Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book ท 1.1 ป.6-5 ระยะที่ 1

E-book ท 1.1 ป.6-5 ระยะที่ 1

Published by ไมมูนย์ มาลัยมาลย์, 2023-07-31 03:36:52

Description: E-book ท 1.1 ป.6-5 ระยะที่ 1

Search

Read the Text Version

การอ่านจับใ จ ความสำคัญมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่าน สร้างความรู้ และความคิด เพื่อนำไปใช้ ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนิน ชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ป.๖/๕ อธิบายการนำความรู้และความคิดจากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต

การอ ่าน ท ๑.๑ ป.๖/๕ จับใจความสำคัญ การอ่านจับใจความสำคัญ หมายถึง การอ่านเพื่อจับใจความหรือข้อคิด ความคิดสำคัญหลักของข ้อความ หรือเรื่องที่อ่าน เป็ นข้อความที่คลุมข้อความอื่น ๆ ในย่อหน้าหนึ่ง ๆ ไว้ทั้งหมด สิ่งสำคัญในการอ่าน คือ เมื่ออ่านแ ล้วผู้อ่านจะต้องจับใจความสำคัญ ของเรื่องที่อ่านให้ได้ ผู้อ่านจะต้องเข้าใจ ในเรื่องที่อ่าน เพื่อที่จะได้นำประโยชน์ จากเรื่องที่อ่านไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ท ๑.๑ ใจความสำคัญ ป.๖/๕ หมายถึง ใจความที่สำคัญ และเด่นที่สุดในย่อหน้ า เป็ นแก่นของย่อหน้ าที่สามารถครอบคลุมเนื้อความในประโยคอื่น ๆ ในย่อหน้ านั้ น หรือประโยคที่สามารถเป็ นหัวเรื่องของย่อหน้ านั้ นได้ ถ้ าตัดเนื้อความของประโยคอื่นออกหมด หรือสามารถเป็ นใจความ หรือประโยคเดี่ยว ๆ ได้โดยไ ม่ต้องมีประโยคอื่นประกอบ ซึ่งในแต่ ละย่อหน้ าจะมีประโยคในความสำคัญเพียงประโยคเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน ๒ ประโยค ใจความรอง หรือ พลความ (พน-ละ-ความ) หมายถึง ใจความ หรือ ประโยคที่ขยายความ ประโยคใจความสำคัญ เป็ นใจความสนับสนุนใจความสำคัญ ให้ชัดเจนขึ้น อาจเป็ นการอธิบาย ให้รายละเอียด ให้คำจำกัดความ ยกตัว อย่าง เปรียบเทียบ หรือแสดงเหตุผล อย่างถี่ถ้วน เพื่อสนับสนุนความคิ ดส่วนที่มิใช่ใจความสำคัญ และมิใช่ใจความรอง แต่ช่วยขยายความให้มากขึ้น คือ รายละเอียด

ท ๑.๑ ลักษณะของใจความ ป.๖/๕ ใจความสำคัญเป็ นข้อควา มที่ทำหน้าที่คลุมใจความ ของข้อความอื่น ๆ ในตอนนั้ น ๆ ได้หมด ข้อความนอกนั้ น เป็ นเพียงรายละเอียดหรือส่วนขยายใจความสำคัญเท่านั้น ใจความสำคัญของข้อความ หนึ่ง ๆ หรือย่อหน้าหนึ่ง ส่วนมากจะมีเพียงประการเดียว ใจความสำคัญส่ วนมากมีลักษณะเป็ นประโยค อาจจะเป็ นประโยคเดียว หรือประโยคซ้อนก็ได้ แต่ในบางกรณี ใจความสำค ัญไม่ปรากฏเป็ นประโยค เป็ นเพียงใจความที่แฝงอ ยู่ในข้อความตอนนั้น ๆ

ท ๑.๑ ป.๖/๕ ลักษณะของใจความ ใจความสำคัญที่มีลักษณะเป็ นประโยค ส่วนมากจะปรากฏอยู่ต้นข้อค วามในการอ่านใด ๆ ก็ตาม จุดมุ่งหมายเพื่อจับใจความสำคัญของข้อความที่ได้อ่าน ดังนั้น ถ้ารู้จักสังเกตประโยคที่เป็ นใจค วามสำคัญของข้อความแต่ละข้อความ และรู้จักแยก ใจความหลัก ออกจาก ใจความรอง ก็จะทำให้เราเข้าใจ ในสิ่งที่อ่านได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

ท ๑.๑ ป.๖/๕ หลักในการอ่านจับใจความสำคัญ สำรวจส่วนประกอบของหนังสือ เช่น ชื่อเรื่อง คำนำ สารบัญ ฯลฯ เพราะส่วนประกอบของหนังสือจะทำให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่อง หรือหนังสือที่อ่านได้กว้างขวางและรวดเร็ว ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านเพื่อเป็ นแนวทางใช้กำหนดวิธีอ่าน ให้เหมาะสมและจับใจความหรือหาคำตอบได้รวดเร็วขึ้น โดยจับใจความให้ได้ว่าใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร แล้วนำมาสรุปเป็ นใจความสำคัญ

ท ๑.๑ ป.๖/๕ หลักในการอ่านจับใจความสำคัญ มีทักษะในการใช้ภาษา สามารถเข้าใจความหมายของคำศัพท์ ลมีัปกษระณสะบขกอางรหณน์ัหงรสืืออภเูพมิหราละังหเนกีั่งยสวืกอัแบตเ่รลื่อะงปทีร่อะ่เาภนทมมีีครูวปาแมบเขบ้ากใจารแต่ง และเป้ าหมายของเรื่องที่แตกต่างกัน แลใชะ้ขค้อวคามวาสมาตม่าางรถๆใอนยด่้าางนถูกกาต้รอแงปรวลดคเวร็าวมหมายของคำ ประโยค แลใชะ้จปับรใะจสคบวกาามรไณด์้เง่กาี่ยยขวึก้นับเรื่องที่อ่านมาประกอบจะช่วยให้เข้าใจ

ท ๑.๑ วิธีจับใจความสำคัญ ป.๖/๕ พิจารณาทีละย่อหน้า ส่วนที่เป็นรายละเอียดออกได้ เช่น สำนวนโวหาร อุปมาอุปไมย (การเปรียบเทียบ) ตัวเลข สถิติ ตลอดจนคำถามหรือคำพูดของผู้เขียนซึ่งเป็นส่วนขยายใจความสำคัญ สรุปใจความสำคัญด้วยสำนวนภาษาของตนเอง

ท ๑.๑ การพิจารณาตำแหน่งใจความ ป.๖/๕ ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนต้นของย่อหน้า ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนกลางของย่อหน้า ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนท้ายของย่อหน้า

ท ๑.๑ การพิจารณาตำแหน่งใจความ ป.๖/๕ ประโยคใจความสำคัญอยู่ ตอนต้นและตอนท้ายของย่อหน้า ผู้อ่านสรุปขึ้นเอง จากการอ่านทั้งย่อหน้า ในกรณีที่ใจความสำคัญหรือความคิดสำคัญ อาจอยู่รวมในความคิดย่อย ๆโดยไม่มีความคิดที่เป็นประโยคหลัก

ตัวอย่างการอ่านจับใจความสำคัญ ท ๑.๑ ป.๖/๕ สุนัขกับเงา สุนัขตัวหนึ่งคาบก้อนเนื้อมาก้อนหนึ่งมันเดินผ่านแม่น้ําเห็นเงาตนเองคาบเนื้ออยู่ มันคิดว่าเงาของมันคาบเนื้อชิ้นใหญ่กว่าจึงคิดแย่งก้อนเนื้อจากเงานั้น เมื่อมันอ้าปากและกําลังกระโจนลงน้ำ ก้อนเนื้อก็หลุดออกตกน้ำไป มันจึงเสียก้อนเนื้อไปทั้งหมด (ที่มา : จริญญาพร สวยนภานุสรณ์(นิทานอีสป ๕๐ เรื่อง) ใคร : สุนัข ทำอะไร : คาบก้อนเนื้อเดินผ่านแม่น้ำ เห็นเงาก้อนเนื้อใหญ่กว่าจึงอ้าปากกระโจนลงน้ำ ที่ไหน :บริเวณเเม่น้ำ อย่างไร : ก้อนเนื้อในปากหลุดตกน้ำ เพราะอะไร : เงาก้อนเนื้อในแม่น้ํามีขนาดใหญ่กว่า ใจความสำคัญ : สุนัขคาบก้อนเนื้อเดินผ่านแม่น้ำ เห็นเงาก้อนเนื้อใหญ่กว่า จึงอ้าปากกระโจนลงน้ำทําให้ก้อนเนื้อในปากจึงหลุดตกน้ำ

มาลองฝึกอ่านจับใจความสำคัญ ท ๑.๑ กันดูนะคะ ป.๖/๕ การละเล่นพื้นบ้านไทย การละเล่นพื้นบ้าน เป็นกิจกรรมนันทนาการประเภทเกม ที่สามารถส่งเสริม และพัฒนาอารมณ์สุข สนุกสนาน การละเล่นพ ื้นบ้านของไทย เป็นกิจกรรมที่ยอมรับร่วมกัน ในสังคมว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการถ่า ยทอด จากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่ง การละเล่นพื้นบ้านเป็นกิจกรรมที่เน้น ความ สนุกสนานไม่เน้นการแพ้ชนะ จึงมีคุณค่า และมีส่วนสำคัญในการหล่อหลอมพฤติกรรม โดยเฉพาะกับเด็กเล็ก ทั้งเป็นการเชื่อมโยง ประสบการณ์ทางสังคมให้กับเด็ก ทำให ้เด็กไทยประสบความสำเร็จในการเล่น จนเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง เห็นคุณ ค่าของตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก รู้จักการปรับตัวให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มีความสุข อีกทั้งยังช่วยให้เด็กได้เรียนรู้ ด้วยการรอคอย การช่วยเหลือ กา รแบ่งปัน และการเป็นผู้นำ ผู้ตาม สิ่งเหล่านี้เป็นผลที่จะเกิดโดยตรงจากกา รละเล่นของเด็ก ที่ส่งผลต่อสุขภาพจิต และพฤติกรรมทางสังคมของเด็กวัยนี้ ที่ต้องเสร ิมสร้างพัฒนาการให้พร้อมในการเจริญเติบโต และการเรียนรู้ในระดับสูงขึ้น ต่อไป อย่างมีประสิทธิภาพ (ที่มา : กลุ่มนันทนาการเด็กและเยาวชน (การละเล่นพื้นบ้านไทย))

ท ๑.๑ ป.๖/๕ นักเรียนลองไปฝึกจับใจความจากสื่อต่าง ๆ ดูนะคะ เช่น เรื่องสั้น ๆ บทความ ข่าว ประกาศทางการ วรรณคดีและวรรณกรรมในหนังสือเรียน บทเรียนจากกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook