกลือแร่ ยางและกรดอินทรีย์เป็นแอลคะลอยด์ (Alkaloid) ซึ่งเป็นตัวการสำคัญ ที่ ทำให้ฝิ่ นกลายเป็นสารเสพติดให้โทษร้ายแรง ออกฤทธิ์กดระบบประสาท จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 2 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 โดยผู้ที่เสพจะมีอาการจิตใจเลื่อนลอย ง่วง ซึม แก้วตาหรี่ พูดจาวกวน ความคิดเชื่องช้า ไม่รู้สึกหิว ชีพจรเต้นช้า แอลคะลอยด์ในฝิ่ นแบ่งแยกได้เป็น 2 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 ออกฤทธิ์ทำให้เกิดอาการมึนเมาและเป็นยาเสพติดให้โทษโดยตรง แอลคะลอยด์ ประเภทนี้ทางเภสัชวิทยาถือว่าเป็นยาทำให้นอนหลับ (Hypnotic) แอลคะลอยด์ที่เป็นสารเสพติดซึ่งออกฤทธิ์ ตัวสำคัญที่สุดในฝิ่ น คือ มอร์ฟีน (Morphine) ประเภทที่ 2 ออกฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหย่อนคลายตัว ซึ่งในทางเภสัชวิทยาถือว่าแอลคะ ลอยด์ในฝิ่ นประเภทนี้ไม่เป็นสารเสพติดแต่มีฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อของร่างกายหย่อนคลายตัว ซึ่งมีปาปาเวอร์ รีน (Papaverine) เป็นตัวสำคัญ ฝิ่ นเป็นพืชล้มลุกขึ้นในที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลประมาณ 3,000 ฟุตขึ้นไป เป็นยาเสพติดที่เป็นต้นตอของยา เสพติดร้ายแรง เช่น มอร์ฟีน เฮโรอีน และโคเคอีน มีการลักลอบปลูกฝิ่ นมากทางภาคเหนือของประเทศไทย บริเวณแนวพรมแดน ที่เรียกว่าสามเหลี่ยมทองคำ เนื้อฝิ่ นได้มาจากยางของผลฝิ่ นที่ถูกกรีดจะมีสีขาว เมื่อ ถูกอากาศจะมีสีคล้ำลง กลายเป็นยางเหนียวสีน้ำตาลไหม้ หรือดำ มีกลิ่นเหม็นเขียวและรสขม เรียกว่า ฝิ่ น ดิบ ส่วนฝิ่ นที่มีการนำมาใช้เสพ เรียกว่า ฝิ่ นสุก ได้มาจากการนำฝิ่ นดิบไปต้มหรือเคี่ยวจนสุก ฝิ่ นมีองค์ประกอบทางเคมีเป็นอัลคาลอยด์มากกว่า 30 ชนิด ที่สำคัญและในปัจจุบันยังใช้ประโยชน์ใน ทางการแพทย์

7 มอร์ฟีน เป็นอัลคาลอยด์ที่สำคัญที่สุดของฝิ่ น โดยชาวเยอรมันเป็นผู้สกัดได้จากฝิ่ นครั้งแรก เมื่อปี ค.ศ. 1803 มีฤทธิ์ในทางกดประสาทแรงกว่าฝิ่ นประมาณ 8 – 10 เท่า จึงเสพติดได้ง่ายและอดได้ยาก กว่าฝิ่ น ฤทธิ์ของมอร์ฟีน มอร์ฟีน จัดเป็นยาเสพติดประเภทกดประสาท ซึ่งมีโทษร้ายแรงมากแต่ในการแพทย์ก็นำมาใช้เป็น ประโยชน์ในทางบำบัดโรคได้มากเช่นกัน ฤทธิ์ของมอร์ฟีนที่มีต่อร่างกายจิตใจ ดังนี้ 1. ออกฤทธิ์กดสมองส่วนกลาง ทำให้สมองทำงานช้าลง มีอาการง่วงนอน มอร์ฟีนทำให้สมองรับ ความรู้สึกทางด้านเจ็บปวดน้อยลงจึงช่วยระงับความเจ็บปวดได้ดี และช่วยผ่อนคลายความเมื่อย ล้าต่างๆ ของร่างกาย 2. กดศูนย์ควบคุมการหายใจ ทำให้หายใจลง ช่วยระงับอาการไอ 3. กระตุ้นศูนย์ควบคุมการอาเจียน ทำให้เกิดการอาเจียน 4. หัวใจเต้นช้าลง ความดันโลหิตลดลง 5. ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทไขสันหลัง ทำให้ร่างกายเกิดการกระตุก การเคลื่อนไหวต่างๆ จะเร็ว กว่าเดิม 6. ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร ทำให้มีอาหารคั่งค้างอยู่ในกระเพาะและลำไส้นานกว่าปกติ จึงมี อาการท้องผูก 7. ออกฤทธิ์ต่อระบบขับถ่ายปัสสาวะ ทำให้กล้ามเนื้อหูรูดของกระเพาะปัสสาวะหดตัวตีบเล็กลง การขับถ่ายปัสสาวะจะยากกว่าเดิม 8. ออกฤทธิ์กดหรือลดการทำงานของกล้ามเนื้อมดลูก ถ้าได้รับมอร์ฟีนระหว่างจะคลอดบุตร ทำให้ คลอดช้าลง นอกจากนี้แล้วมอร์ฟีนจะซึมเข้าสู่กระแสโลหิตของมารดาผ่านไปยังทารกได้ ทำให้ไป กดการหายใจของทารกให้ช้าลงด้วย 9. เมื่อใช้มอร์ฟีนนานจนติดแล้ว การใช้ครั้งต่อๆ ไปจะต้องเพิ่มขนาดของยาต่อไปเรื่อยๆและจะ หยุดเสพไม่ได้ถ้าหยุดเสพจะมีอาการงดยาหรืออยากยา ซึ่งทรมานทั้งร่างกายและจิตใจ

อ้างอิง 8 http://www.pmnidat.go.th/thai/index.php? option=content&task=view&id=158&Itemid=30 https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9D%E0%B8%B4%E0 %B9%88%E0%B8%99 http://www.libarts.mju.ac.th/LibDocument/EBook/013/%E0% B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%886 %20%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0 %B8%9E%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94.pdf