ฆอซาลี เบญ็ หมดั แปล
ส า ร บั ญ 01 บทนาํ อิหม่ามกับนักคิด 02 เสียงของสงครามระดับชาติและระดับโลก... ความโกลาหลของซารอ์ งค์สุดท้าย 03 ตอลสตอย ศิษย์เก่ามหาวทิ ยาลัยในสาธารณรฐั อิสลาม ณ เมืองกาซาน 04 อับดุห์ กับตอลสตอย 05 คําอธบิ าย ศาสนาของตอลสตอย
สารคดีอัลจาซีร่า สะพานความสัมพันธ์ ส า ร ค ดี อั ล จ า ซี ร ่า พ ย า ย า ม ใ ห้ ค ว า ม ก ร ะ จ่ า ง เ กี ย ว กั บ ก า ร ติดต่อสือสารระหว่างศาสตร์สายรัสเซียกับอิสลาม และ วิ เ ค ร า ะ ห์ จุ ด เ ห มื อ น แ ล ะ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ร ะ ห ว่ า ง ส อ ง ศาสตร์ทียิงใหญ่ ตลอดจนติดตามสัมภาษณ์ความคิด เห็นของผู้ทีสนใจในเหตุการณ์นี รวมถึงมุมมองของนัก วิจารณ์ จากนันก็นาํ เสนอในสารคดีทีน่าสนใจเรือง \"THE IMAM AND THE WISE\" ซึงเปนส่วน หนึงของสารคดีชุ ด 5 ตอนเรือง \"BRIDGES OF COMMUNICATION\"
บทนาํ อิหม่ามกับนักคิด เมอื เสยี งปกลองสงครามเงียบลง ● คีดวี ยี อ์ ับบาส แต่งตังชยั ค์มุฮัมมดั อับดหุ ์ สถาบนั ทางศาสนาและการศึกษาทีโดดเดน่ ภายใต้พระราชกฤษฎีกานี ชยั ค์มุฮัมมดั อับ เสยี งกระสนุ ปนจางลง จะไดย้ นิ เสยี ง ทีสดุ ในเวลานนั คือมหาวทิ ยาลัยอัลอัซฮัร และ ดหุ ก์ ลายเปนมุฟตียอ์ ียปิ ต์คนแรกทีแยกออก สะท้อนแหง่ ปญญาและสนั ติ อาจจะ เปนมุฟตียแ์ หง่ อียปิ ต์ สภาพของมนั ก็สะท้อนถึงสถานการณท์ ีเลว จากสถาบนั อัลอัซฮัร และในขณะนนั ท่านได้ เบาบางแต่ก็ไดย้ นิ เสยี งทียาํ เตือนวา่ ในชว่ งปลายศตวรรษที 19 อียปิ ต์อยูภ่ ายใต้ รา้ ยในประเทศดว้ ย ในกลางป 1899 มกี าร ลาออกจากตําแหนง่ ตลุ าการทีเรมิ ต้นใน ความหวงั ยงั มอี ยูใ่ หม้ นษุ ยไ์ ดพ้ บเจอ การยดึ ครองของอังกฤษมา 20 ปล่วงมา ออกพระราชกฤษฎีกาลงนามโดยคีดวี ยี อ์ ับ ตําแหนง่ ผพู้ พิ ากษาในเมอื งบนั ฮา ในป 1889 กับค่านยิ มทีสงู กวา่ การนองเลือด แล้ว และสภาพทางเศรษฐกิจ การเมอื งและ บาส แต่งตังชยั ค์มุฮัมมดั อับดหุ ์ เปนมุฟตี จนกระทังเปนผพู้ พิ ากษาผเู้ ชยี วชาญในศาล และสงู กวา่ การทะเลาะววิ าทกันเพราะ สงั คมก็เลวรา้ ยทีสดุ ความยากจนยงั คงอยู่ แหง่ อียปิ ต์ ก่อนหนา้ นนั การฟตวาไเปนอํา อุทธรณ์ และในทีสดุ ก็อยูใ่ นฐานะทีจะสานฝน เศษซากของแผน่ ดนิ ในชาวอียปิ ต์สว่ นใหญ่ และความเขลาแผไ่ ป นาจหนา้ ทีของชยั ค์อัลอัซฮัร ผนู้ าํ สงู สดุ ขอ ทีมใี นดา้ นการเปนผนู้ าํ ในการปฏิรปู ดา้ น ทัวพนื ที งอัลอัซฮัร ศาสนาชว่ งการต้อนรบั ศตวรรษใหม่ ดว้ ย ในขณะทีโลกกําลังพยายามทีจะลกุ คํามนั สญั ญาทังหมดทีมตี ่อการพฒั นา ขนึ จากใต้ซากปรกั หกั พงั ของ มนษุ ยใ์ นดา้ นต่างๆ สงครามโลกครงั ที 1 ในชว่ งต้น ศตวรรษที 20 ความหวงั รบิ หรกี ็ ปรากฏขนึ บนท้องฟาดา้ นทิศตะวนั ออก จากขอ้ ความแลกเปลียน ระหวา่ งชาย 2 คนทีเปนตัวแทน ของจุดสงู สดุ ของศีลธรรมและ อุดมคติในประเทศของตน ไดแ้ ก่ อิหมา่ มมูฮัมหมดั อับดหุ ์ มหามุฟตี แหง่ อียปิ ต์ และ ลีโอ ตอลสตอย นกั ประพนั ธช์ าวรสั เซยี ผโู้ ดง่ ดงั 1
เ สี ย ง ข อ ง ส ง ค ร า ม ร ะ ดั บ ช า ติ แ ล ะ ร ะ ดั บ โ ล ก . . . ค ว า ม โ ก ล า ห ล ข อ ง ซ า ร ์อ ง ค์ สุ ด ท้ า ย มหาสงครามแหง่ ความรกั ชาติ สงครามโลก ครงั ทีสอง และเหตกุ ารณท์ ีเปลียนแปลงเรา และเปลียนแปลงประวตั ิศาสตรอ์ ันซบั ซอ้ น ตลอดศตวรรษ ศตวรรษที 20 ลีโอ ตอลสตอย \"ความหลงใหล ใ น อ า ร ย ธ ร ร ม อ า ห ร ับ ข อ ง นั ก ปรัชญาชาวรัสเซีย\" ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร ์ข ม รู ้จั ก ต อ ล ส ต อ ย ในชว่ งเวลาของประวตั ิศาสตรน์ นั รสั เซยี มชี ายคนหนงึ ทีไดร้ บั การยอมรบั นบั ถือ ไม่ วสิ ยั ทัศนข์ องเขากลายเปนทีนยิ มในหลายๆ Anna Pikava นกั บูรพาคดี กล่าววา่ : ฉัน กําลังทกุ ขท์ รมานภายใต้การปกครองของ เพยี งแต่ในรสั เซยี แต่ในโลกทังโลก ผทู้ ีไมไ่ ด้ ประเทศต้องทนทกุ ขท์ รมานจากการถกู ยดึ รจู้ กั นกั เขยี นผยู้ งิ ใหญท่ ีสนบั สนนุ ความคิด ซารอ์ งค์สดุ ท้าย \"นโิ คลาที 2\" และสภาพ เปนคนของศาสนจกั ร แต่ในแง่หนงึ หรอื อีก ครองและความอยุติธรรม ของมนษุ ยชาติ เชน่ ความรกั และความ ทางการเมอื ง เศรษฐกิจ และสงั คมกําลัง นยั หนงึ เปนของมนษุ ยชาติทังหมด และนนั เคารพในหมูผ่ คู้ น เขาไมเ่ คยขงั ตัวอยูใ่ นโลก ประสบกับความโกลาหลครงั ใหญซ่ งึ ไมแ่ ตก คือ \"ลีโอ ตอลสตอย\" ซงึ ไมใ่ ชเ่ ปนเพยี งนกั Nadezhda Pakhmutova นกั ใบเล็ก ๆ สว่ นตัว แต่ใชช้ วี ติ และระคายความ ต่างจากสถานการณใ์ นอียปิ ต์มากนกั ดว้ ย ประพนั ธผ์ ยู้ งิ ใหญท่ ีถือเปนหนงึ ในเขยี น ภาษาศาสตรแ์ ละนกั แปลกล่าวถึงเขาวา่ : คับแค้นของปญหาต่างๆของโลกทังใบ ดงั เงือนไขทังหมดบง่ บอกวา่ จะมกี ารปฏิวตั ิ หนงั สอื นวนยิ ายทีสาํ คัญทีสดุ ใน สาํ หรบั เรา ลีโอ ตอลสตอยเปนนกั เขยี นที นนั เขาจงึ กวา้ งขวาง เขา้ ใจคนทกุ เชอื ชาติทัว อยา่ งหลีกเลียงไมไ่ ด้ สถาบนั ศาสนาออรโ์ ธ ประวตั ิศาสตร์ แต่ยงั เปนนกั ปฏิรปู และผู้ สาํ คัญมาก เนอื งจากหนงั สอื ของชายผนู้ อี ยู่ โลก นนั คือเหตผุ ลทีตอลสตอยไดร้ บั การ ดอกซก์ ็ประสบปญหาเชน่ กัน และทกุ คนใน สนบั สนนุ สนั ติภาพ เชอื ในแนวคิด \"การต่อสู้ ท่ามกลางเราผา่ นเหตกุ ารณท์ าง ยอมรบั และความเขา้ ใจในหมูผ่ คู้ นทางตะวนั รสั เซยี ก็ตกเปนเปา อยา่ งสนั ติ ประวตั ิศาสตรต์ ่างๆ เชน่ ออก โดยเฉพาะในประเทศอาหรบั 2
ตอลสตอย ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยในสาธารณรัฐอิสลาม ณ เมืองกาซาน เมืองหลวงของสาธารณรัฐตาตาร์สถาน ตอลสตอย ักบ ิอสลาม แอลมรี า่ อับดลุ การมี ซาดะฮ์ ศาสตราจารยแ์ หง่ Oriental Institute กล่าววา่ ตอลสตอยเปนหนงึ ในนกั เขยี นทีโดง่ ดงั ทีสดุ ในโลกอาหรบั สงิ นเี กิดขนึ ในชว่ งชวี ติ ของเขา และงานวรรณกรรมและคําสอนทางจรยิ ธรรมของเขาไดร้ บั การแปลเปนภาษาอาหรบั วสิ ยั ทัศนเ์ ชงิ ปรชั ญา และคําสอนทางศาสนาของเขามคี วามใกล้เคียงอยา่ งยงิ กับสงั คมอาหรบั บางที การที ลีโอ ตอลสตอย ใหค้ วามสนใจเปนพเิ ศษกับโลกอาหรบั และ โลกอิสลามโดยทัวไป ไมใ่ ชแ่ ค่เพยี งเพราะวา่ เขาใชเ้ วลาสว่ นใหญใ่ น วยั เยาวแ์ ละวยั รนุ่ ของเขาในเมอื งกาซาน (เมอื งหลวงของสาธารณรฐั ตาตารส์ ถาน) และเรยี นภาษาตะวนั ออก เรยี นภาษาตรุ กีและอารบกิ ในมหาวทิ ยาลัยทีนนั เท่านนั ทีทําใหเ้ ขาสนใจแต่อารยธรรมอาหรบั และอิสลาม แต่เพราะเปนผหู้ ลงใหลในการอ่านตังแต่วยั เดก็ เขาอ่านอัลกุ รอานดว้ ยคําแปลภาษาฝรงั เศส และตกหลมุ รกั นวนยิ าย \"พนั หนงึ ราตร”ี ซงึ ทําใหค้ วามหลงใหลในทกุ สงิ ทีเกียวขอ้ งกับสว่ นนนั ของโลก ตอลสตอย \"ฉันเปนหนึงในผู้หลงใหลในพระศาสดามุฮัมหมัด\" .. เผชิญหน้ากับมิชชันนารี Anna Plikava ยงั กล่าววา่ : ฉันคิดวา่ ความสนใจในศาสนาอิสลามของเขามาจากบรบิ ทของการเขา้ ใจโลกของเขาและความเขา้ ใจของ เขาเกียวกับเหตกุ ารณท์ ีเกิดขนึ รอบ ๆ โลก ไมต่ ้องสงสยั เลยวา่ การศึกษาของเขาในคาซานมอี ิทธพิ ลต่อเขา เนอื งจากเปนเมอื งทีมคี วาม พเิ ศษ เปนทังรสั เซยี และตะวนั ออกในเวลาเดยี วกัน ดงั นนั เมอื คณุ อยูใ่ นคาซาน คณุ จะเรมิ สนใจตะวนั ออก ความสนใจและความหลงใหลของตอลสตอยไมไ่ ดห้ ยุดอยูเ่ พยี งความชนื ชมในทางทฤษฎี แต่เขาเขยี นหนงั สอื เรอื ง \"ปรชั ญาของท่าน ศาสดามูฮัมหมดั \" เขาปกปองอิสลามเมอื เผชญิ กับสมาคมมชิ ชนั นารใี นคาซานทีพยายามจะยดั เยยี ดขอ้ บกพรอ่ งทกุ อยา่ งใหอ้ ิสลาม หนังสือ \"THE WISDOM OF THE PROPHET MUHAMMAD\" ของตอลสตอย อะหมดั ซอลาฮุดดีน นักเขยี นและนักแปลชาวอียปิ ต์กล่าววา่ \"ตอลสตอย ได้ รวบรวมหะดีษของท่านนบจี ากการเลือกของตนเองไวใ้ น หนังสอื ของเขาชอื \"The Wisdom of the Prophet Muhammad\" และเผยแพรเ่ ปนภาษารสั เซยี เพอื ใหช้ าวรสั เซยี ได้เหน็ ความยงิ ใหญ่ของศาสนานีและบุคลิกภาพของท่านศาสดามูฮัมหมดั ทําใหเ้ กิดความเคารพอยา่ งแรงกล้าต่อบุคคลิกภาพของ \"ตอลส ตอย\" และความคิดและปรชั ญาของเขาในหมูช่ าวมุสลิม 3
ตอลสตอยรสู้ กึ ซาบซงึ อยา่ ง อับดุห์ กับตอลสตอย เสียงราํ ลือ ตอลสตอยรับอิสลาม มากต่อคําสอนของท่านศาสดา มูฮัมหมดั ซงึ เขากล่าววา่ : คํา ชยั ค์มุฮัมมดั อับดหุ ์ อ่าน อะหมดั ซอลาฮุดดนี กล่าว สอนของท่านศาสดามูฮัมหมดั หนงั สอื ของตอลสตอย ฉบบั วา่ : อิหมา่ มมสั ยดิ ต่างๆจะ นนั วเิ ศษมากในเชงิ ความลึกซงึ แปลภาษาอาหรบั ทีสงั คมราํ ลือ พูดคยุ เกียวกับตอลสตอยที และมติ ิของจติ วญิ ญาณ และ กันวา่ เขาความชนื ชมในศาสนา ยกยอ่ งใหเ้ กียรติศาสนา ฉันเปนหนงึ ในผหู้ ลงใหลในพระ อิสลาม และสงิ นที ําใหช้ ยั ค์อ่าน อิสลาม จนพวกเขากล่าวกัน ศาสดามูฮัมหมดั ผไู้ ดร้ บั เลือก นวนยิ ายอืน ๆ ของตอลสตอย วา่ ตอลสตอยเปลียนมา จากพระเจา้ โดยไมเ่ ลือกผอู้ ืนให้ ซงึ แผค่ ณุ ค่าของความอดทน นบั ถือศาสนาอิสลามแล้ว เปนผสู้ อื สารสดุ ท้ายของ และความเคารพต่อผอู้ ืน ซงึ พระเจา้ และเปนศาสดาคน ทําใหห้ ลายคนในโลกอิสลามเชอื สดุ ท้าย วา่ นกั เขยี นและนกั คิดมนษุ ย นยิ มผนู้ ไี ดเ้ ขา้ รบั อิสลามแล้ว “ ทุ ก ค น จ ะ นิ ย ม ช ม ช อ บ ศ า ส น า ข อ ง มู ฮั ม ห มั ด ” ตอลสตอย 4
คําอธิบาย ตอลสตอยถือศาสนาแห่งความดีและมนุษยชาติ NADEZHDA PAKHMUTOVA นักวิชาการ คาดเดาเหตุผลของการสันนิษฐานการรับ อิสลามของตอลสตอย โดยกล่าวว่า สาํ หรับข้อความของตอลสตอยทีจะกล่าวถึงนี สาํ หรับฉันไม่ใช่เรืองแปลกทีจะพู ด - โดยทีฉัน ยกย่องอุ ดมคติและคําสอนของคริสเตียนในความหมายทีแท้จริง - เปนไปไม่ได้ทีฉันจะสงสัยว่า ศ า ส น า มู ฮั ม ห มั ด ใ น ลั ก ษ ณ ะ เ ท่ า ที ป ร า ก ฏ ใ ห้ เ ห็ น นั น อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ที ไ ม่ เ ห นื อ ก ว่ า นิ ก า ย อ อ ร ์โ ธ ด อ ก ซ์ หากมนุษย์มีทางเลือกเพียงสองทาง: การยึดมันในคําสอนของโบสถ์ออร์โธดอกซ์หรือศาสนามู ฮัมหมัด บุคคลทีมีเหตุผลจะไม่ลังเลทีจะเลือกศาสนามูฮัมหมัด จากการยอมรับความเชือใน พระเจ้าองค์เดียวและผู้ส่งสารของพระองค์มากกว่าศาสนศาสตร์ทีซับซ้อนและคลุมเครือ ใน เรืองตรีเอกานุภาพ ความรอด พิธีศีลระลึก พระแม่มารี นักบุญและรูปเคารพ และการบูชาแบบ ผสมผสาน PLIKAVA กล่าวว่า: สิงทีสาํ คัญทีสุดคือ มรดกของตอลสตอยเปนแบบข้ามศาสนาโดยไม่มี ความแตกต่างระหว่างคริสเตียน มุสลิม พุ ทธหรือฮินดู และเขาไม่ปฏิบัติตามลัทธิใด ๆ โดยพืน ฐานแล้วทุกคนปฏิบัติตามศาสนาทีหัวใจเขาระบุไว้ว่าสาํ หรับเขา เขามีศาสนาแห่งความดีและ ม นุ ษ ย ช า ติ 5
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: