อิสลามกับการประท้วง อิหม่ามยูซุฟ อัลกอรฎอวีย์ เขียน ฆอซาลี เบ็ญหมัด แปล
สารบัญ อิสลามกับการประท้วง 0 1 คําถาม 0 2 คําตอบ 0 5 กฎสาํ คัญ 2 ประการ แปลจาก หนังสือ ฟะตาวา มุอาศอเราะฮ์ สาํ นักพิมพ์เลนส์อิสลาม สงขลา สิงหาคม 2021
คําถาม ท่านมคี วามคิดเหน็ อยา่ งไรกับสงิ ทีนกั วชิ าการ บางคนกล่าวถึงเกียวกับการเดนิ ขบวนและการ ประท้วงวา่ เปนกระทําทีขดั แยง้ กับหลักการ อิสลาม ไมว่ า่ จะเปนการสนบั สนนุ ขอ้ เรยี กรอ้ งที ชอบดว้ ยกฎหมาย หรอื เปนการแสดงออกถึงการ ปฏิเสธบางสงิ ในดา้ นการเมอื ง เศรษฐกิจ ความ สมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ ฯลฯ นกั วชิ าการท่านนกี ล่าววา่ : การประท้วง การจดั ประท้วงหรอื มสี ว่ นรว่ ม ถือเปนสงิ ต้องหา้ ม และหลักฐานของเขาก็คือ เพราะนเี ปนบดิ อะฮ์ทีไม่ เคยมใี นหมูช่ าวมุสลิม และไมใ่ ชว่ ธิ กี ารหนงึ ของ ชาวมุสลิม แต่นาํ เขา้ จากประเทศยวิ ครสิ เตียน คอมมวิ นสิ ต์ คนนอกรตี และผไู้ มเ่ ชอื ในพระเจา้ นกั วชิ าการผนู้ ที ้าทายใหน้ าํ เหตกุ ารณห์ นงึ มาให้ เขา ไมว่ า่ เปนการประท้วงครงั ใหญห่ รอื เล็ก ทีเกิด ขนึ ในยุคของศาสดาหรอื ซอฮาบะฮ์ เขากล่าววา่ หากการเดนิ ขบวนเหล่านแี สดงออก ถึงการประท้วงต่อต้านรฐั บาล นนั ถือเปนการ ละเมดิ แนวทางของอิสลาม ในเรอื งการใหค้ ํา แนะนาํ แก่ผปู้ กครอง และเปนทีทราบกันดวี า่ ประการแรกในการใหค้ ําแนะนาํ นคี ือต้องอยู่ ระหวา่ งผใู้ หค้ ําปรกึ ษาและผปู้ กครองไมใ่ ชใ่ นที สาธารณะ อยา่ งไรก็ตามการเดนิ ขบวนเหล่านมี กั ถกู ใชป้ ระโยชนโ์ ดยพวกปาเถือนทีทําลาย ทรพั ยส์ นิ และก่อวนิ าศกรรม ดงั นนั จงึ ต้องปดกัน เพอื เปนการปองกัน คําพูดนนี าํ มาจากมุมมองของอิสลามหรอื ไม?่ ใน ขณะทีผคู้ นทัวโลกมกี ารจดั เวทีการประท้วงเพอื แสดงความต้องการสว่ นตัวหรอื สาธารณะ และมี อิทธพิ ลต่อความคิดเหน็ ของสาธารณชนรอบ ๆ ตัวพวกเขา แล้วจงึ มอี ิทธพิ ลต่อผปู้ กครองและผู้ มอี ํานาจในการตัดสนิ ใจยกเวน้ ชาวมุสลิมผเู้ ดยี วที ถกู หา้ มไมใ่ หใ้ ชว้ ธิ กี ารสากลนี เราหวงั วา่ จะไดย้ นิ คําตัดสนิ จากท่าน ดว้ ยหลัก ฐานทางชารอี ะหเ์ กียวกับปญหารา้ ยแรงนี ซงึ เปน เรอื งทีสาํ คัญกับผคู้ นในทกุ ประเทศและทกุ ทวปี ขอใหอ้ ัลลอฮ์ประทานความสาํ เรจ็ กล่มุ นกั ศึกษาศาสนาจาํ นวนหนงึ หนา้ 1
คําตอบ หลักฐานแสดงความชอบธรรมของการประท้วงเหล่านกี ็คือ เรอื งนเี ปนเรอื งวถิ ีชวี ติ ประจาํ วนั และกิจการในชวี ติ ทางแพง่ และ การสรรเสรญิ เปนของอัลลอฮ์ พรและสนั ติสขุ จงมี หลักเบอื งต้นในเรอื งเหล่านคี ือการอนญุ าต - อัลอัศล์ อิบาหะฮ์ - แด่ผสู้ ง่ สารของพระองค์ ตลอดจน ครอบครวั และนคี ือสงิ ทีฉันตัดสนิ ดว้ ยหลักฐาน - ประมาณชว่ งครงึ สหายและผทู้ ีปฏิบตั ิตามแนวทางของพระองค์ ศตวรรษทีแล้ว - ในบทแรกของหนงั สอื : (หะลาลและหะรอมใน ศาสนาอิสลาม) ซงึ แสดงใหเ้ หน็ ในหลักการแรกวา่ กฎขอ้ แรก เปนสทิ ธขิ องชาวมุสลิมเชน่ เดยี วกับผอู้ ืน ทีจะเดนิ ของสว่ นน:ี (อัลอัศล์ อิบาหะฮ์ - หลักการพนื ฐานของสงิ ต่าง ๆ ขบวนและจดั การการประท้วงแสดงความต้องการที คือการอนญุ าต) นเี ปนความจรงิ ทีไดร้ บั การยอมรบั จากนกั วชิ า ถกู ต้องชอบธรรมตามกฎหมาย และสอื สารความ การฟกฮ์และนกั อุศูลลุ ฟกฮ์สว่ นใหญ่ ต้องการของพวกเขาไปยงั ผนู้ าํ และผมู้ อี ํานาจตัดสนิ ใจดว้ ยเสยี งทีไมอ่ าจเพกิ เฉยได้ ผมู้ อี ํานาจอาจไม่ ไมม่ สี งิ ต้องหา้ มยกเวน้ สงิ ทีระบุไวใ้ นตัวบททีพสิ จู นไ์ ดอ้ ยา่ งถกู ไดย้ นิ เสยี งของคนๆเดยี ว แต่เสยี งของกล่มุ นนั หนกั ต้อง มคี วามระบุอยา่ งชดั เจนถึงขอ้ หา้ ม แนน่ เกินกวา่ ทีจะเพกิ เฉย และยงิ ผชู้ ุมนมุ เพมิ จาํ นวน มากขนึ และมบี ุคคลทีเสยี งมนี าํ หนกั เขา้ มามสี ว่ นรว่ ม สาํ หรบั ตัวบททีมนี าํ หนกั อ่อนในเรอื งบุคคลทีเปนสายรายงาน เสยี งของพวกเขาจะไดย้ นิ มากขนึ และมอี ิทธพิ ลมาก หรอื มคี วามถกู ต้องแต่ไมช่ ดั เจนในความหมายในการชถี ึงการ ขนึ เนอื งจากเจตจาํ นงของกล่มุ แขง็ แกรง่ กวา่ หา้ ม ดงั นนั สงิ นนั ยงั คงอยูใ่ นขอบเขตการอนญุ าต เพอื ทีเราจะ เจตจาํ นงของแต่ละบุคคล และคนหนงึ อ่อนแอในตัว ไมห่ า้ มสงิ ทีอัลลอฮ์อนญุ าต ดว้ ยเหตนุ ี ขอบเขตของขอ้ หา้ มในชะ เองและแขง็ แกรง่ เมอื อยูก่ ันเปนกล่มุ นนั คือเหตผุ ลที รอี ะหข์ องอิสลามจงึ แคบอยา่ งมาก และขอบเขตของการ อัลลอฮ์ผทู้ รงอํานาจกล่าววา่ อนญุ าตก็ขยายออกไปอยา่ งมาก นเี ปนเพราะตัวบททีถกู ต้อง และชดั เจนทีมาเพอื การหา้ มนนั มนี อ้ ยมาก และสงิ ใดทีไมม่ ตี ัวบท َوﺗَ َﻌﺎ َوﻧُﻮاْ َﻋ َﲆ ا ْﻟﺒﺮﱢ َواﻟ ﱠﺘ ْﻘ َﻮى บง่ บอกวา่ อนญุ าตหรอื หา้ ม สงิ นนั ก็ยงั คงอยูบ่ นพนื ฐานของ “และจงรว่ มมอื กันบนความชอบธรรมและความ การอนญุ าต และอยูใ่ นขอบขา่ ยการไมถ่ ือความ (อัลอัฟว)์ จาก ซอื สตั ย”์ ( อัลมาอิดะฮ์ : 2) พระเจา้ และผสู้ ง่ สารของอัลลอฮ์ ขอใหพ้ รและสนั ติสขุ ขอ งอัลลอฮ์จงมแี ดท่ ่าน กล่าววา่ และในการนี มหี ะดษี กล่าววา่ ﻳﺸﺪ ﺑﻌﻀﻪ ﺑﻌﻀﺎ\" وﺷ ّﺒﻚ،اﻟﻤﺆﻣﻦ ﻟﻠﻤﺆﻣﻦ ﻛﺎﻟﺒﻨﻴﺎن \" وﻣﺎ ﺳﻜﺖ، وﻣﺎ ﺣﺮم ﻓﻬﻮ ﺣﺮام،ﻣﺎ أﺣﻞ ﷲ ﻓﻲ ﻛﺘﺎﺑﻪ ﻓﻬﻮ ﺣﻼل ﺑﻴﻦ أﺻﺎﺑﻌﻪ .\" ﻓﺈن ﷲ ﻟﻢ ﻳﻜﻦ ﻟﻴﻨﺴﻰ ﺷﻴﺌﺎ، ﻓﺎﻗﺒﻠﻮا ﻣﻦ ﷲ ﻋﺎﻓﻴﺘﻪ،ﻋﻨﻪ ﻋﻔﻮ “ผศู้ รทั ธากับผศู้ รทั ธาเสมอื นอาคารทีดึงกันและ 64: } َو َﻣﺎ َﻛﺎ َن َرﺑﱡ َﻚ ﻧَ ِﺴﻴ ﺎ{ )ﻣﺮﻳﻢ:)وﺗﻼ กันเขา้ ด้วยกัน” และท่านก็สอดนวิ เขา้ ด้วยกัน (รายงานโดยอัลบุคอรยี แ์ ละมุสลิม ) “ สงิ ทีอัลลอฮ์อนญุ าตในคัมภีรข์ องพระองค์นนั เปนสงิ ที อนญุ าต และสงิ ทีพระองค์ห้ามคือสงิ ทีต้องห้าม และสงิ ที พระองค์ไมก่ ล่าวถึงคือการไมถ่ ือสา” แล้วท่านก็อ่านอายะฮ์ \"และพระเจา้ ของท่านจะไมล่ ืม\" (มรั ยมั : 64) มรี ายงานจาก ซลั มาน อัลฟารซิ ยี ์ วา่ ผสู้ ง่ สารของพระเจา้ - ขอ ใหพ้ รของพระเจา้ และสนั ติสขุ จงมแี ดท่ ่าน- ถกู ถามเกียวกับ เนยใส ชสี และขน ท่านกล่าววา่ : وﻣﺎ، واﻟﺤﺮام ﻣﺎ ﺣﺮّم ﷲ ﻓﻲ ﻛﺘﺎﺑﻪ،اﻟﺤﻼل ﻣﺎ أﺣﻞ ﷲ ﻓﻲ ﻛﺘﺎﺑﻪ ﺳﻜﺖ ﻋﻨﻪ ﻓﻬﻮ ﻣﻤﺎ ﻋﻔﺎ ﻟﻜﻢ “ สงิ ทีอนญุ าต คือสงิ ทีอัลลอฮ์อนญุ าตในคัมภีรข์ องพระองค์ และสงิ ทีต้องห้ามคือสงิ ทีอัลลออ์ห้ามไวใ้ นคัมภีรข์ อง พระองค์ และสงิ ทีพระองค์เงียบเกียวกับเรอื งนี คือสงิ ที พระองค์อภัยให้ท่าน” (รายงานโดยติรมซี ยี ์ อิบนมุ าจะฮ์ อัลฮา กิม และอัลตอบารอนยี )์ หน้า 2
ท่านนบี ศอลฯ ไมต่ อบรายละเอียดใหแ้ ก่ผถู้ ามเกียว “พระองค์แจกแจงสงิ ต้องหา้ มสาํ หรบั พวกท่าน” (อัลอันอาม : 119) กับเรอื งเหล่านี แต่ใหพ้ วกเขากลับไปอ้างอิงหลักทัวไป หมายรวมถึงสงิ ของและการกระทํา ในการทราบวา่ สงิ ใดหะลาลหรอื สงิ ใดหะรอม เพยี งแค่ ทราบวา่ พระเจา้ ทรงหา้ มอะไร เพอื ใหร้ วู้ า่ ทกุ สงิ นอก สงิ นตี รงกันขา้ มกับกรณอี ิบาดตั (พธิ กี รรมทางศาสนา) เพราะเปน เหนอื จากนนั เปนทียอมรบั และเปนสงิ ดี เรอื งของศาสนาบรสิ ทุ ธทิ ีถกู นาํ มาจากวะหย์ ูเท่านนั และในเรอื งนกี ็มี หะดษี ซอเหยี ะหว์ า่ ท่านนบี ศอลฯ - ขอใหพ้ รของพระเจา้ และสนั ติสขุ จงมี แดท่ ่าน- กล่าววา่ : ﻣﻦ أﺣﺪث ﻓﻲ أﻣﺮﻧﺎ ﻫﺬا ﻣﺎ ﻟﻴﺲ ﻣﻨﻪ ﻓﻬﻮ رد وﺣﺪ ﺣﺪو ًدا ﻓﻼ،إن ﷲ ﻓﺮض ﻓﺮاﺋﺾ ﻓﻼ ﺗﻀﻴﻌﻮﻫﺎ “ ใครก็ตามทีประดิษฐก์ ิจการของเรานีในสงิ ทีไมใ่ ชก่ ิจการของ وﺳﻜﺖ ﻋﻦ أﺷﻴﺎء، وﺣﺮم أﺷﻴﺎء ﻓﻼ ﺗﻨﺘﻬﻜﻮﻫﺎ،ﺗﻌﺘﺪوﻫﺎ เรา สงิ นนั จะถกู ผลักไส” (รายงานโดยอัลบุคอรยี แ์ ละมุสลิม ) رﺣﻤﺔ ﺑﻜﻢ ﻏﻴﺮ ﻧﺴﻴﺎن ﻓﻼ ﺗﺒﺤﺜﻮا ﻋﻨﻬﺎ . “แท้จรงิ อัลลอฮ์ได้ทรงกําหนด บทบญั ญตั ิต่างๆ (ที และนนั เปนเพราะความจรงิ ของศาสนานนั มี 2 หลัก คือ จะต้อง เปนฟร ) ดังนนั พวกท่านอยา่ ได้ละเลยบทบญั ญตั ิ เคารพภักดตี ่ออัลลอฮ์เท่านนั และจะไมเ่ คารพบูชาเวน้ แต่ดว้ ยสงิ ที เหล่านนั และพระองค์ได้ทรงวางขอบเขตต่างๆ ดัง พระองค์กําหนดไว้ ผใู้ ดประดษิ ฐก์ ารนมสั การ - ไมว่ า่ เขาจะเปนใคร นนั พวกท่านอยา่ ล่วงลําขอบเขตเหล่านนั และ ก็ตาม – ถือวา่ เปนความหลงผดิ และจะถกู ผลักไส เพราะมเี พยี งผู้ พระองค์ได้ห้ามหลายสงิ หลายอยา่ ง ดังนนั พวก บญั ญตั ิกฎเท่านนั ทีมสี ทิ ธทิ ีจะกําหนดวธิ กี ารนมสั การต่อตนเอง ท่านอยา่ ได้ละเมดิ มนั และพระองค์ได้ทรงเงียบเฉย สาํ หรบั วถิ ีชวี ติ ปกติหรอื การทําธุรกรรม ผสู้ รา้ งไมไ่ ดก้ ําหนดแต่เปน ต่อหลายสงิ หลายอยา่ ง (ไมไ่ ด้ระบุวา่ เปนสงิ ต้อง คนทีกําหนด ผสู้ รา้ งก็มาแก้ไขปรบั ปรงุ และในบางกรณกี ็อนมุ ตั ิ ห้าม หรอื เปนสงิ อนมุ ตั ิ ) ทังนี เพอื เปนความเมตตา หากปราศจากการทจุ รติ และใหโ้ ทษ แก่พวกท่าน มใิ ชเ่ พาะความหลงลืม ดังนนั พวกท่าน จงอยา่ ได้พยายามสบื เสาะค้นหาสงิ เหล่านนั ” อิบนตุ ัยมยี ะฮ์กล่าววา่ (รายงานโดยดารกตุ นยี ์ อัตตอบารอนี และอืนๆ ) [ พฤติกรรมของคน ทังในเรอื งคําพูดและการกระทํา มี 2 ประเภท คือ ขา้ พเจา้ อยากจะยาํ เตือนไว้ ณ ทีนวี า่ หลัก “อัลอัศล์ อิ - พธิ กี รรมทางศาสนา เพอื ความเปนศาสนกิ ทีดี บาหะฮ์ - หลักการพนื ฐานของสงิ ต่าง ๆ คือการ - วถิ ีชวี ติ ประจาํ วนั ทีจาํ เปนในการใชช้ วี ติ ในโลก อนญุ าต” ไมไ่ ดจ้ าํ กัดเฉพาะสงิ ของ แต่รวมถึงการกระ ดงั นนั จากการสาํ รวจบทบญั ญตั ิของชะรอี ะฮ์ เราพบวา่ พธิ กี รรม ทําทีไมใ่ ชเ่ รอื งของพธิ กี รรมทางศาสนา (อิบาดาต) แต่ ทางศาสนาทีอัลลอฮ์ทรงบงั คับหรอื ทรงรกั มขี นึ ไดโ้ ดยชะรอี ะฮ์ เปนเรอื งทีเราเรยี กวา่ : อาดาตและมุอามะลาต (วถิ ี เท่านนั ชวี ติ ประจาํ วนั และนติ ิกรรมสญั ญา) หลักเดมิ ก็คือไมม่ ี การหา้ มยกเวน้ สงิ ทีอัลลอฮ์หา้ ม และดาํ รสั ของอัลลอฮ์ สาํ หรบั วถิ ีชวี ติ ประจาํ วนั ของผคู้ นทีจาํ เปนต่อการดาํ รงชวี ติ ในโลก มี ทีวา่ หลักการพนื ฐานคือ \"การไมม่ ขี อ้ หา้ ม\" ดงั นนั จงึ ไมถ่ ือวา่ เปนต้อง หา้ ม นอกจากสงิ ทีอัลลอฮ์หา้ ม เพราะคําสงั และขอ้ หา้ มเปน َو َﻗ ْﺪ َﻓ ﱠﺼ َﻞ ﻟَﻜُﻢ ﱠﻣﺎ َﺣﺮﱠ َم َﻋﻠَ ْﻴﻜُ ْﻢ บทบญั ญตั ิทีพระเจา้ กําหนด พธิ กี รรมทางศาสนาจะต้องมบี ทบญั ญตั ิเฉพาะ แต่ในเรอื งวถิ ีชวี ติ ที ไมม่ คี ําสงั ใชโ้ ดยตรง จะตัดสนิ วา่ ต้องหา้ มไดอ้ ยา่ งไร ? นนั คือเหตผุ ลทีท่านอิหมา่ มอะหมดั และนกั ปราชญด์ า้ นหะดษี ท่านอืน ๆ กล่าวไวว้ า่ \"หลักการพนื ฐานในพธิ กี รรมทางศาสนาคือการปฏิบตั ิ ตาม ดงั นนั จงึ ไมอ่ นญุ าตใหป้ ฏิบตั ินอกจากสงิ ทีพระเจา้ กําหนดไว้ เท่านนั มเิ ชน่ นนั ก็จะเปนไปตามบทบญั ญตั ิของอัลลอฮ์ทีวา่ أَ ْم ﻟَ ُﻬ ْﻢ ُﺷ َﺮ َﻛﺎء َﺷ َﺮ ُﻋﻮا ﻟَ ُﻬﻢ ﱢﻣ َﻦ اﻟ ﱢﺪﻳ ِﻦ َﻣﺎ ﻟَ ْﻢ ﻳَﺄْ َذن ﺑِ ِﻪ ﱠُﷲ \"หรอื พวกเขามหี ้นุ สว่ นทีบญั ญตั ิศาสนาให้แก่พวกเขาโดยที อัลลอฮ์ไมอ่ นมุ ตั ิ\" ( อัชชูรอ : 21 ) สว่ นวถิ ีชวี ติ ประจาํ วนั มหี ลักการพนื ฐานวา่ เปนเรอื งทีอนมุ ตั ิ ดงั นนั จงึ ไมเ่ ปนสงิ ต้องหา้ มเวน้ แต่สงิ ทีพระเจา้ หา้ ม มฉิ ะนนั เราจะเขา้ สู่ ความหมายของคําพูดของอัลลอฮ์ผทู้ รงอํานาจทีวา่ : หนา้ 3
ُﻗ ْﻞ أَ َرأَ ْﻳ ُﺘﻢ ﱠﻣﺎ أَﻧ َﺰ َل ُﷲّ ﻟَﻜُﻢ ﱢﻣﻦ رﱢ ْز ٍق َﻓﺠَ َﻌ ْﻠ ُﺘﻢ ﱢﻣ ْﻨ ُﻪ َﺣ َﺮا ًﻣﺎ หลังจากยุคซอฮาบะฮ์ มุสลิมยุคต่อมาและลกู ศิษยข์ องพวกเขา ได้ ًَو َﺣﻼَﻻ สรา้ งหลายสงิ เชน่ เหรยี ญอิสลาม แทนทีจะพงึ พาเหรยี ญดริ ฮัมของ \"จงกล่าวเถิด พวกท่านได้เห็นหรอื ไม่ ในสงิ ทีอัลลอฮ์ เปอรเ์ ซยี และดนี ารข์ องโรมนั การจดั ตังระบบไปรษณยี ์ การบนั ทึก ประทานให้แก่พวกท่านจากปจจยั ยงั ชพี แล้วพวกท่าน ตําราวชิ าการ และการจดั ตังศาสตรใ์ หมๆ่ ๆ เชน่ อุศูลลุ ฟกฮ์ ห้ามบางสงิ และอนมุ ตั ิบางสงิ \" (ยูนสุ : 59) ไวยากรณอ์ าหรบั ภาษาศาสตร์ และอืนๆ ตลอดจนจดั ตังระบบฮิ สบะห์ และกําหนดกฎเกณฑ์ บทบญั ญตั ิและจรรยาบรรณ และเขยี น นเี ปนกฎทีเปนประโยชนอ์ ยา่ งยงิ เราจงึ อาจจะพูดไดว้ า่ หนงั สอื หลายเล่มในเรอื งนี การขาย การบรจิ าค การใหเ้ ชา่ และพฤติกรรมอืน ๆ ที จาํ เปนต่อผคู้ นในการดาํ รงชวี ติ เชน่ การกิน การดมื และ บางทีสงิ ทีสนบั สนนุ สงิ นกี ็คือ หะดษี ซอเหยี ะห์ ทีวา่ การแต่งกาย - ชะรอี ะหไ์ ดแ้ นะนาํ เกียวกับพฤติกรรมเหล่า นดี ว้ ยศีลธรรมอันดี ﻓﻠﻪ أﺟﺮﻫﺎ وأﺟﺮ ﻣﻦ ﻋﻤﻞ ﺑﻬﺎ إﱃ ﻳﻮم اﻟﻘﻴﺎﻣﺔ،ﻣﻦ ﺳﻦ ﺳﻨﺔ ﺣﺴﻨﺔ ดงั นนั ศาสนาจงึ หา้ มในสงิ ทีสรา้ งความเสยี หาย บงั คับใช้ “ผใู้ ดรเิ รมิ แนวทางทีดี เขาจะได้ผลบุญในการนนั และผลบุญของ ในสงิ ทีจาํ เปน รงั เกียจสงิ ทีไมเ่ หมาะสม และสง่ เสรมิ ในสงิ ผกู้ ระทําการนนั ตราบจนวนั ฟนคืนชพี ” ทีมปี ระโยชนม์ ากกวา่ โทษ ทังในดา้ นประเภท จาํ นวนและ ลักษณะของพฤติกรรมเหล่านนั อันเปนการกระต้นุ ใหเ้ กิดความคิดรเิ รมิ และทําแบบอยา่ งใหผ้ อู้ ืนได้ ปฏิบตั ิตาม เพอื ทีจะไดร้ บั ผลบุญ ดงั วลีทีกล่าววา่ “ความดเี ปนของผู้ และเมอื เปนเชน่ นนั ผคู้ นก็ซอื ขายและเชา่ ตามทีพอใจ รเิ รม่ แมว้ า่ ผตู้ ามก็จะไดเ้ ชน่ กัน” ตราบใดทีไมใ่ ชใ่ นกรณที ีกฎหมายอิสลามหา้ ม กินและดมื ตามพอใจชอบ ตราบใดทีไมใ่ ชใ่ นกรณที ีกฎหมายอิสลาม ดงั นนั มนั จงึ เปนขอ้ ผดิ พลาดอยา่ งเปนระบบ ในกรณตี ้องการหลัก หา้ ม - และบางอยา่ งอาจเปนสงิ ทีศาสนาสง่ เสรมิ หรอื ฐานเฉพาะเกียวกับความชอบดว้ ยหลักศาสนาของวถิ ีชวี ติ ประจาํ วนั รงั เกียจ ตราบใดทีไมห่ า้ มเดด็ ขาด สงิ นนั ก็ยงั คงอยูภ่ ายใต้ ทางโลกทกุ เรอื ง ทังทีความจรงิ หลักการอิสลามในเรอื งลักษณะนี หลักอนญุ าตดงั เดมิ ] ( อิบนตุ ัยมยี ะฮ์ ,กอวาอิดนรู อนยี ะฮ์ เพยี งพอกับหลัก “ไมม่ ขี อ้ หา้ ม” ฟกฮียะฮ์ น.112-113 ) การอ้างวา่ การเดนิ ขบวนประท้วงเหล่านี ยมื หรอื นาํ เขา้ จากผทู้ ีไมใ่ ช่ หลักฐานของทีกล่าวมาคือสงิ ทีกล่าวมาคือ หะดษี ซอเหี มุสลิม ก็ไมใ่ ชเ่ ปนขอ้ พสิ จู นว์ า่ เรอื งนตี ้องหา้ ม ตราบเท่าทีไดร้ บั ยะหจ์ ากท่านจาบรี ์ บนิ อับดลุ ลอห์ ทีกล่าววา่ “เราทําการ อนญุ าตในตัวเอง และชาวมุสลิมเหน็ วา่ เปนประโยชนต์ ่อพวกเขา ตาม หลังนอก ในขณะทีอัลกรุ อานถกู ประทานลงมา และหาก หลักการทีวา่ มนั เปนสงิ ต้องห้าม แนน่ อนอัลกรุ อานก็จะห้ามมนั ”( รายงานโดยอัลบุคอรยี แ์ ละมุสลิม ) สงิ นบี ง่ ชวี า่ สงิ ทีวะหย์ ู \" 10) \" )ﻓﺎﻟﺤﻜﻤﺔ ﺿﺎﻟﺔ اﻟﻤﺆﻣﻦ أﻧّﻰ وﺟﺪﻫﺎ ﻓﻬﻮ أﺣﻖ اﻟﻨﺎس ﺑﻬﺎ. ไมก่ ล่าวถึง สงิ นนั ไมไ่ ดต้ ้องหา้ มแต่อยา่ งใด แต่จะเปนที อนมุ ตั ิจนกวา่ จะมขี อ้ หา้ ม “เหตผุ ลเปนสงิ ของของผศู้ รทั ธาทีหล่นหายไป ไมว่ า่ จะเจอทีไหน เขายอ่ มมสี ทิ ธเิ ปนเจา้ ของมากกวา่ ” สงิ นมี าจากความสมบูรณแ์ บบของความเขา้ ใจต่อ นติ ิศาสตรอ์ ิสลามของซอฮาบะฮ์-ขอใหอ้ ัลลอฮ์พอใจต่อ ในยุคของท่านนบมี ุฮัมมดั ศอลฯ ชาวมุสลิมยมื วธิ กี ารขุดคนู าํ รอบ ๆ พวกเขา - ทําใหป้ รากฏหลักการอันยงิ ใหญท่ ีวา่ “พธิ กี รรม นครมะดนี ะฮ์ เพอื เสรมิ ความแขง็ แกรง่ จากการรกุ รานของกล่มุ ผตู้ ัง ทางศาสนาทําไมไ่ ดน้ อกจากจะมบี ทบญั ญตั ิระบุไว้ วถิ ีชวี ติ ภาคี อันเปนวธิ กี ารหนงึ ของชาวเปอรเ์ ซยี ประจาํ วนั ทําไดย้ กเวน้ มขี อ้ หา้ ม” ท่านรอ่ ซูล ศอลฯ ใชต้ ราประทับตามทีไดร้ บั คําแนะนาํ วา่ ควรทําเชน่ นนั เพราะกษัตรยิ แ์ ละประมุขของโลกไมย่ อมรบั หนงั สอื เวน้ แต่จะถกู ลง ดงั นนั ทัศนะทีวา่ การประท้วงเปนบดิ อะฮ์ทีไมม่ ใี นยุคของ ตราประทับ ท่านนบี และซอฮาบะฮ์ จงึ เปนทัศนะทีถกู ปฏิเสธ เพราะ หลักการนเี ปนกรณขี องพธิ กี รรมทางศาสนาทีหลักการ ซอฮาบะฮ์ใชร้ ะบบรายไดข้ องรฐั เปอรเ์ ซยี โบราณในทางแพง่ และ พนื ฐานคือในเรอื งพธิ กี รรมทางศาสนาคือ “การตาม” และ องค์กร และใชร้ ะบบเอกสารของอาณาจกั รโรมนั เนอื งจากความเปน ในเรอื งชวี ติ ทางโลกคือนวตั กรรม ระเบยี บ นนั คือเหตผุ ลทีซอฮาบะฮ์และผทู้ ีตามพวกเขา ไดค้ ิดนว นอกจากนนั ชาวมุสลิมไดแ้ ปลหนงั สอื ทีมศี าสตรแ์ หง่ ยุคแรก ๆ ของ ตกรรมหลายอยา่ งทีไมม่ ใี นยุคของศาสดา -ขอใหพ้ รของ ชนชาติทีเจรญิ ก้าวหนา้ ซงึ ชาวมุสลิมไดพ้ ฒั นา ขดั เกลา เพมิ เติม และ พระเจา้ และสนั ติสขุ มแี ดท่ ่าน -รวมถึงสงิ ทีเรยี กวา่ “การ คิดค้นสงิ ใหม่ ๆเพมิ เติม เชน่ วชิ าพชี คณติ ตามการยอมรบั ของนกั รเิ รมิ ของอุมรั ” ซงึ เปนสงิ ทีท่านอุมรั รเิ รมิ ในสงิ ทีไมเ่ คยมี ประวตั ิศาสตรว์ ทิ ยาศาสตรท์ ีมใี จเปนธรรม มาก่อน เชน่ การสรา้ งปฏิทินเฉพาะสาํ หรบั ชาวมุสลิม การ สรา้ งเมอื งใหม่ การบนั ทึกทะเบยี น การสรา้ งเรอื นจาํ และ พวกเขาคัดค้านเฉพาะศาสตรเ์ กียวพระเจา้ ในประเพณกี รกี เท่านนั อืน ๆ เนอื งจากพระเจา้ ผทู้ รงฤทธานภุ าพไดส้ อนพวกเขาดว้ ยหลักคําสอน ของศาสนาอิสลาม โดยไมต่ ้องพงึ พาความรเู้ กียวกับตํานานกรกี นอกรตี และสงิ ไรส้ าระ หนา้ 4
และใครก็ตามทีมองชวี ติ รว่ มสมยั ของเราในดา้ น 140: ) َوﺗِ ْﻠ َﻚ اﻷﻳﱠﺎ ُم ﻧُ َﺪا ِوﻟُ َﻬﺎ ﺑَ ْﻴ َﻦ اﻟ ﱠﻨﺎ ِس{ )آل ﻋﻤﺮان. ต่างๆ: เขาจะค้นพบสงิ ทีเรายมื มาจากประเทศ ตะวนั ตกมากมาย ทังในดา้ นการศึกษา การ “และวนั เวลาเหล่านนั เราได้ให้มนษุ ยไ์ ด้หมุนเวยี นสบั เปลียนกัน สอื สาร เศรษฐศาสตร์ การปกครอง การเมอื ง ไป\" (อาลอิมรอน : 140) และอืนๆ ตลอดจนแนวคิดเกียวกับรฐั ธรรมนญู รปู แบบการเลือกตังในรปู แบบรว่ มสมยั การแบง่ สงิ ทีสาํ คัญคือเรานาํ เอาสงิ ทีเหมาะสมกับความเชอื ค่านยิ มและศาสนา แยกอํานาจ การจดั ตังสอื มวลชนวทิ ยุและ ของเราโดยไมข่ ดั แยง้ กัน ผทู้ ีถ่ายโอนสงิ ของผอู้ ืนมาใชค้ ือผทู้ ีใช้ โทรทัศนเ์ พอื เปนเครอื งมอื ในการแสดงออก ชนี าํ ประโยชนจ์ ากผอู้ ืนไมใ่ ชส่ งิ ทีเปนโทษต่อเขา สงิ ทีสาํ คัญทีสดุ ทีมุสลิม และความบนั เทิง และการสรา้ งเครอื ขา่ ยขอ้ มูล รบั เอาจากผอู้ ืนคือสงิ ทีเกียวขอ้ งกับเรอื งราวของชวี ติ ทีทันสมยั ซงึ อันยงิ ใหญ่ (อินเทอรเ์ นต็ ) รปู แบบการศึกษาทีมี สว่ นใหญเ่ กียวขอ้ งกับวธิ กี ารและกลไกทียดื หยุน่ และเปลียนแปลงได้ การจดั แบง่ องค์กร หนว่ ยงาน ระดบั การศึกษา ไมใ่ ชเ่ ปาหมายและหลักการทีมลี ักษณะมนั คงไมเ่ ปลียนแปลง การวดั ผลและกลไกรว่ มสมยั สว่ นใหญห่ ยบิ ยมื มาจากตะวนั ตกทังสนิ อยา่ งไรก็ตาม สงิ ทีผถู้ ามกล่าวถึงเกียวกับทีมาของการประท้วงเหล่า นวี า่ มาจากคอมมวิ นสิ ต์ ถือวา่ ไมถ่ กู ต้อง เนอื งจากระบอบ และเมอื ชยั ค์รฟิ าอะฮ์ เตาะหต์ อวยี ์ ไปปารสี ใน คอมมวิ นสิ ต์ไมอ่ นญุ าตใหม้ กี ารเดนิ ขบวนเหล่านเี ลย เนอื งจากระบอบ ฐานะผนู้ าํ ของคณะผแู้ ทนอียปิ ต์ เมอื ไดเ้ หน็ สสี นั เผดจ็ การเหล่านมี พี นื ฐานมาจากการปราบปรามเสรภี าพ การปดปาก ของอารยธรรมสมยั ใหม่ เตาะหต์ อวยี ต์ ืนตาตืนใจ เสยี งและการยอมจาํ นนต่อผมู้ อี ํานาจปกครองทีมอี ํานาจบาตรใหญ่ กับอารยธรรมสมยั ใหม่ และกลับมาเตือน อยา่ งแท้จรงิ ประชาชนถึงความจาํ เปนในการใชป้ ระโยชนจ์ าก ความก้าวหนา้ ของยุโรป เพอื ทีพวกเขาจะไดไ้ ม่ ● กฎสาํ คัญ 2 ประการ ก้าวหนา้ ต่อไปในขณะทีเรายงั คงล้าหลัง ตังแต่ วนั นนั เปนต้นมาชาวอียปิ ต์ก็เรมิ ขยบั รวมถึงชาว ฉันต้องการอธบิ ายกฎทีสาํ คัญ 2 ประการ คือ อาหรบั จาํ นวนมากก็เรมิ และก่อนหนา้ พวกเขา ออตโตมานก็เรมิ ใชป้ ระโยชนจ์ ากสงิ ทีชาวตะวนั 1- หลักผลประโยชนท์ ีแท้จรงิ - มะศอลิห์มุรสะละฮ์ ตกมี ประการแรกคือ: หลักการผลประโยชนท์ ีแท้จรงิ -มะศอลิหม์ ุรสะละฮ์- ทังหมดนเี ปนสงิ ทีนาํ มาจากตะวนั ตกทีเหนอื กวา่ สาํ หรบั การปฏิบตั ินไี มป่ รากฏในยุคของศาสดา และชอื กฏนกี ็ไมเ่ ปนที เราและนาํ หนา้ เรา อันทําใหเ้ ราต้องเรยี นรจู้ าก รจู้ กั ในยุคคลุ าฟาอ์รอชดิ นู และชาวมุสลิมในยุคแรก ๆ แต่เปนหนงึ ใน พวกเขา และจะไมพ่ บการคัดค้านจากนกั วชิ าการ การสงั เคราะหจ์ ากยุคนี ชะรอี ะหค์ นใดคนหนงึ หรอื ฝายอืน ๆ ตลอดจน สอดคล้องกับธรรมเนยี มปฏิบตั ิทัวไป ก่อนหนา้ นี สงิ ทีอยูใ่ นขอบเขตของ \"หลักการผลประโยชนท์ ีแท้จรงิ -มะศอลิห์มุ ตะวนั ตกก็เอาไปจากเรา และใชป้ ระโยชนจ์ าก รสะละฮ์- \" เปนกรณที ีไมม่ หี ลักฐานแสดงถึงการยอมรบั หรอื ปฏิเสธ ความรขู้ องเราในชว่ งเรมิ ต้นของยุคฟนฟู เงือนไขของกฎนี จะต้องไมเ่ ปนกรณพี ธิ กี รรมทางศาสนา-อิบาดาต- ศิลปวทิ ยาการ เพอื ไมใ่ หเ้ ขา้ สกู่ ารเปนบดิ อะฮ์ และเปนผลประโยชนซ์ งึ หากคิดดว้ ย เหตผุ ลจะยอมรบั และจะต้องไมข่ ดั แยง้ กับตัวบททางศาสนา และกฎ เกณฑ์ทางฟกฮ์ คณะนกั วชิ าการอิสลามสว่ นใหญถ่ ือวา่ หลักการผล ประโยชนท์ ีแท้จรงิ -มะศอลิหม์ ุรสะละฮ์- เปนหลักฐานทางกฎหมายทีใช้ ในการออกกฎหมาย ฟตวาหรอื พพิ ากษา และใครก็ตามทีอ่านหนงั สอื ฟกหจ์ ะไดพ้ บกับตัวอยา่ งคําวนิ จิ ฉัยหลายรอ้ ยขอ้ ทีอ้างเหตผุ ลวา่ เพยี งอ้างอิงผลประโยชนท์ ีได้ หรอื ภัยทีถกู ขจดั และซอฮาบะฮ์ - ซงึ เปนคนทีเขา้ ใจศาสนาอิสลามอยา่ งดที ีสดุ - เปนกล่มุ คนทีนาํ มนั มาใช้ ประโยชนส์ งู สดุ และยดึ ถือมนั มากทีสดุ หลักนมี กี ารใชอ้ ยา่ งแพรห่ ลายในมซั ฮับมาลิกี แต่อิหมา่ มชฮิ าบุดดนี อัลกอราฟ อัลมาลิกี ฮ ศ( . .684 ) กล่าวตอบโต้ต่อผทู้ ีเหน็ วา่ หลักการ หลักการผลประโยชนท์ ีแท้จรงิ -มะศอลิหม์ ุรสะละฮ์- เปนเรอื งเฉ พาะมซั ฮับมาลิกี วา่ : \"เมอื ฉนั ตรวจสอบมซั ฮับต่างๆ พบวา่ เมอื พวกเขาใชห้ ลักกิยาส หรอื รวม หรอื แบง่ แยกระหวา่ งสองกรณี พวกเขาไมไ่ ด้ใชด้ ะลีลอืน มาใชใ้ นการรวมหรอื แบง่ แยก แต่พวกเขาพอใจกับ \"ความเหมาะ สม\" และนีคือหลักการผลประโยชนท์ ีแท้จรงิ -มะศอลิห์มุรสะละฮ์- ดังนนั หลักนีจงึ มอี ยูใ่ นสาํ นกั คิด-มซั ฮับ-ทังหมด\" (ชรั ห์ ตันกีห์ อัล ฟุศูล,171 ) หนา้ 5
2- หลัก \"วธิ กี ารมบี ทบญั ญตั ิเชน่ เดียวกันกับเปาหมาย\" ฉันจงึ บอกนกั ศึกษาทีถามฉันเกียวกับเรอื งนวี า่ : ให้ ลิลวะสาอิล หกุ มุลมะกอศิด ตอบโต้ต่อการเดนิ ขบวนของกล่มุ เซคคิวลารใ์ นครงั นี ดว้ ย การใหผ้ หู้ ญงิ มุสลิมทีเครง่ ครดั ในศาสนาหา้ แสนคนเดนิ กฎขอ้ ทีสอง: วธิ กี ารมบี ทบญั ญตั ิเชน่ เดยี วกันกับเปาหมาย หมายความวา่ ขบวนประท้วงต่อต้านการเดนิ ขบวนประท้วงครงั แรก เพอื วธิ กี ารของการงานต่างๆในชวี ติ ประจาํ วนั มหี ลักเดยี วกับเปาหมาย หากเปา เรยี กรอ้ งใหเ้ คารพหลักการทีชดั เจนของกฎหมายอิสลาม หมายในเรอื งเหล่านมี คี วามชอบธรรม วธิ กี ารก็พลอยมคี วามชอบธรรมไป หลังจากนนั ไมก่ ีเดอื นก็มกี ารเดนิ ขบวนของผหู้ ญงิ หลาย ดว้ ย โดยทีวธิ กี ารจะต้องไมเ่ ปนสงิ ต้องหา้ มในตัวเอง ล้านคนเพอื สนบั สนนุ ชารอี ะห์ และแมว้ า่ จะมผี ชู้ ายเขา้ รว่ ม ดว้ ยเหตนุ ี เมอื ปรากฏเครอื งมอื สอื สารสมยั ใหม่ เชน่ โทรทัศน์ ผคู้ นก็ถามวา่ ในจาํ นวน จาํ กัดก็ตาม นาํ โดยชยั ค์อะหมดั ซะหน์ นู นกั สงิ นอี นญุ าตหรอื ต้องหา้ ม? วชิ าการชาวแอลจเี รยี - ขอใหพ้ ระเจา้ เมตตาต่อท่าน- คําตอบของนกั วชิ าการคือ : สงิ เหล่านไี มม่ ขี อ้ ตัดสนิ ในตัวเอง แต่ขอ้ ตัดสนิ สาํ หรบั การเดนิ ขบวนครงั นี เมอื พจิ ารณาวตั ถปุ ระสงค์ ไม่ ขนึ อยูก่ ับเปาหมายและวตั ถปุ ระสงค์ หากถามเกียวกับขอ้ ตัดสนิ ของปน เรา ต้องสงสยั เกียวกับความถกู ต้องตามกฎหมาย ซงึ แตก ก็จะพูดวา่ หากมนั อยูใ่ นมอื ของมุญาฮิดนี ก็จะเปนการชว่ ยเหลือในการญิ ต่างจากการเดนิ ขบวนครงั แรกทีต่อต้านบทบญั ญตั ิชะรี ฮาดและสจั ธรรม ต่อต้านความเท็จ แต่หากอยูใ่ นมอื ของโจร ก็เปนการชว่ ย อะฮ์ ทีชดั เจนวา่ นกั กฎหมายไมส่ ามารถออกฟตวาวา่ เปน เหลือในการก่ออาชญากรรม การทจุ รติ และการขม่ ขูส่ รา้ งความหวาดกลัวให้ สงิ ทีอนญุ าต กับผคู้ น ในทํานองเดยี วกันกับโทรทัศน์ : ผทู้ ีใชโ้ ทรทัศนเ์ พอื รบั รขู้ า่ วสารและรบั ชม ● หลักการปองกันล่วงหนา้ -ซดั ดดุ ซะรอเอียะ รายการทีเปนประโยชนท์ างการศึกษา การเมอื งและเศรษฐกิจ และแมแ้ ต่ รายการบนั เทิงทีมเี งือนไขและกรอบเฉพาะ สงิ นเี ปนสงิ ทีอนญุ าตและถกู การกล่าวเกียวกับเหตผุ ลการหา้ มการเดนิ ขบวนประท้วง ต้องตามหลักการอิสลามอยา่ งไมต่ ้องสงสยั และอาจเปลียนเปนอิบาดั อยา่ งสนั ติวา่ เกรงวา่ ผปู้ ระสงค์รา้ ยบางคนอาจใชเ้ ปน ตดว้ ยความตังใจดี ต่างจากผทู้ ีใชเ้ พอื ค้นหาสอื ลามกอนาจารและความหลง เครอื งมอื ในการทําลายทรพั ยส์ นิ และสถานที รบกวนความ ผดิ ในดา้ นความคิดและพฤติกรรม หรอื อืน ๆ ปลอดภัยและก่อใหเ้ กิดความไมส่ งบ เชน่ เดยี วกันกับการเดนิ ขบวนและการประท้วง หากการประท้วงเพอื บรรลุ เปนทีทราบกันดวี า่ หลักการปองกันล่วงหนา้ -ซดั ดดุ ซะรอ จุดมุง่ หมายทีชอบธรรม เชน่ การเรยี กรอ้ งใหม้ กี ารใชก้ ฎหมายชารอี ะห์ หรอื เอียะ- ไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตใหข้ ยายออกไปจนเปนเครอื งมอื ใน การปล่อยตัวผถู้ กู คมุ ขงั ทีถกู กลันแกล้ง หรอื การระงับการดาํ เนนิ คดขี อง การลิดรอนผลประโยชนโ์ ดยชอบจาํ นวนมาก ศาลทหารต่อพลเรอื น หรอื การยกเลิกภาวะฉกุ เฉินทีใหอ้ ํานาจเดด็ ขาดแก่ รฐั บาล หรอื โดยการบรรลขุ อ้ เรยี กรอ้ งทัวไปของประชาชน เชน่ การจดั หา แต่ทังนี อนญุ าตใหท้ ําการเดนิ ขบวนประท้วงไดห้ ากมกี าร ขนมปงนาํ มนั นาํ ตาล ยา นาํ มนั เบนซนิ หรอื เปาหมายอืน ๆ เหล่านนี กั ปฏิบตั ิตามเงือนไขบางประการ ซงึ มแี นวโนม้ ทีจะทําให้ วชิ าการล้วนไมส่ งสยั เลยวา่ ถกู ต้องตามกฎหมาย แนใ่ จไดว้ า่ จะไมม่ กี ารสรา้ งความเสยี หาย เชน่ ในกรณที ีพวก เขาไดร้ บั การค้มุ กันโดยตํารวจ หรอื ผจู้ ดั งานของพวกเขา ในทํานองเดยี วกันกับการประท้วงต่อต้านสงิ ทีเกิดขนึ กับพนี อ้ งในปาเลสไตน์ ใหค้ ํามนั วา่ จะควบคมุ พวกเขาเพอื ไมใ่ หเ้ กิดความวุน่ วาย หรอื การขุดค้นภายใต้มสั ยดิ อัลอักซอหรอื ต่อต้านสงครามในอิรกั หรอื การ หรอื ละเมดิ ความปลอดภัย และพวกเขารบั ผดิ ชอบต่อสงิ ประท้วงต่อต้านการต์ นู ทีเหยยี ดหยามท่านศาสดา (ขอใหส้ นั ติจงมแี ดท่ ่าน) นนั ซงึ แนวทางนใี ชก้ ันในประเทศทีพฒั นาแล้ว ฉันจาํ ไดว้ า่ ในป 1989 ในแอลจเี รยี นกั ศึกษามหาวทิ ยาลัยบางคนทีเปนคน ชา่ งสงั เกตและเครง่ ศาสนา ไดฟ้ องรอ้ งกับฉันเกียวกับกล่มุ ผหู้ ญงิ หวั เซค ● ในหลักฐานซุนนะหเ์ กียวกับความชอบธรรมของการ คิวลารท์ ีจดั งานเดนิ ขบวนประท้วงของผหู้ ญงิ ประมาณหา้ รอ้ ยคน เดนิ ขบวน ประท้วงไปตามถนนในเมอื งหลวง เรยี กรอ้ งชุดขอ้ เรยี กรอ้ งทีเกียวขอ้ งกับ เดนิ ขบวนประท้วง ครอบครวั หรอื ทีเรยี กวา่ \"กฎหมายสถานภาพสว่ นบุคคล\" เชน่ การหา้ มการ ฉันเชอื วา่ ดว้ ยหลักฐานทางกฎหมายอิสลาม และการ หยา่ รา้ ง หรอื การมภี รรยาหลายคน หรอื การรอ้ งขอความเท่าเทียมกัน พจิ ารณาทีเราไดน้ าํ เสนอ เพยี งพอทีจะชขี าดวา่ การ ระหวา่ งชายและหญงิ ในการรบั มรดก หรอื การอนญุ าตใหห้ ญงิ มุสลิม ประท้วงอยา่ งสนั ติเปนสงิ ศาสนาอนญุ าต หากเปน แต่งงานกับคนทีไมใ่ ชม่ ุสลิม เปนต้น แสดงออกถึงขอ้ เรยี กรอ้ งทีชอบดว้ ยกฎหมายของกล่มุ คนหรอื ประชาชนทัวไป โดยไมจ่ าํ เปนต้องมหี ลักฐานทาง กฎหมายอิสลามเฉพาะสาํ หรบั สงิ นี ไมว่ า่ จะเปนตัวบทในอัล กรุ อาน หรอื หะดษี หรอื เหตกุ ารณท์ ีเกิดขนึ ในยุคของ ศาสดาหรอื คลุ าฟะอ์รอชดิ นี หนา้ 6
อยา่ งไรก็ตาม เราขอกล่าวถึงเหตกุ ารณส์ าํ คัญทีบง่ ชถี ึงขอ้ ชขี าดขา้ งต้น เปนเหตกุ ารณท์ ีเกิดขนึ ในยุค ของท่านนบี ศอลฯ ขณะทีอุมรั บนิ คอตตอบ -ขอใหพ้ ระเจา้ พอใจต่อท่าน - เขา้ รบั อิสลาม เรามาฟงท่า นอุมรั เล่าถึงการชุมนมุ ประท้วงในครงั นนั ขณะทีท่านเขา้ ไปในบา้ นของอัรกอม บนิ อบอี ัรกอม เพอื กล่าวคําปฏิญาณตนเขา้ รบั อิสลาม วา่ \"ฉันพูดวา่ : โอ้ท่านผสู้ ง่ สารของอัลลอฮ์ เราไมไ่ ดอ้ ยูบ่ นสจั จธรรม หรอื แมเ้ ราจะตายหรอื มชี วี ติ อยู?่ ท่านกล่าววา่ : \"ใชแ่ ละขอสาบานดว้ ยผทู้ ีวญิ ญาณของฉันอยูใ่ นมอื ของพระองค์ พวกท่านอยูบ่ นสจั จธรรม แมจ้ ะตายหรอื มชี วี ติ อยู\"่ ท่านอุมรั กล่าววา่ \"ฉันจงึ พูดวา่ \"แล้ว ทําไมเราต้องแอบๆซอ่ นๆ ? ขอสาบานต่อผทู้ ีแต่งตังท่านดว้ ยสจั จธรรม ท่านต้องเปดตัว\" ดงั นนั เราจงึ พาเขาออกไป โดยตังเปนสองแถว ฮัมซะฮ์อยูใ่ นแถวหนงึ และฉันอยูใ่ นอีกแถวหนงึ เกิดเปนฝุนฟุง กระจาย จนกระทังเราเขา้ ไปในมสั ยดิ หะรอม\" ท่านอุมรั กล่าวต่อวา่ \"จากนนั ชาวกเุ รชก็มองมาทีฉันและ ฮัมซะฮ์ และพวกเขาก็รสู้ กึ หดหอู่ ยา่ งทีไมเ่ คยเปนมาก่อน ดงั นนั ในวนั นนั ผสู้ ง่ สารของอัลลอฮ์ -ขอให้ พรของอัลลอฮ์และสนั ติสขุ จงมแี ดท่ ่าน- ขนานนามฉันวา่ \"อัลฟารคุ -ผกู้ ล้าต่าง” (อบูนะอีม ใน \"หลิ ยะ ตลุ เอาลิยาอ์\"เล่ม 1 หนา้ 40 และใน \"ซฟิ ะตศุ ศอฟวะฮ์\" เล่ม 1 หนา้ 104,130 ) ผทู้ ีศึกษาชวี ประวตั ิของท่านนบแี ละซุนนะหจ์ ะพบตัวอยา่ งอืน ๆ ในลักษณะนอี ีกมากมาย และขอขอบคณุ อัลเลาะหพ์ ระเจา้ ของทกุ สรรพสงิ หน้า 7
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: