ค่าพาย (Pi)นาย ปกป้ อง โรจนพงศ์อนนั ต์ ม.4/14 เลขท่ี13
คานา• เทคโนโลยีสารสนเทศหนงั สือออนไลน์นี ้จดั ทาขนึ ้ เพื่อเป็นสว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาเร่ืองตา่ งๆของ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้นกั เรียนและผ้ทู ี่สนใจ ศกึ ษาค้นคว้ามีความรู้ความเข้าใจความเข้าใจ เก่ียวกบั ระบบสารสนเทศมากยง่ิ ขนึ ้ ผิดพลาด ประการใด ขออภยั ไว้ ณ ท่ีนี ้ นาย ปกป้ อง โรจนพงศ์อนนั ต์ ผ้จู ดั ทา
สารบญั 4 5• คา่ พายคอื อะไร 6• คา่ พายมีคา่ เท่าไหร่ 7• สญั ลกั ษณ์พาย 9• วนั คา่ พาย• ใครจาคา่ พายได้มากที่สดุ
ค่าพาย(Pi)คืออะไร• พาย หรือ ไพ (อกั ษรกรีก: π) เป็นคา่ คงตวั ทาง คณิตศาสตร์ ที่เกิดจากความยาวเส้นรอบวงหารด้วย เส้นผ่านศนู ย์กลางของวงกลม คา่ π มกั ใช้ใน คณิตศาสตร์, ฟิสิกส์ และวศิ วกรรม π เป็นอกั ษรกรีกที่ ตรงกบั ตวั \"p\" ในอกั ษรละติน มีชื่อวา่ \"pi\" (อา่ นวา่ พาย ในภาษาองั กฤษ แตอ่ า่ นวา่ พี ในภาษากรีก) บางครัง้ เรียกวา่ คา่ คงตวั ของอาร์คมิ ิดีส (Archimedes' Constant) หรือจานวน ของลดู อล์ฟ (Ludolphine number หรือ Ludolph's Constant)• ในเรขาคณิตแบบยคุ ลิด π มีนยิ ามวา่ เป็นอตั ราสว่ นของ เส้นรอบวงหารด้วยเส้นผ่านศนู ย์กลางของวงกลม หรือ เป็นอตั ราสว่ นของพืน้ ท่ีวงกลม หารด้วย รัศมียกกาลงั กาลงั สอง ในคณิตศาสตร์ชนั้ สงู จะนิยาม π โดยใช้ ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ เช่น π คอื จานวนบวก x ท่ีน้อยสดุ ที่ ทาให้ sin (x) = 0
ค่าพายมีค่าเท่าไหร่• π= 3.1415926535897932384626433 8327950288419716939937510...• แม้วา่ คา่ นีม้ ีความละเอียดพอท่ีจะใช้ในงาน วิศวกรรมหรือวิทยาศาสตร์แล้ว ปัจจบุ นั มีการ คานวณคา่ π ได้หลายตาแหนง่ ซง่ึ หาได้ทว่ั ไปจาก อนิ เทอร์เนต็ คอมพวิ เตอร์สว่ นบคุ คลโดยทวั่ ไป สามารถคานวณคา่ π ได้พนั ล้านหลกั ขณะท่ีซูเปอร์ คอมพิวเตอร์คานวณคา่ π ได้เกินล้านล้านหลกั และไม่พบวา่ มีรูปแบบที่ซา้ กนั ของคา่ π ปรากฏอยู่
สญั ลกั ษณ์พาย• สญั ลกั ษณ์พายเร่ิมใช้ครัง้ แรกโดยนกั คณิตศาสตร์ ชาวเยอรมนั Leonhard Euler
วนั ค่าพาย• 14 มี.ค. ฉลองวันพายวนั ที่ 14 มี.ค.ถือเป็นวนั สาคญั สาหรับคนรักคณิตศาสตร์โดยเฉพาะผ้หู ลงใหลในคา่ พาย เพราะวนั ดงั กลา่ วถือเป็น วนั พาย(Pi Day) ทงั้ นีห้ ากนบั วนั เวลาในรูปแบบ เดือน/วนั /ปี แล้ว จะเขียนตวั เลขแทนวนั ดงั กลา่ วได้เป็น 3/14 ซงึ่ ตรงกบั 3 ตวั แรกของคา่ พาย ผ้รู ิเริ่มการฉลองวนั พายคนแรกคอื ลาร์รี ชอว์ (LarryShaw) นกั ฟิสกิ ส์จากพพิ ธิ ภณั ฑ์สารวจซานฟรานซสิ โก (SanFrancisco Exploratorium) สหรัฐฯ ท่ไี ด้ฉลองวนั พายตงั้ แตป่ ี 1988 และในวนั นนั้ มีการเดินขบวนภายในพืน้ ที่วงกลมของพิพิธภณั ฑ์ พร้อมทงั้ ฉลองด้วยการกินขนมพายผลไม้ แม้ทกุวนั นีช้ อว์จะเกษียณการทางานแล้วก็ตาม แตเ่ ขายงั คงติดตามการฉลองวนั พายอยา่ งตอ่ เน่ือง
เนื่องจากทศนิยม 7 ตาแหน่งแรกของพายคือ 3.1415926... ดังนัน้ การฉลองวันพายมักถือฤกษ์เวลา 13:59:26 น. ท่เี รียกว่าวินาทพี าย(pi second) ซง่ึเขียนในรูปam/pm ได้เป็น 1:59:26 pm หากแตพ่ เิ ศษสาหรับปี 2015 ซงึ่ ในปี นนั้ วนั พายจะตรงกบั 3/14/15 (ด/ว/ป) และการฉลองจะเริ่มในวนิ าทีพายท่ีตรงกบั 09:26:53 น. เน่ืองจากทศนิยมของคา่ พาย 9 ตาแหน่งเขียนได้เป็น 3.141592653... อย่างไรก็ดี ยงั มีอกี หลายวนั ที่สามารถร่วมฉลองวนั พายและวนั ประมาณคา่ พายได้ และสาหรับตวั เลขประมาณคา่ พายซงึ่ เป็นที่รู้จกั มากที่สดุ คอื 22/7 จงึ มีวนั ประมาณคา่ พายตรงกบัวนั ที่ 22 ก.ค. ซง่ึ เหมาะกบั ประเทศท่ีมีรูปแบบวนั เวลา ว/ด/ป ซง่ึ ไม่มีวนั ท่ี 31เม.ย.ให้ฉลองในรูป 31/4 ได้ สาหรับการฉลองวนั พายมีอยหู่ ลากหลายวิธี แตท่ ี่นิยมมากคือการฉลองด้วยขนมพายในถาดวงกลม เพ่ือเชื่อมโยงให้เห็นความสมั พนั ธ์ระหวา่ งคา่ พายกบั วงกลม บางคาแนะนาเสนอวา่ ในวนั นนั้ ควรแตง่ กายด้วยเคร่ืองประดบั ทรงกลมและสวมเสือ้ ท่ีมีสญั ลกั ษณ์ของพาย และบางคาแนะนาเสนอให้ทอ่ งคา่ พายในวนัฉลอง
ใครจาค่าพายไดม้ ากที่สุด• ปี 2006 อากิระ ฮารากจู ิ (Akira Haraguchi) วศิ วกรวยั เกษียณชาวญี่ป่ นุ ท่องคา่ พายได้ถงึ 100,000 ตาแหน่ง และมีการบนั ทกึ วิดโี อ การทาลายสถิติดงั กลา่ วไว้ด้วย โดยเขาใช้เวลาใน การท่องจาตวั ทงั้ หมด 16 ชวั่ โมง และยงั เป็นการทอ่ ง ท่ีทาลายสถิติตวั เองที่เคยทาไว้ได้ 83,431 ตาแหน่ง หากแตส่ ถิติที่ทาได้นนั้ ยงั ไมไ่ ด้รับการบนั ทกึ จากกิน เนสส์เวิรลด์เรคอร์ดส (Guinness World Records)• สถิตอิ ยา่ งเป็นทางการของการทอ่ งคา่ พายได้มาก ที่สดุ เป็นของ เซอเรช ชาร์มา(Suresh Sharma)ชาวอินเดยี อยทู่ ่ี70,030หลกั ในปี 2015ใช้เวลา17ชว่ั โมง14นาที
บรรณานุกรม• https://th.wikipedia.org/wiki/%E0 %B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%A 2_(%E0%B8%84%E0%B9%88%E0 %B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%8 7%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0% B8%A7)• http://www.pi-world-ranking- list.com/index.php?page=lists&ca tegory=pi• https://www.dek- d.com/board/view/1937457/• https://en.wikipedia.org/wiki/Pi
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: