Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore O-NET ภาษาไทย ชั้นป.6 ระยะที่ 3

O-NET ภาษาไทย ชั้นป.6 ระยะที่ 3

Published by ไมมูนย์ มาลัยมาลย์, 2022-11-08 09:00:01

Description: O-Net วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระยะที่ 3
มาตรฐานที่ 4.1 ตัวชี้วัด ป.6/1

Search

Read the Text Version

คําสรรพนาม คํากริยา คํานาม คําวเิ ศษณ์ คําบุพบท คําสนั ธาน คาํ อุทาน

คาํ นาม คือคาํ ที่ใชเ้ รียกชือ่ คน สัตว์ สิง่ ของ สถานที่ แบ่งออกเป็น 5 ชนิด ได้แก่ 1. สามานยนาม /นามสามัญ /นามท่ัวไป (3 ช่ือนี้ข้อสอบอยากใช้ช่อื อะไรก็ ได้ ) เป็นคํานามทั่วไป เช่น โรงเรียน คุณครู ช้าง นาฬกิ า ห้องสมุด ไดโนเสาร์ ม้าหมุน ฯ 2. วิสามานยนาม/นามวสิ ามัญ/นามชี้เฉพาะ เป็นคํานามเจาะจงท่ีใช้ เรียกช่ือ คน สัตว์ ส่งิ ของ สถานที่ เช่น ย่าโม สะพานพระรามแปด เข่ือนบางลาง จังหวัดยะลา คุณครูไลลา เดก็ ชายอานัส โรงพยาบาลสโิ รรส 3. ลักษณนาม เป็นคําท่ีบอกลักษณะของคํานาม เช่น ผ้าทุกผืนสะอาด แก้ว ๑ ใบ ช้างปา่ ๑ โขลง เทียน ๑ เล่ม ขลุ่ย ๑ เลา ถนนสายนัน้ ฯ ต้องข้อสังเกต ลักษณนามจะอยู่หลังนามเสมอ อยูห่ ลังนามเสมอ

4. สมุหนาม เปน็ คาํ นามบอกหมวดหมู่ เช่น คณะครู กองลูกเสอื กองทัพทหาร กองหนังสอื กองทราย คณะทัวร์ กลุ่มนักเรียน โขลงช้าง ฯ ต้องข้อสังเกต สมุหนามจะอยูห่ น้านามเสมอ อยู่หน้านามเสมอ 5. อาการนาม เปน็ คาํ นามบอกอาการ มีคําว่า “การ” และ “ความ” แต่ “การ” ต้องตามด้วยคาํ กรยิ าเท่านั้น และ “ความ” ต้องตาม ด้วยคาํ วิเศษณ์เท่านัน้ เช่น การ การเดนิ การนัง่ การว่ิง การออกกําลังกาย การไหว้ ความ ความรัก ความดี ความชั่ว ความเศรา้ ความตนื่ เต้น • สังเกต การ ตามด้วยคํานาม จะกลายเป็นคาํ สามานยนาม เชน่ การไฟฟ้า การประปา การบ้าน การเมือง คาํ เหลา่ นีไ้ ม่ใชอ่ าการนาม ! • ความ กเ็ ชน่ กัน ความแพ่ง ความอาญา ไมใ่ ชอ่ าการนาม !

คําสรรพนาม คือคําทีใ่ ชแ้ ทนนาม เพื่อไมใ่ หก้ ลา่ วซําหลายครังํ แบ่งออกเป็น 6 ชนิด ได้แก่ 1. บุรุษสรรพนาม คอื คําสรรพนามทีใ่ ชแ้ ทนผู้พูด ผูฟ้ ัง และผูท้ ี่กล่าวถงึ สรรพนามบุรุษที่ 1 แทนผู้พูด เชน่ ผม กระผม ดิฉัน ข้าพเจา้ หนู ขอ้ ย เรา พวกเรา ฯ สรรพนามบุรุษที่ 2 แทนผู้ฟัง เชน่ เธอ คุณ ทา่ น ฯ สรรพนามบุรุษที่ 3 แทนผูท้ ี่กลา่ วถึง เชน่ เขา พวกเขา มัน ท่าน หล่อน ฯ 2. ประพันธสรรพนาม คอื คําสรรพนามที่ใชเ้ ชอื่ มประโยค มีคําว่า ผู้ ที่ ซึ่ง อัน ตัวอย่างประโยค Ø ปลาทีแ่ มซ่ ือ้ มาราคาไมแ่ พง Ø เดก็ วัยรุน่ ทีใ่ กลช้ ดิ กับพอ่ แม่มักจะไมม่ ีปัญหา Ø นักเรียนผูส้ อบผา่ นมีสทิ ธิ์ได้ไปเรียนตอ่ ต่างประเทศ 3. นิยมสรรพนาม คอื คําสรรพนามที่ใชเ้ ชือ่ มประโยค มีคาํ วา่ ผู้ ที่ ซ่งึ อัน ตัวอย่างประโยค นี่ทีน่ ัง่ ของฉัน นัน่ พ่อของปิยะ โน่นบ้านของฉัน 4. อนิยมสรรพนาม คือ คําสรรพนามที่ใช้ชีเ้ ฉพาะเจาะจง มีคําวา่ นี่ นั่น โน่น นี้ นัน้ โนน้ ตัวอย่างประโยค ใครจะไปกับฉันกไ็ ด้ อะไรในโลกนีไ้ มแ่ น่นอน ฉันนอนไหนก็ได้ * คล้ายประโยคคาํ ถามแตไ่ ม่ตอ้ งการคําตอบ

5. ปฤจฉาสรรพนาม คือ คาํ สรรพนามที่เปน็ คําถาม เช่น อะไร ใคร ทีไ่ หน ผูใ้ ด สิ่งใด อันใด ฯ ตัวอย่างประโยค อะไรอยู่ในตู้ ใครจะไปกับฉันบ้าง เธอจะกนิ อะไร * เปน็ ประโยคคําถามที่ต้องการคาํ ตอบ 6. วิภาคสรรพนาม คอื คําสรรพนามแบง่ สว่ น แยกออกเปน็ ส่วน ๆ มีคําวา่ ต่าง บา้ ง กัน ตัวอยา่ งประโยค เดก็ ๆ บ้างก็ว่ิง บา้ งกเ็ ดิน นักเรียนตา่ งชว่ ยกันทําความสะอาด

คาํ กริยา คือคําที่บอกอาการ การกระทํา หรือบอกสภาพของ คาํ นามและคําสรรพนาม แบ่งออกเปน็ 5ชนิด ไดแ้ ก่ 1. สกรรมกรยิ า คอื กริยาทตี่ ้องมีกรรมมารองรับเพือ่ ใหป้ ระโยคสมบูรณ์ ตัวอย่างประโยค นักเรยี นฟังเพลง พอ่ ตัดหญ้า แมเ่ ยบ็ ผา้ ไก่จกิ ข้าวสาร แมวกัดหนู แมท่ าํ อาหาร ลองปิดกรรมไว้ ใหม้ ีแตก่ รยิ า ประโยคนัํนจะไมส่ มบูรณ์ เช่น พอ่ ตัด….ตัดอะไร? ดังนัํน ประโยคไหนทปี่ ดิ กรรมไว้แล้วไมส่ มบรู ณ์ นั่นคือ สกรรมกรยิ า ตอ้ งมี กรรมมารองรับจงึ จะสมบรู ณ์ 2. อกรรมกรยิ า คือ กริยาท่ไี มต่ ้องมีกรรมมารองรับประโยคก็สมบูรณ์ ตัวอย่างประโยค สุนัขเหา่ พหี่ ลับ แมน่ อน พ่อหาว นกบินสูงมาก ฝนตกหนัก นักกฬี ากระโดดไกล ถนนล่นื สมบูรณ์ในตัว ไมต่ อ้ งมกี รรมมารองรับ 3. วกิ ตรรถกรยิ า คอื กรยิ าทไ่ี ม่สมบูรณ์ ใชเ้ พียงลาํ พังไม่ได้ ตอ้ ง อาศัยสว่ นเติมเตม็ คือ คํานามและสรรพนามเทา่ นัํนที่มาต่อทา้ ย ประโยค ได้แกค่ ําว่า เป็น เหมือน คลา้ ย เท่า คอื (เปน็ คือ (คาํ กริยา หา้ ม ลืม! ตออัวกขออ้ ยสอ่าบบงอ่ ปยมราะก)โยค สุดาหน้าคล้ายพอ่ พ่อเปน็ ตาํ รวจ ฟ้าสวยเหมอื นแม่ ปิติตัวสูงเท่าพ่อ

4. กรยิ านุเคราะห์ (กริยาชว่ ย) มหี นา้ ทีช่ ่วยคําหลักใหม้ คี วามหมาย ชัดเจนขนํึ ได้แก่คาํ วา่ กําลัง จะ คง เคย ตอ้ ง อาจ ถูก ถ้าประโยค ไมม่ ีคาํ กริยานํีก็ยังคงสมบูรณ์ ตัวอย่างประโยค นายดาํ จะไปโรงเรียน สนุ ัขกาํ ลังเหา่ ฝนกาํ ลังจะตก เขาคงจะไม่มาแลว้ 5. กริยาสภาวมาลา คอื คาํ กริยาท่ีทําหน้าที่เปน็ คาํ นามจะเป็น ประธาน กรรม หรอื บทขยายของประโยคก็ได้ เชน่ ตัวอยา่ งประโยค -นอนหลับเป็นการพักผอ่ นที่ดี (นอน เป็นคาํ กรยิ าทีเ่ ปน็ ประธานของประโยค) -ฉันชอบไปเท่ียวกับเธอ (เทย่ี ว เป็นคาํ กริยาท่ีเป็นกรรมของประโยค)

คาํ บุพบท คือ คําที่ใช้ขยาย คาํ นาม สรรพนาม กริยา หรอื วเิ ศษณด์ ้วยกัน เพ่อื ทําให้เข้าใจความหมายชัดเจนย่งิ ขน้ึ แบ่งออกเปน็ 6ชนิด ไดแ้ ก่ 1. คําบุพบทบอกสถานท่ี เช่น ไกล ใกล้ เหนอื ใต้ ซ้าย ขวา ล่าง บน ฯ ตัวอย่าง เขาอยู่ใกลจ้ ังหวัดขอนแก่น เสื้อสขี าวอยใู่ นตู้ หนงั สือวางอย่บู นโต๊ะ อะไรอยู่ใตโ้ ซฟา 2. คาํ บุพบทบอกเวลา เช่น ตัง้ แต่ กระท่ัง จน เม่ือ เป็นต้น ตัวอย่าง เขามาโรงเรียนตัง้ แต่เช้า ปิยะทาํ การบา้ นจนดกึ พอ่ กลบั ถึงบา้ นจนกระทงั่ เยน็ เธอมาถึงเม่ือเช้าน้ี 3. คาํ บุพบทบอกความเปน็ เจ้าของ เช่น ของ แห่ง จาก เป็นต้น ตัวอย่าง การไฟฟา้ แหง่ ประเทศไทย หนงั สือเล่มน้ีของฉัน 4. คาํ บุพบทบอกความเก่ียวข้อง เช่น กับ ด้วย โดย ตาม เป็นต้น ตัวอย่าง เขามาโรงเรยี นโดยรถโดยสารประจาํ ทาง อานนท์ทาํ ตามคําส่งั 5. คาํ บุพบทบอกความเปรียบเทียบ เช่น เท่า เท่ากับ กว่า เป็นต้น ตัวอย่าง สมใจหนักกว่าสมศรี อารีและมาลสี ูงเท่ากัน 6. คําบุพบทบอกการให้และความประสงค์ เช่น แก่ ต่อ แด่ สาํ หรับ เป็นต้น ตัวอย่าง พ่อให้ของขวัญแก่ฉนั นํ้าขวดน้มี ไี ว้สําหรับด่ืม

คาํ วิเศษณ์ คือ คําที่ใช้ขยาย คํานาม สรรพนาม กริยา หรอื วเิ ศษณด์ ้วยกัน เพ่ือทาํ ให้เข้าใจความหมายชัดเจนย่งิ ข้นึ แบ่งออกเปน็ 10 ชนดิ ไดแ้ ก่ 1. ลักษณวิเศษณ์ คือ คาํ ขยายบอกลักษณะต่าง ๆ เช่น สี กล่นิ รส สัณฐาน เช่น สูง ต่ํา ดํา ขาว ขม เปรี้ยว เหมน็ หอม กลม รี แบน ร้อน เย็น เป็นต้น ตัวอย่าง กระเป๋าสีแดงวางอยู่บนโตะ๊ น้องชอบกนิ ขนมหวาน 2. กาลวเิ ศษณ์ คือ คาํ ขยายบอกเวลาเช่น วันนี้ พรุ่งนี้ อดีต อนาคต ปัจจุบัน เช้า สาย บ่าย เย็น ดกึ ค่ํา เป็นต้น ตัวอย่าง เขานอนดึก วันนี้เขาไม่มาโรงเรียน ปีนี้กวางเรียนชัน้ ป.6 3. สถานวเิ ศษณ์ คอื คําขยายบอกสถานที่ เช่น ซ้าย ขวา บน ล่าง ริม หน้า หลัง ใกล้ ไกล เหนอื ใต้ เป็นต้น ตัวอย่าง บา้ นฉันอยู่ไกล เธอนั่งใกล้ พี่นอนอยู่ชัน้ บน 4. ประมาณวเิ ศษณ์ คือ คาํ ขยายบอกจาํ นวนหรอื ปรมิ าณ เช่น หน่งึ สอง สาม ส่ี ท่ีหน่ึง ที่สอง มาก น้อย บ่อย หลาย บรรดา ต่าง บ้าง จุ เป็นต้น ตัวอยา่ ง ฉันชอบกนิ ตม้ ยาํ มาก บ้านเขามีสุนัขสามตัว พีก่ ินจุ

5. ประตเิ ษธวเิ ศษณ์ คอื คําแสดงความปฏิเสธหรอื ไม่ยอมรับ เช่น ไม่ ไม่ใช่ มิใช่ มิได้ ไม่ได้ หามิได้ เป็นต้น ตัวอยา่ ง เราไมไ่ ดม้ าจากประเทศไทย รถคันนัน้ ไม่ใช่ของผม 6. ประติชญาวิเศษณ์ คอื คาํ ที่ใช้แสดงการขานรับหรอื โต้ตอบ เช่น ครับ ขอรับ ค่ะ เจ้าค่ะ เพคะ เป็นต้น ตัวอย่าง ฉันจะมาพบทา่ นใหม่พรุง่ นีค้ ่ะ ครับ ผมจะทําใหเ้ สร็จครับ 7. นยิ มวิเศษณ์ คอื คาํ ที่บอกความชี้เฉพาะ เช่น นี่ นั่น โน่น นี้ นั้น โน้น ทัง้ นี้ ทัง้ นัน้ แน่นอน เปน็ ต้น ตัวอย่าง บา้ นหลังนัน้ ไมม่ ีใครอยู่เลย เขาไมม่ าสายแนน่ อน 8. อนยิ มวิเศษณ์ คือ คําท่ีบอกความไม่ชีเ้ ฉพาะเจาะจง เช่น อะไร ใด ไหน ใคร ฉันใดเป็นต้น *ไม่ใช่ประโยคคาํ ถาม ตัวอย่าง คนอะไรสวยขนาดนัน้ คุณจะนั่งตรงไหนกไ็ ด้ 9. ปฤจฉาวเิ ศษณ์ คือ คําที่แสดงคําถาม เช่น อะไร ใด ไหน ใคร ฉันใด ทําไม เปน็ ต้น *เปน็ ประโยคคําถามท่ีต้องการคาํ ตอบ ตัวอยา่ ง เธอไม่ชอบวิชาอะไร คนไหนที่มากอ่ นเพ่อื น 10. ประพันธวิเศษณ์ คอื คําที่ทาํ หน้าท่ีเช่อื มคําหรือประโยคให้เกี่ยวข้อง กัน เช่น ที่ ซ่งึ อัน ดังท่ี เพ่ือว่า อย่างที่ เป็นต้น ตัวอยา่ ง เขาเปน็ คนเกง่ ทีใ่ คร ๆ ไมก่ ลา้ ดูถูกเขา เขาทํางานหนักซง่ึ ทําให้เขาไม่สบายบอ่ ย ๆ

คําสันธาน คือ คําที่ใช้เช่อื มคาํ หรอื ข้อความให้เป็นเร่อื งเดียวกันและ มีความสละสลวย แบง่ ออกเป็น 4 ชนิด ไดแ้ ก่ 1. คําสันธานที่เชือ่ มความคลอ้ ยตามกัน เชน่ กับ , และ , ก็ , แลว้ , พอ…ก็ เป็นตน้ ครูและนักเรียนกาํ ลังรับประทานขา้ วเที่ยง เขากับเธอไปร้านอาหารด้วยกัน ฉันและนอ้ งนอนดูโทรทัศน์ พอแม่ทาํ งานบา้ นเสรจ็ ก็ออกไปข้างนอก 2. คําสันธานทีเ่ ชื่อมความขัดแยง้ กัน เชน่ แต่ , แต่ทว่า , กว่า…ก็ , ถงึ …ก็ แม…้ ก็ , แต่…ก็ เปน็ ต้น เธอเปน็ คนขยันทาํ งานแตไ่ ม่มีเงนิ เกบ็ แดงซือ้ ขนมแตข่ าวซอ้ื ของเล่น แม้เขาจะไมม่ ีพ่อแมแ่ ต่ทว่าเขากด็ ูแลตัวเองได้ดี กวา่ ถั่วจะสุกงากไ็ หม้ 3. คาํ สันธานทีเ่ ชอื่ มความเป็นเหตุเปน็ ผลกัน เช่น จงึ , ฉะนั้น…จึง , เพราะ…จงึ , เพราะฉะนั้น…จึง เปน็ ตน้ เพราะปิตไิ มส่ บายจงึ ไม่มาโรงเรียน เพราะเขาตัง้ ใจเรียนจงึ สอบได้ที่ 1 เดก็ ๆ ในห้องไม่ตัง้ ใจเรียนเพราะฉะนัน้ จึงถูกครูลงโทษ 4. คําสันธานที่เชอ่ื มความให้เลอื กอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ เชน่ หรือ , ไม…่ ก็ , มิฉะนัน้ , หรือไม่ก็ ฯ ถ้าเธอไมด่ มื่ นมสดก็ด่ืมนาํ้ เตา้ หู้ เธอจะกนิ ขา้ วหรือกว๋ ยเตีย๋ ว ไมเ่ ธอกฉ็ ันทีต่ ้องไปช่วยงานคุณครู ลูกต้องอ่านหนังสือหรือไมก่ ็ขน้ึ ไปนอน

คาํ อุทาน คือ คําที่เปล่งออกมา เพ่ือแสดงอารมณ์และความรู้สกึ ต่าง ๆ ของผู้พูด แบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ ได้แก่ 1. คําอุทานบอกอาการ 1.1 อาการร้องเรียกหรอื บอกใหร้ ู้ตัว  เชน่   นี่แนะ่ !   เฮ้ย !  โว้ย ! 1.2 อาการโกรธเคอื ง  เช่น  ดูดู๋ ! ชะๆ ! ชิๆ ! 1.3 อาการดีใจ  เช่น เย่ ! ไชโย ! 1.4 อาการประหลาดใจหรือตกใจ  เชน่  เอ๊ะ !  วา๊ ย !  แม่เจ้าโวย้  !  1.5 อาการสงสารหรือปลอบโยน  เช่น อนิจจา ! พุธโธ่ !  1.6 อาการเข้าใจหรอื รับรู้ เช่น  เออ ! เออน่ะ !  อ้อ !    1.7 อาการเจ็บปวด  เชน่   โอย !  โอ๊ย !    1.8 อาการจากสิ่งธรรมชาต ิ เช่น ตูม !  โครม !   เปรีย้ ง !    2. คาํ อุทานเสรมิ บท อุทานเสรมิ บท  คือ คําอุทานทีใ่ ชเ้ ป็นคําสร้อย หรอื คําที่นํามาเสรมิ เพ่ือให้เกดิ ความสละสลวย เช่น     Ø หนังสอื หนังหา  Ø อาบนํ้าอาบทา่   Ø กนิ ข้าวกินปลา Ø วัดวาอาราม  


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook