Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนเสนอ ประเมินคุณภาพ

แผนเสนอ ประเมินคุณภาพ

Published by peerawat.bok, 2023-08-07 05:04:11

Description: แผนเสนอ ประเมินคุณภาพ

Search

Read the Text Version

โรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเอง 3

คำนำ รายงานการจัดการเรียนรู้ Coding ของนายพีรวัส บอกประโคน ตำแหน่งครู ไม่มีวิทยฐานะ โรงเรียน นิคมสร้างตนเอง 3 สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาบุรีรมั ย์ เขต 2 เสนอผลงานด้านการจัดการเรยี นรู้ Coding เพื่อเข้ารับการคัดเลือกครูผู้มีผลงานดีเด่นด้าน Coding“CODING Achievement Awards” ครั้งที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2566 ประเภทครูผู้สอน โดยเสนอผลการจัดการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้ การจัดการขอ้ มูล และสารสนเทศ เรื่องการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวรใ์ นการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ ในรายวิชาวทิ ยาการคำนวณ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ประเภท Plugged Coding มกี ารดำเนนิ การศึกษาสภาพปัญหา บรบิ ทท้องถ่ิน สถานศึกษา ผู้เรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐาน ตัวชี้วัดระหว่างทาง ปลายทาง และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งมีเป้าหมายพัฒนาผู้เรียนให้ใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณ สามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา อย่างเป็นขัน้ ตอนและเปน็ ระบบ สามารถค้นหาข้อมูลหรือสารสนเทศ ประเมิน จัดการ วิเคราะห์สังเคราะห์และ นำสารสนเทศไปใช้ในการแก้ปัญหา ประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริงและทำงานร่วมกันอย่าง สร้างสรรค์ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารอย่างปลอดภยั รูเ้ ท่าทัน มีความรบั ผิดชอบ มีจริยธรรม โดยผู้จัดทำรายงานฉบับนี้ ได้ดำเนินการรวบรวมข้อมูลในการดำเนินการดังกล่าว เพื่อการเผยแพร่องค์ ความรู้และแสดงผลงานดีเด่นด้าน Coding“CODING Achievement Awards” ครั้งที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2566 ทมี่ กี ารบรู ณาการกับบรบิ ทท้องถ่ินอย่างเหมาะสม และสามารถไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดำเนินชวี ติ ประจำวันได้ ทางผู้จดั ทำรายงานหวงั เป็นอย่างยง่ิ ว่ารายงานฉบับนี้จะเปน็ ประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจเกีย่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ย นายพรี วัส บอกประโคน รายงานการจดั การเรยี นรู้ CODING โรงเรยี นนคิ มสร้างตนเอง 3 ครูผ้สู อน : นายพีรวัส บอกประโคน

1 สำรบญั หนา้ เรอ่ื ง 1 1 คำนำ 3 สารบญั 6 ❖ องคป์ ระกอบท่ี 1 12 ส่วนท่ี 1 การวิเคราะห์จัดการเรยี นรู้ Coding อยา่ งเป็นระบบ 12 13 ความเปน็ มาและความสำคัญของการจัดการเรียนรู้ Coding 18 การวิเคราะหผ์ ู้เรียนเปน็ รายบุคคลเพอื่ จัดการเรียนร้ใู ห้เหมาะสมกบั ผเู้ รียน 22 การวเิ คราะห์ เพื่อออกแบบการจัดการเรียนรู้ Coding 22 สว่ นท่ี 2 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทเี่ ปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี 24 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 29 การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ 29 การวดั และประเมินผล 15 สว่ นท่ี 3 หลกั ฐานการจดั การเรยี นรู้ Coding 15 การประเมินคุณภาพแผนการจดั การเรียนรู้ 17 การออกแบบเครอ่ื งมอื วดั และประเมินผล 18 ส่วนท่ี 4 ผลทเี่ กดิ การจดั การเรียนรู้ Coding 20 ตวั อยา่ งผลงานผเู้ รยี น 22 ผลจากการวดั และประเมินผล 25 - ผลการประเมนิ ด้านความรคู้ วามเข้าใจของผูเ้ รยี น K 28 - ผลการประเมินทักษะกระบวนการของผเู้ รยี น P - ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะของผู้เรียน A 29 - ผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน C ผลการประเมินความพงึ พอใจ สว่ นที่ 5 การเป็นแบบอยา่ งการจัดการเรียนรู้ Coding แบบอย่างทด่ี ี/การเผยแพร่ องค์ความรู้ ❖ องคป์ ระกอบที่ 2 วีดิทัศน์การจดั การเรยี นรู้ Coding ภาคผนวก รายงานการจัดการเรยี นรู้ CODING โรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง 3 ครูผู้สอน : นายพีรวัส บอกประโคน

2 สว่ นท่ี 1 รายงานการดำเนนิ การวเิ คราะห์การจัดการเรยี นรู้ Coding อย่างเปน็ ระบบ เพือ่ คัดเลอื กผลงานดเี ดน่ Coding “CODING Achievement Awards” ครัง้ ท่ี 2 ประจำปกี ารศึกษา 2566 ประเภทครูผู้สอน ประวัติผู้ส่งผลงาน ชื่อ-สกลุ : นายพีรวสั บอกประโคน ครู ค.ศ.1 โรงเรยี นนคิ มสรา้ งตนเอง 3 สังกดั : สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาบรุ รี มั ย์ เขต 2 การจัดการเรยี นรู้ Coding : ประเภท Plugged Coding เร่ือง : การประยกุ ต์ใช้ซอฟตแ์ วรใ์ นการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ รายวชิ าวิทยาการคำนวณ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ▪ ความเป็นมาและความสำคัญของการจดั การเรียนรู้ Coding จากนโยบายเร่งด่วนในการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 การส่งเสริมการเรียนภาษาคอมพิวเตอร์ หรือ Coding ของกระทรวงศึกษาธิการ และความจำเป็นในการพัฒนาทักษะผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถทันต่อ การเปลี่ยนแปลง การสร้างอาชีพตลอดจนทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน การมีสมรรถนะทาง ดิจิทัล (Digital Competence) จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้ประชาชนไทยมีทักษะ และมีความเข้าใจ เพื่อเข้าสู่ การปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรม โดยสมรรถนะทางดจิ ิทัลนี้ จะรวมไปถึงการจดั การข้อมูล การทำงานร่วมกนั การส่อื สารและ แลกเปลี่ยนข้อมูล การสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การมีจริยธรรมและความรับผิดชอบ ตลอดจนทักษะด้าน โค้ดดิ้ง (Coding Literacy) ซึ่งเป็นทักษะที่ทำให้เรามีความเข้าใจเรื่องโค้ดและการเขียนโค้ดซึ่งเป็นภาษา ที่ใช้สื่อสารระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ โค้ดดิ้งยังช่วยให้มนุษย์สื่อสารวิธีการแก้ปัญหาออกมาอย่างมีตรรกะ มโี ครงสรา้ งและเปน็ ระบบ (นิตยสาร สสวท. 47, สิงหาคม2562) โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 เป็นโรงเรียน ขยายโอกาส ขนาดกลาง ในปีการศึกษา 2566 มีจำนวนนักเรียน 236 คน มีการดำเนินการจัดการเรียนรู้ในสาระ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 2 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามนโยบายด้าน Coding ของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดา้ นครุภัณฑ์เครอ่ื งมือ อุปกรณ์แหล่งเรยี นรทู้ ี่เออ้ื ตอ่ การจัดเรียนรู้ทางโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 มีครุภณั ฑค์ อมพวิ เตอร์พกพา จำนวน 10 เครอื่ งสำหรบั ใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน และศนู ย์อนิ เทอร์เนต็ ประจำ โรงเรียน (USO NET) ของ สำนกั งาน กสทช. ที่มบี รกิ ารเครื่องคอมพวิ เตอร์ จำนวน 10 เคร่ือง รายงานการจัดการเรียนรู้ CODING โรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเอง 3 ครูผ้สู อน : นายพีรวสั บอกประโคน

3 จากขอ้ มลู ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พืน้ ฐาน(O-NET) ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2565 ท่ีผ่าน มาพบว่าสถิติผลการทดสอบกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จำแนกตามมาตรฐาน ว 4.2 พบว่าค่าเฉลี่ยผล การทดสอบระดบั โรงเรยี นอยูท่ ี่ 9.38 ต่ำกว่าระดับประเทศท่ีมีค่าเฉล่ยี อยู่ที่ 25.07 ในการดำเนินการจัดการเรียนรู้ Coding สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566 นั้นได้ ดำเนินการศกึ ษาสภาพปัญหาวเิ คราะห์พื้นฐานผู้เรียนที่มีต่อการเรียนรู้ พบว่าผูเ้ รียนมคี วามรู้พื้นฐานด้านการใช้งาน คอมพิวเตอร์ในระดับดี จำนนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 ผู้เรียนที่มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็น ขั้นตอนอยู่ในระดับดี จำนวน 2 คน ร้อยละ 8.00 ผู้เรียนที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อยู่ในระดับดี จำนวน 6 คน รอ้ ยละ 24.00 ความสามารถในการเรียนรู้โค้ดด้งิ อยใู่ นระดับดี จำนวน 10 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 40.00 และความพรอ้ ม ด้านพฤติกรรมความม่งุ มน่ั ในการเรียนรู้อยู่ในระดบั ดี จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 44.00 (อ้างองิ ขอ้ มลู ตารางที่ 1 ตารางหลักฐานการวเิ คราะหผ์ เู้ รยี นเป็นรายบคุ คล ในรายวชิ าวทิ ยาการคำนวณ) เม่อื สอบถามข้อมูลจากผ้เู รียนกอ่ นการดำเนินกิจกรรมการจดั การเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาการคำนวณ พบว่า นักเรียนส่วนใหญไ่ ม่มีเครอ่ื งคอมพิวเตอรส์ ว่ นตัว พน้ื ฐานเศรษฐกจิ ครอบครวั ยากจน บางรายอาศยั อยกู่ ับตายาย การ ดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั ในช่วงวนั หยดุ ต้องไปช่วยครอบครวั ทำงาน ทำการเกษตร รบั จ้างหารายไดเ้ ลีย้ งครอบครวั อีกท้ัง ผลจากการสังเกตผเู้ รยี นในปกี ารศกึ ษาท่ผี ่านมานักเรียนขาดทักษะการสือ่ สาร การวางแผน การลำดับขัน้ ตอน ทักษะ การใช้งานเคร่อื งคอมพิวเตอร์ ซ่งึ เปน็ ส่ือกลางหลักในการดำเนนิ การเรียนรู้ และการประกอบอาชีพในอนาคต อีกท้ัง จากการสอบถามขอ้ มูลการปฏบิ ตั งิ านตามหน่วยงานในพ้ืนทีพ่ บว่าทักษะในการสิเคราะหป์ ระมวลผลข้อมลู และการ ประยุกต์ใชส้ ่อื เทคโนโลยีตา่ ง ๆ ในยุคของ Big Data น้ันสำคญั ตอ่ การดำเนนิ งานในชีวิตประจำวนั เป็นอยา่ งมาก ครูผู้สอนจึงได้วางแผนการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาการคำนวณ วิเคราะห์เนื้อหาบทเรียนต้ัง ประเด็นคำถามในการจัดการเรียนรู้ “ว่าทำอย่างไรนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566 เมื่อจบ การศึกษาไปแล้ว จะมีความรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี สามารถนำความรู้ด้ไปใช้ในการจดั การขอ้ มลู สารสนเทศ เพอื่ ใช้ประโยชน์และต่อยอดในการประกอบอาชพี ได้ ไมต่ กเป็นทาสของเทคโนโลยี มีกระบวนการคิด สร้างสรรค์ผลงานบนเทคโนโลยีได้” จึงได้มีการกำหนดเนื้อหาการจัดการเรียนรู้ Coding เรื่องการประยุกต์ใช้ ซอฟต์แวร์ในการจัดการข้อมูลและสารสนเทศขึ้น เพื่อใช้ในการเรียนรู้กระบวนการประมวลผลข้อมลู การวิเคราะห์ แยกแยะคุณลักษณะที่สำคัญออกจากรายละเอียดปลีกย่อย ในปัญหาหรืองานที่กำลังพิจารณา เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ี จำเป็นและเพียงพอในการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน โดยใช้เครื่องมือประยุกต์ที่มีความสามารถในการเข้าถงึ การ แสดงผลแบบเรยี ลทาม ผเู้ รียนสามารถนำความรูไ้ ปปรับประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน การประกอบอาชีพได้ และการ ดำเนินกจิ กรรมการเรียนร้ใู นเร่อื งดังกล่าว ชว่ ยทำให้เจตคตขิ องนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ทมี่ ตี ่อรายวชิ าวทิ ยาการ คำนวณดีขึ้นและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อไป ดังเอกสารแนบความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการจัดการเรียนรู้ Coding เรื่องการประยุกตใ์ ชซ้ อฟตแ์ วร์ในการจัดการขอ้ มลู และสารสนเทศ รายงานการจดั การเรยี นรู้ CODING โรงเรยี นนิคมสรา้ งตนเอง 3 ครูผู้สอน : นายพีรวสั บอกประโคน

4 ▪ การวิเคราะหผ์ ้เู รยี นเป็นรายบคุ คล ตารางท่ี 1 ตารางผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพื้นฐาน(O-NET) ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 กลุม่ สาระฯวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำแนกตามมาตรฐาน ว 4.2 ตารางท่ี 2 ตารางหลกั ฐานการวิเคราะหผ์ เู้ รยี นเป็นรายบคุ คล ในรายวิชาวทิ ยาการคำนวณ โดย 3 หมายถึง ดี 2 หมายถึง ปานกลาง 1 หมายถึง ปรับปรงุ รายงานการจดั การเรียนรู้ CODING โรงเรยี นนคิ มสรา้ งตนเอง 3 ครูผสู้ อน : นายพีรวสั บอกประโคน

5 ตารางที่ 3 ตารางหลกั ฐานผลการสรปุ การวเิ คราะหผ์ ู้เรียนเป็นรายบคุ คล ในรายวิชาวิทยาการคำนวณ รายงานการจัดการเรยี นรู้ CODING โรงเรยี นนคิ มสร้างตนเอง 3 ครูผู้สอน : นายพีรวัส บอกประโคน

6 สรุปผลการวิเคราะหผ์ ูเ้ รียนเป็นรายบคุ คล รายวิชาวทิ ยาการคำนวณ ช้นั มัยมศึกษาปีท่ี 3 จากข้อมูลทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2565 กลุ่ม สาระฯวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำแนกตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง ว 4.2 มีค่าเฉลี่ยระดับโรงเรียนต่ำกว่า ระดับประเทศมาก อาจเน่อื งมากจากภาวการณ์เรียนรูท้ ีถ่ ดถอย (Learning lost) ซงึ่ เป็นข้อมลู ในการพฒั นาผูเ้ รยี นใน ปีการศึกษา 2566 ผลจากการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ด้านความรู้ความสามาถและประสบการณ์ ความพร้อมด้าน สติปัญญา พฤติกรรม ร่างกายจิตใจ และสังคม ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 25 คนที่มีต่อการเรียนใน รายวชิ าวิทยาการคำนวณ ผลการวิเคราะห์มีคา่ เฉล่ยี เทา่ กบั 2.16 อยู่ในระดับ ดี โดยจำแนกผูเ้ รียนออกเปน็ 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มดี จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อย 48.00 นักเรียนกลุ่มปานกลาง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 24.00 และ นกั เรยี นกลุ่มท่ีต้องปรบั ปรงุ จำนวน 7 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 28.00 เมอ่ื วิเคราะห์ผลเปน็ รายดา้ น พบวา่ นกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 มคี วามรู้ ความสามารถและประสบการณ์ พื้นฐานด้านการใช้งานคอมพิวเตอร์อยู่ในระดับ “ปานกลาง” มีค่าเฉลี่ย ������̅ = 1.61 นักเรียนที่มีความพร้อมด้าน สติปญั ญาอย่ใู นระดับ “ดี” มคี ่าเฉล่ีย ������̅ = 2.04 นักเรยี นท่ีมีความพรอ้ มด้านพฤติกรรมอยใู่ นระดบั “ดี” มีคา่ เฉลีย่ ������̅ = 2.13 ความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจอยู่ในระดับ “ดี” มีค่าเฉลี่ย ������̅ = 2.72 และนักเรียนท่ีมคี วามพร้อมด้าน สงั คมอยู่ในระดับ “ด”ี มคี า่ เฉล่ยี ������̅ = 2.28 จากการสอบถามผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566 พบว่าในปีการศึกษาที่ผ่านมาการเรียนรู้ เกี่ยวกับวิทยาการคำนวณของผู้เรยี นนั้น ต้องอาศัยทักษะกระบวนการคดิ ที่ซับซ้อน และใช้งานเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ในการเรียนรู้ ผู้เรียนมีการลงมือปฏิบัติยังไม่มากพอต่อความเข้าใจ บวกกับการที่ผู้เรียนจะมีความรู้พื้นฐานด้าน คอมพวิ เตอรไ์ ด้นั้น ตอ้ งอาศัยการเรียนรู้ทโ่ี รงเรียนเปน็ หลัก เนือ่ งมาจากสภาพครอบครวั บรบิ ทเศษฐกิจในครัวเรือน ในพื้นที่ ทำให้นักเรียนมองว่ารายเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาการคำนวณเป็นเรื่องที่ยาก และไกลตัวซึ่งคาดว่าจะสง่ ผล กระทบต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชานี้อย่างแน่นอน ครูผู้สอนจึงได้วิเคราะห์เนื้อหาบทเรียนตั้งประเดน็ คำถามในการจัดการเรียนรู้ “ว่าทำอย่างไรนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566 เมื่อจบการศึกษาไป แล้ว จะมีความรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี สามารถนำความรู้ด้ไปใช้ในการจัดการข้อมูล สารสนเทศ เพ่ือใชป้ ระโยชนแ์ ละต่อยอดในการประกอบอาชีพได้ ไม่ตกเปน็ ทาสของเทคโนโลยี มีกระบวนการคิดสร้างสรรค์ ผลงานบนเทคโนโลยีได”้ จงึ ไดม้ ีการกำหนดเนอ้ื หาการจัดการเรยี นรู้ Coding เรื่องการประยุกตใ์ ช้ซอฟต์แวร์ในการ จดั การขอ้ มลู และสารสนเทศขนึ้ เพ่อื ใชใ้ นการเรยี นรู้กระบวนการประมวลผลข้อมูล การวิเคราะหแ์ ยกแยะคุณลกั ษณะ ทีส่ ำคัญออกจากรายละเอียดปลีกย่อย ในปัญหาหรอื งานที่กำลงั พิจารณา เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทจี่ ำเปน็ และเพยี งพอในการ แกป้ ัญหาอย่างเป็นขัน้ ตอน โดยใช้เคร่อื งมือประยุกต์ทมี่ คี วามสามารถในการเข้าถึง การแสดงผลแบบเรยี ลทาม ผ้เู รยี น สามารถนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพได้ และการดำเนินกจิ กรรมการเรียนรู้ใน เรื่องดังกล่าว ช่วยทำให้เจตคติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อรายวิชาวิทยาการคำนวณดีขึ้นและเกิด ประโยชน์สูงสุดต่อไป ดังเอกสารแนบความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการจัดการเรียนรู้ Coding เรื่องการประยุกต์ใช้ ซอฟต์แวร์ในการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ รายงานการจัดการเรยี นรู้ CODING โรงเรยี นนคิ มสร้างตนเอง 3 ครูผู้สอน : นายพีรวัส บอกประโคน

7 ▪ การวเิ คราะห์เนื้อหา หลักสตู ร เพ่อื อกแบบการจดั การเรยี นรู้ ผู้นำเสนอผลงาน ได้นำข้อมูลจากการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติผลการทดสอบระดับชาติ O-NET , การ วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล , การสังเกตสอบถาม มาใช้ประกอบในการออกแบบหน่วยการจัดการเรียนรู้ที่สามารถ ตอบสนองความต้องการผู้เรียน ชมุ ชน สามารถนำความร้ไู ปต่อยอดในการพัฒนาทกั ษะ ความคิด การประกอบอาชีพ ในอนาคตได้ และได้มีการศึกษาโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับบ ปรับปรงุ พ.ศ.2560) วิเคราะหม์ าตรฐาน ตัวชวี้ ัดและกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ สภาพบรบิ ททอ้ งถ่นิ วเิ คราะห์ ผเู้ รียนรายบคุ คล เพือ่ อกแบบโครงสรา้ งหน่วยการจดั การเรยี นรู้ เน้ือหาสาระ เทคนคิ และเคร่อื งมอื ทใี่ ช้ ดงั น้ี สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปัญหาทีพ่ บในชีวติ จริงอยา่ งเป็นขั้นตอนและเป็น ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ รู้เทา่ ทนั และมจี ริยธรรม ตัวชี้วัด ม.3/2 รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นําเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์ โดยใชซ้ อฟตแ์ วรห์ รือบริการบนอนิ เทอรเ์ น็ตทหี่ ลากหลาย (ตัวชว้ี ัดปลายทาง) สาระการเรยี นรู้ : - การรวบรวมขอ้ มูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมแิ ละ ทตุ ยิ ภมู ิประมวลผล สร้างทางเลือก ประเมนิ ผล จะทำให้ไดส้ ารสนเทศเพอื่ ใช้ในการแก้ปญั หา หรอื การตัดสนิ ใจไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ - การประมวลผลเป็นการกระทำกับข้อมูล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่มีความหมายและมีประโยชน์ต่อ การนาํ ไปใช้งาน - การใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สรา้ งทางเลือก ประเมินผลนำเสนอ จะช่วยให้ แก้ปัญหาไดอ้ ย่างรวดเรว็ ถกู ต้อง และแม่นยำ - ตัวอย่างปัญหา เช่น การเลือกโปรโมชันโทรศัพท์ ให้เหมาะกบั พฤติกรรมการใช้งาน สินค้าเกษตร ที่ตอ้ งการและสามารถปลกู ไดใ้ นสภาพดินของทอ้ งถิ่น การจดั ทำคำอธบิ ายรายวิชา ศึกษาขัน้ ตอนการพฒั นาแอปพลิเคชนั Internet of Things (IoT) การรวบรวมขอ้ มูลจากแหล่งข้อมูลปฐม ภูมิและทุติยภูมิประมวลผล สร้างทางเลือก ประเมินผล จะทำให้ได้สารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการ ตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ การประมวลผลเป็นการกระทำกับข้อมูลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ ที่มีความหมายและมี ประโยชน์ตอ่ การนำไปใชง้ าน การใช้ซอฟต์แวร์หรือบรกิ ารบนอินเทอร์เน็ตท่ีหลากหลาย ในการรวบรวม ประมวลผล สรา้ งทางเลอื กประเมนิ ผลนำเสนอ จะช่วยให้แกป้ ญั หาไดอ้ ย่างรวดเร็วถูกต้องและแม่นยำ การประเมินความ น่าเชื่อถือของข้อมูล การสืบค้น หาแหล่งต้นตอของข้อมูล เหตุผลวิบัติ (logical fallacy) ผลกระทบจากข่าวสารที่ ผิดพลาด การรู้เท่าทันสื่อ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี ความ รบั ผิดชอบกฎหมายเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ การใช้ลิขสทิ ธ์ขิ องผูอ้ ่ืนโดยชอบธรรม (fair use) รายงานการจดั การเรยี นรู้ CODING โรงเรยี นนคิ มสรา้ งตนเอง 3 ครูผ้สู อน : นายพีรวัส บอกประโคน

8 การจดั ทำโครงสรา้ งรายวิชาและหน่วยการจัดการเรยี นรู้ วิชาเทคโนโลยี ว 4.2 (วทิ ยาการคำนวณ) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 เวลาเรียน 20 ชัว่ โมง/ปี ที่ หนว่ ยการเรยี นรู/้ เรอื่ ง มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา คะแนน การเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด (ชว่ั โมง) 1 เทคโนโลยสี ารสนเทศ ว 4.2 ม.3/4 - การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั 3 10 - การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งมีความรับผดิ ชอบ - กฎหมายเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ - การใช้ลขิ สทิ ธขิ์ องผู้อ่ืนโดยชอบธรรม (fair use) 2 ความนา่ เชื่อถือของ ว 4.2 ม.3/3 - การประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถอื ของข้อมูล 4 20 ข้อมูล - การสบื คน้ หาแหล่งต้นตอของขอ้ มลู 20 - เหตุผลวิบตั ิ (logical fallacy) 30 20 - ผลกระทบจากขา่ วสารที่ผดิ พลาด 100 - การรเู้ ทา่ ทนั สื่อ การวเิ คราะหถ์ งึ จดุ ประสงค์ของข้อมูล และผู้ให้ข้อมูล ตีความ แยกแยะเนื้อหาสาระของส่ือ เลอื กแนวปฏิบัตไิ ดอ้ ย่างเหมาะสม เมอื่ พบข้อมลู ตา่ ง ๆ 3 การจัดการขอ้ มลู และ ว 4.2 ม.3/2 - การรวบรวมขอ้ มูลจากแหลง่ ข้อมูลปฐมภมู ิและทุติยภูมิ 5 สารสนเทศ ประมวลผล สร้างทางเลอื ก ประเมินผล - การประมวลผลเป็นการกระทำกับข้อมูล เพื่อให้ได้ ผลลัพธท์ ม่ี คี วามหมายและมีประโยชนต์ ่อการนําไปใช้งาน - การใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตท่ี หลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สร้างทางเลือก ประเมินผล นาํ เสนอ 4 เทคโนโลยี IoT ว 4.2 ม.3/1 - การออกแบบโปรแกรม 8 - การพฒั นาแอปพลเิ คชนั เบ้อื งตน้ - Internet of Things (IoT) - ซอฟตแ์ วร์ท่ใี ชใ้ นการพฒั นาแอปพลเิ คชนั - การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยี IoT ทดสอบปลายภาคเรียน รวม 20 ตารางที่ 4 ตารางการจัดทำโครงสร้างรายวิชาและหนว่ ยการจดั การเรียนรู้ โครงสรา้ งหลกั สตู รทเี่ ก่ียวขอ้ งกับโคด้ ดง้ิ 3 สว่ นหลกั 1) วิทยาการคำนวณ (Computer Science) เน้นที่การคิดอย่างเป็นระบบ โดยใช้การเขียนโปรแกรมเป็น เครอ่ื งมือตามแนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) หรือการแตกปญั หาออกเป็นส่วนย่อย 2) เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information and Communications Technology: ICT) การรวบรวม จัดการ และประมวลผลขอ้ มลู เพ่ือทำการตัดสินใจจากพน้ื ฐานของขอ้ มูลทไี่ ด้ 3) ความรู้เท่าทันดิจิทัล (Digital Literacy) การรู้เท่าทันเทคโนโลยีและการสร้างสรรค์ผลงาน โดยอาศัย เทคโนโลยที ่ีเก่ียวข้อง รายงานการจัดการเรยี นรู้ CODING โรงเรยี นนคิ มสรา้ งตนเอง 3 ครูผสู้ อน : นายพีรวสั บอกประโคน

9 ทักษะ 4Cs ท่มี คี วามจำเป็นในการพฒั นาผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21 1) Creativity and Innovation (ทักษะความคดิ สร้างสรรค์) ทกั ษะทางความคิดสร้างสรรค์และการคดิ ค้นสิง่ ใหม่ ซง่ึ ทกั ษะเหลา่ นี้สามารถสร้างได้งา่ ย ๆ ด้วยการหมั่นทำ กิจกรรมที่ช่วยฝึกให้เด็กรู้จักคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ และเปิดโอกาสให้ได้ทดลองทำสิง่ ใหม่ ๆ ฝึกการคิดนอก กรอบ มกี ระบวนการคิดที่พลกิ แพลง และรูจ้ กั ต่อยอดไอเดยี ไปสูส่ ่งิ ใหม่ ๆ จนทำใหเ้ กดิ เป็นรปู ธรรมได้ 2) Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะการคดิ วิเคราะห์) ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ แกไ้ ขปญั หา การฝกึ ตัง้ คำถามปลายเปดิ ฝกึ คดิ ฝึกหาเหตุและผลด้วยตนเองจะทำให้ เกิดทักษะการคิดวเิ คราะห์ รู้จักแยกแยะข้อเทจ็ จริง สมมุติฐาน มีวิจารณญาณในการแกป้ ัญหา ส่งผลให้เป็นคนชา่ ง สังเกต รจู้ กั ตง้ั คำถาม และอธบิ ายเหตุและผลตามสถานการณ์และมมุ มองท่ีหลากหลายได้ รู้จักประยุกต์วิธีแก้ปัญหา มาใช้กบั เรื่องใหม่ ๆ และปรบั ใช้ใหเ้ หมาะกับสถานการณใ์ นชีวิตประจำวนั ได้ 3) Communication (ทกั ษะการส่อื สาร) ทกั ษะการสื่อสารถือเปน็ อีกหนงึ่ ทักษะทีส่ ำคัญ เพราะการสื่อสารอย่างมีประสทิ ธภิ าพจะช่วยสร้างโอกาสท่ีดี ในหลาย ๆ ด้าน การใช้ภาษาและการใชส้ ือ่ เทคโนโลยไี ด้อย่างเหมาะสม เป็นการฝึกให้นักเรียนนน้ั มที ักษะการพดู การ เขยี น และการส่ือภาษาทางกายไดต้ รงตามวัตถุประสงค์ เข้าใจตรงกนั 4) Collaboration (ทกั ษะการทำงานเป็นทีม) ทกั ษะการอยู่ร่วมกับผูอ้ ่นื และสามารทำงานรว่ มงานกับผ้อู ื่นได้ ถือเปน็ อีกหนง่ึ ทกั ษะสำคัญท่ีจะช่วยส่งเสริม และนำพาความสำเร็จ เพราะการที่รู้จักการทำงานเปน็ ทีมนนั้ จะช่วยส่งเสรมิ คุณภาพงานของตนเองได้ดขี ึน้ อีกทงั้ การ ไดร้ บั แรงผลักดันจากสมาชิกกล่มุ ทด่ี ี ก็จะช่วยส่งเสริมและนำพาความสำเร็จมาไดเ้ รว็ ข้นึ รูปแบบหรือเทคนคิ วธิ ีสอน • วิธีการสอนแบบสรา้ งสรรคเ์ ป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีผู้สอนจะเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้สอนบรรยายเนื้อหาต่างๆ อย่างละเอียด มาเป็นผู้อำนวยการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ แปลงจาก Lecturer มาเป็น Facilitator (ดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชน์ : วารสารนวัตกรรมการเรยี นรู้ ) กระบวนการแบบสร้างสรรค์เปน็ ฐาน 1. สรา้ งแรงบนั ดาลใจ กระตุ้นความอยากรู้ Inspiration 2. เปดิ โอกาสให้คน้ หา รวบรวมขอ้ มูล แยกแยะและนำมาสร้างเปน็ ความรู้ Self-study 3. การสอนมักจะทำเม่ือมีคำถาม เปน็ การสอนแบบรายคนหรอื รายกลุ่ม มากกว่าการสอนรวม 4. ให้ผเู้ รยี นไดม้ โี อกาสหาทางแก้ปัญหา ด้วยตนเอง Individual problem solving 5. ใช้เกมส์ให้มสี ว่ นรว่ มในการเรยี นรู้ในหอ้ งเรียน game-based learning 6. แบ่งกล่มุ ทำโครงงาน team project 7. ให้นำเสนอผลงาน ดว้ ยวธิ ีการตา่ งๆ creative presentation 8. ใชก้ ารวดั ผลที่เปน็ การวัดผลด้านต่างๆ ออกมา ตามเป้าหมายทีไ่ ด้ออกแบบไว้ รายงานการจัดการเรยี นรู้ CODING โรงเรยี นนคิ มสร้างตนเอง 3 ครูผูส้ อน : นายพีรวัส บอกประโคน

10 การสรา้ งบรรยากาศการจดั การเรยี นรู้ 1. ครูสอนน้อย เหลือเวลาให้เดก็ คน้ คว้ามากๆ คยุ มากๆ นำเสนอมากๆ ใชเ้ วลาในการสอนน้อยลง 2. ตอบคำถาม ด้วยคำถาม หลีกเลี่ยงการอธิบายอย่างละเอียด แต่จะพยายามให้เด็กค้นหาคำตอบเอง ครจู งึ มกั จะตอบคำถาม ด้วยคำถามเพ่อื ใหเ้ ด็กสนใจตอ่ 3. ครตู ัดสนิ น้อย ครูจะหลกี เล่ยี งการตดั สินแบบเด็ดขาด เช่น ถูกต้อง ผดิ แตจ่ ะใช้วธิ ถี ามว่า แนใ่ จหรอื ทำไม คิดอย่างนัน้ หรอื เพื่อนๆคิดเห็นอย่างไรในเรือ่ งน้ี 4. การสนับสนนุ ใหค้ ิด 5. ใชเ้ รอื่ งท่เี ดก็ สนใจเป็นเน้ือหานำ และการค้นคว้า และเน้อื หาวิชาความร้ตู ามตำราเปน็ ตวั ตาม 6. ช่วงเวลาเรียนควรยาวกวา่ 90 นาที 7. เน้นให้เด็กสนใจพัฒนาการตนเองในด้านต่างๆ จึงไม่จำเป็นต้องวัดผลครั้งเดียว ควรมีการวัดผลและ รายงานผลใหเ้ ดก็ รแู้ ละพัฒนาตนเองในแตล่ ะด้าน 8. ให้ผูเ้ รียน สมคั รใจ ร่วมมอื มากกว่าการบังคับให้รู้ 9. รบั ฟงั และใหก้ ำลังใจ ครูจะเป็นผรู้ ับฟังเรอ่ื งราวท่ีเดก็ คดิ นำเสนอ และเรยี นร้ไู ปพรอ้ มๆกบั เดก็ ครูอาจจะ มีการตติ งิ และแสดงความคิดเห็นในจังหวะทเ่ี หมาะสม และสงิ่ ท่จี ำเป็นมากๆ คอื การใหก้ ำลังใจ • การจดั การเรยี นรู้แบบใช้แนวคดิ เชิงคำนวณ (Computational Thinking) ในการจดั การเรียนรู้ Coding เรอื่ งการออกแบบโปรแกรม ดา้ นเทคโนโลยี IoT ในครงั้ นมี้ ีการนำรูปแบบการ คดิ เชงิ คำนวณมาประยุกต์ใชใ้ นกิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ เพื่อใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหาอย่าง เป็นระบบ โดยแนวคิดเชงิ คำนวณมอี งค์ประกอบสำคญั ดังนี้ 1. แนวคิดการแยกย่อย (Decomposition) คือ การแตกปัญหาใหญ่ออกเป็นปัญหาย่อย เพื่อให้สามารถ เข้าใจปัญหาสาเหตแุ ละกำหนดแนวทางในการแกไ้ ขไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง 2. แนวคดิ การหารปู แบบ (Pattern Recognition) คอื เขา้ ใจรปู แบบของปญั หา เชน่ จดั กลุ่ม แยกประเภท 3. แนวคิดเชงิ นามธรรม (Abstraction) คือ การคิดรวบยอดปญั หาและไม่สนใจสิ่งท่ไี ม่จำเปน็ 4. แนวคิดการออกแบบขั้นตอนวิธี (Algorithm Design) ลำดับขั้นตอนในการแก้ไขปัญหาหรือสร้าง หลกั เกณฑข์ ้ึนมาเพื่อดำเนนิ ตามทีละข้นั ตอนในการแก้ไขปญั หา • วิธีการสอนโดยการลงมอื ปฏิบัติ (Practice) วิธีการสอนโดยการลงมือปฏิบัติ หมายถึง วิธีสอนที่ให้ประสบการณต์ รงกบั ผู้เรียน โดยการให้ลงมือปฏิบัติ จริง เป็นการสอนทมี่ ุง่ ใหเ้ กิดการผสมผสานระหวา่ งทฤษฎแี ละ ภาคปฏบิ ัติ วิธีปฏิบัติ ใหผ้ ู้เรียนได้ลงมือฝกึ ฝนหรือปฏบิ ัติจริง ลักษณะสำคญั การลงมอื ปฏิบตั ิมกั ดำเนินการภายหลงั การสาธิต การทดลองหรอื การบรรยาย เป็นการฝกึ ฝน ความรคู้ วามเขา้ ใจจากทฤษฎที เ่ี รียนมาโดยเน้นการฝกึ ทกั ษะ รายงานการจดั การเรยี นรู้ CODING โรงเรยี นนคิ มสรา้ งตนเอง 3 ครูผสู้ อน : นายพีรวัส บอกประโคน

11 ขน้ั ตอนการสอน 1.ข้ันเตรียม ผ้สู อนกำหนดจุดมุ่งหมายของการฝึกปฏิบัติ รายละเอียดของขนั้ ตอน การทำงาน เตรยี มส่อื ตา่ งๆ เช่น วัสดอุ ปุ กรณ์ เคร่อื งมอื ใบงานหรอื คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงาน 2.ข้ันดำเนินการ ผูส้ อนใหค้ วามรแู้ ละทกั ษะทเี่ ปน็ พนื้ ฐานในการปฏิบตั ิ มอบหมาย งานท่ปี ฏบิ ัตเิ ปน็ กลุ่มหรือ รายบคุ คล กำหนดหวั ข้อการรายงาน หรอื การบนั ทึกผลการปฏิบัติงานของ ผ้เู รยี น 3.ขั้นสรุป ผ้สู อนและผูเ้ รยี น ช่วยกนั สรปุ กจิ กรรมการปฏบิ ตั งิ าน 4.ขนั้ ประเมนิ ผล สงั เกตพฤตกิ รรมของผู้เรยี น เชน่ ความสนใจ ความร่วมมือ ความเปน็ ระเบยี บ การประหยัด การใชแ้ ละการเก็บรักษาเครอื่ งมอื และการตรวจผลงาน เชน่ คุณภาพของงาน ความรเิ ริ่ม ความประณตี สวยงาม การเลือกใชส้ อื่ ในการจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นมัยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566 เน้น กระบวนการลงมือปฏิบัติเป็นหลัก โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบ 2 ระบบ คือ ระบบปฏิบัติการ Windows และ Chrome OS Flex โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จะเน้นทักษะการใช้ งานบนระบบออนไลน์ เน้นการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน การเขา้ ถึงข้อมูล การประมวลผลบนเวบ็ ไซต์และระบบออนไลน์ เพอ่ื เป็นการเสรมิ สร้างทักษะในยุคดิจทิ ลั ให้กับผู้เรียนเปน็ สำคัญ รูปภาพที่ 1 ภาพการบันทึกข้อมูลการดำเนินการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ รปู ภาพที่ 2 ภาพการประยกุ ตใ์ ชง้ านแอปพลิเคชัน Google ในการจดั การเรียนรู้ รายงานการจัดการเรียนรู้ CODING โรงเรยี นนิคมสร้างตนเอง 3 ครูผสู้ อน : นายพีรวัส บอกประโคน

12 รปู ภาพที่ 3 ภาพตวั อย่างขอ้ มูลท่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ ประมวลผล รูปภาพท่ี 4 ภาพเวบ็ ไซต์ สารสนเทศท่ใี ชใ้ นการประมวลผล จากสำนกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ รายงานการจดั การเรยี นรู้ CODING โรงเรยี นนคิ มสร้างตนเอง 3 ครูผ้สู อน : นายพีรวสั บอกประโคน

สว่ นท่ี 2 13 แผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 รหัสวชิ า ว 23104 กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เวลา 2 ชั่วโมง รายวชิ า เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 การจัดการขอ้ มูลและสารสนเทศ ............/............../......... เรอ่ื ง การประยุกตใ์ ชซ้ อฟต์แวรใ์ นการจดั การข้อมูลและสารสนเทศ ครูผูส้ อนนายพีรวัส บอกประโคน สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปัญหาทพ่ี บในชีวิตจรงิ อยา่ งเปน็ ข้ันตอนและเป็น ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมจี รยิ ธรรม ตวั ช้ีวดั ปลายทาง ม.3/2 รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นําเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์โดยใช้ ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เนต็ ทห่ี ลากหลาย 1. สาระสำคัญ การทำข้อมลู ใหเ้ ปน็ สารสนเทศทจี่ ะเป็นประโยชน์ตอ่ การใช้งาน จำเป็นตอ้ งอาศัยเทคโนโลยเี ข้ามาชว่ ยในการ ดำเนินการ เรมิ่ ตง้ั แตก่ ารรวบรวมและตรวจสอบขอ้ มลู การดำเนินการประมวลผลข้อมูลใหก้ ลายเปน็ สารสนเทศ และ การดูแลรักษาสารสนเทศ เพื่อการใช้งาน มีกระบวนการ 3 ขั้นตอน ดังน้ี 1) การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล 2) การประมวลผลขอ้ มูล 3) การดูแลรักษาข้อมลู 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 ด้านความรู้ (K) - อธบิ ายการใชง้ านฟังกช์ นั ในการประมวลผลได้ - จำแนกความแตกต่างระหวา่ งข้อมูลและสารสนเทศได้ 2.2 ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) - ใช้งานโปรแกรมประยกุ ตใ์ นการจัดการสารสนเทศได้ - นำขอ้ มลู ทไี่ ด้จากการประมวลผลมาแสดงผลในลักษณะของกราฟได้ - ประยุกตใ์ ช้การสารสนเทศอืน่ ไดอ้ ยา่ งเหมาสม 2.3 ด้านคณุ ลกั ษณะ (A) - เหน็ คณุ ค่าท่เี กดิ จากการเรยี นรู้ทีม่ ีความสำคญั ต่อทักษะในการประกอบอาชีพ - มีความรับผิดชอบและมีเจตคติทด่ี ตี ่องานท่ไี ด้รับมอบหมาย รายงานการจดั การเรียนรู้ CODING โรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง 3 ครูผ้สู อน : นายพีรวัส บอกประโคน

14 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 การประมวลผล สร้างทางเลือก ประเมินผล จะทำให้ได้สารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการ ตดั สินใจได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 3.2 การประมวลผลข้อมูล เพ่อื ใหไ้ ด้ผลลัพธ์ที่มีความหมายและมปี ระโยชนต์ อ่ การนำไปใชง้ าน 3.3 การใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอนิ เทอร์เน็ตที่หลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สร้างทางเลือก ประเมนิ ผลนำเสนอ จะชว่ ยให้ แกป้ ญั หาไดอ้ ย่างรวดเรว็ ถกู ตอ้ ง และแม่นยำ 4. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 4.1 มวี นิ ัย 4.2 ใฝ่เรยี นรู้ 4.3 มุ่งมนั่ ในการทำงาน 5. รูปแบบการสอน/วิธีการสอน 5.1 วิธีการสอนแบบสรา้ งสรรค์เปน็ ฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 5.2 วิธีการสอนโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณ (Computational Thinking) 5.3 วธิ กี ารสอนโดยการลงมอื ปฏบิ ตั ิ (Practice) สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ทักษะ 4Cs หรอื ทกั ษะการเรียนรแู้ ละนวตั กรรม  ความสามารถในการส่อื สาร  Creativity and Innovation คดิ นอกกรอบและตอ่ ยอดเปน็  ความสามารถในการคดิ  Critical Thinking and Problem Solving ค ิ ด อ ย ่ า ง มี  ความสามารถในการแก้ปญั หา วจิ ารณญาณและแก้ปญั หาเองได้  ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ  Communication สอ่ื สารได้ถกู ต้องเหมาะสม  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี  Collaboration การทำงานร่วมกับผูอ้ ื่น 6. กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ❖ ช่ัวโมงท่ี 1 ➢ ขั้นนำเข้าส่บู ทเรยี น 1) ครผู ู้สอนทบทวนเนื้อหาบทเรยี นทีเ่ กยี่ วเนอื่ งในชว่ั โมงทผี่ า่ นมา เกย่ี วกับเร่อื งของได้มาซ่งึ ขอ้ มูลสารสนเทศ และการประมวลผลขอ้ มลู ดว้ ยแอปพลิเคชัน Google sheet 2) ครูผู้สอนถามผู้เรยี นเพื่อเป็นการกระตุน้ ความสนใจ และเพื่อทบทวนความรู้เดิมของผูเ้ รียน เช่น “เมื่อได้ ขอ้ มูลท่ไี ด้จากการเก็บรวบรวมมาแล้ว นกั เรียนมีวิธีการประมวลผลอย่างไรบ้าง” แนวคำตอบ : ใช้ซอฟตแ์ วรช์ ่วยในการประมวลผล รายงานการจดั การเรยี นรู้ CODING โรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเอง 3 ครูผสู้ อน : นายพีรวัส บอกประโคน

15 ➢ ขัน้ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1) ครูผู้สอนส่งสำเนาไฟล์ข้อมูลจำนวนนกกระจอกเทศ และจำนวนยีราฟในป่าแอฟริกา ที่ใช้สำหรับการ วิเคราะห์ https://shorturl.asia/j6CGx เพื่อใช้สำหรับการสาธิตการประมวลผลข้อมูล โดยแนบลิงก์ไว้ที่ Google chat หอ้ งเรียน ม.3 (อิเมลองคก์ ร @br2.go.th) 2) ครูผู้สอนอธบิ ายความรู้ การประมวลผล (Data Processing) เป็นการประมวลผลทางข้อมูลเปน็ การนำ ข้อมูล ที่เก็บรวบรวมได้มาผ่านกระบวนการต่าง ๆ เพื่อแปรสภาพข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ต้องการ เรียกว่า ขอ้ มลู สนเทศหรือสารสนเทศ (Information) DATA PROCESSING INFORMATION Information คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากข้อมลู ที่ไดร้ วบรวมและนำเข้าสูก่ ระบวนการประมวลผล ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ สามารถนำไปใช้เปน็ แนวทางในการวิเคราะห์ทศิ ทาง หรือการตดั สินใจไดท้ นั ที โดยวิธกี ารประมวลผลจำแนกได้ 3 วิธี - การประมวลผลดว้ ยมอื (Manual Data Processing) - การประมวลผลด้วยเครือ่ งจกั ร (Mechanical Data Processing) - การประมวลผลข้อมลู ดว้ ยเครอ่ื งอิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Data Processing) ขนั้ ตอนการประมวลผลขอ้ มูล หรอื ข้ันตอนให้ได้มาซ่ึงสารสนเทศ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ดงั น้ี - ขน้ั เตรียมขอ้ มูล (Input) - ขน้ั การประมวลผล (Processing) - ขน้ั การแสดงผลลัพธ์ (Output) 3) ครูผู้สอน กำหนดสถานการณ์ที่ต้องการทราบหรือต้องการนำข้อมูลไปใช้ เป็นเงื่อนไขในการดำเนินการ วิเคราะหข์ องผูเ้ รียน ครูกำหนดสถานการณ์คำถาม หรือความตอ้ งการ เช่น “ถา้ ในชวี ิตประจำวนั ต้องพบเจอกับข้อมูล เป็นจำนวนมากและนักเรียนในฐานะผู้รับผิดชอบการนำเสนอข้อมูลนั้นต่อหัวหน้างานหรื อสาธารณะชน จะทำอย่างไรให้ข้อมูลเหล่านั้นสามารถเข้าถึงเกิดการรับรู้ได้ง่าย สามารถนำสารสนเทศเห่ามาใช้ประโยชน์ ในการทำงานได้” แนวคำตอบ : ตอ้ งนำข้อมูลมาวิเคราะหใ์ ห้เกดิ สารสนเทศท่กี ระชบั สรปุ ผลเข้าใจง่าย รายงานการจัดการเรยี นรู้ CODING โรงเรียนนคิ มสร้างตนเอง 3 ครูผู้สอน : นายพีรวัส บอกประโคน

16 4) ครูผู้สอน สาธิตกระบวนการประมวลผลข้อมูลจำนวนนกกระจอกเทศ และจำนวนยีราฟในป่าแอฟริกา ผ้เู รียนลงมือปฏบิ ัติตาม โดยอาศยั ความร้เู ดิมจากพนื้ ฐานการประมวลผลโดยใช้ฟังกช์ นั สตู รพ้นื ฐาน โปรแกรมประยุกต์ Google Sheet ในการดำเนินการ ดังนี้ สูตรท่ี 1 =MIN(ช่วงของขอ้ มูลท่ีต้องการประมวผล) การนำไปใช้ ใช้สำหรับการค้นหาข้อมูลที่มีจำนวนน้อยที่สุดหรือต่ำที่สุดของชุดข้อมลู ทต่ี อ้ งการวิเคราะห์ สูตรท่ี 2 =MAX(ชว่ งของขอ้ มูลท่ตี ้องการประมวผล) การนำไปใช้ ใชส้ ำหรับการค้นหาขอ้ มูลทม่ี จี ำนวนมากท่ีสดุ หรอื สงู ท่สี ดุ ของชุดขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการวิเคราะห์ สตู รที่ 3 =AVERAGE (ช่วงของข้อมูลทตี่ ้องการประมวผล) การนำไปใช้ ใช้สำหรับการค้นหาข้อมูลที่มีจำนวนน้อยท่ีสุดหรือต่ำทีส่ ดุ ของชุดข้อมลู ท่ีตอ้ งการวิเคราะห์ สูตรท่ี 4 =MEDIAN(ชว่ งของข้อมูลที่ต้องการประมวผล) การนำไปใช้ ใช้สำหรับการค้นหาข้อมลู ค่ามธั ยฐานของชดุ ข้อมูลทตี่ อ้ งการวิเคราะห์ สูตรที่ 5 =MODE.MULT(ชว่ งของขอ้ มูลท่ีตอ้ งการประมวผล) การนำไปใช้ ใชส้ ำหรับการค้นหาข้อมูลคา่ ฐานนิยมของชุดข้อมลู ท่ีต้องการวิเคราะห์ สูตรที่ 6 =STDEV(ชว่ งของขอ้ มูลท่ตี อ้ งการประมวผล) การนำไปใช้ ใชส้ ำหรับการค้นหาข้อมูลสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานของชุดข้อมลู การนำสารสนเทศท่ีได้มาแสดงในรปู แบบกราฟแสดงจำนวนสัตยแ์ ต่ละชนดิ ในแตล่ ะปี 5) ครูผู้สอนตรวจสอบการลงปฏิบัติของผู้เรียน สอบถาม ติดตามเพื่อให้ได้ผลลพั ธ์ และองค์ความรู้ในการ ลงมือปฏิบัติในงานที่จะมอบหมายในชั่วโมงต่อไป และเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สอบถามพร้อมทั้งอธิบายผลลัพธ์ ของการแสดงผลผา่ นกราฟทีไ่ ด้ 6) ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปผลการเรยี นประจำชัว่ โมง รายงานการจัดการเรยี นรู้ CODING โรงเรยี นนิคมสร้างตนเอง 3 ครูผู้สอน : นายพีรวสั บอกประโคน

17 ❖ ชวั่ โมงท่ี 2 ➢ ข้นั จัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ต่อ) 7) ครูผู้สอนให้ ผเู้ รียนดาวนโ์ หลดไฟลส์ ารสนเทศ : data ข้อมลู ทรัพยากร รายได้เฉลีย่ ตอ่ เดอื นของครัวเรือน จําแนกตามแหล่งที่มาของรายได้ จากลิงก์ https://shorturl.asia/QhazP ซึ่งเป็นสารสนเทศจากเว็บไซต์ https://data.go.th/dataset/ns_08_20241 สารสนเทศจากสำนักงานสถิติแหง่ ชาติ ได้รวบรวมไว้ 8) ครูให้นักเรียนตรวจสอบสารสนเทศที่ได้รับ ว่าลักษณะข้อมูลเป็นแบบได้ สามารถนำมาประมวลผลได้ อย่างไรบ้าง และข้อมลู ท่ีมีน้ันเพียงพอต่อการประมวลผลการสถานการณ์เง่ือนไขทกี่ ำหนดหรือไม่ ถ้าข้อมูลไมเ่ พยี งพอ สามารถดำเนนิ การไดอ้ ย่างไร แนวทางตอบ : เกบ็ รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม 9) ครูผู้สอนจะสวมบทบาทใหม่ ในฐานะโค้ช (Coach) ที่คอยสังเกตพฤติกรรม พร้อมให้คำแนะนำและ กระตุ้นผ้เู รียนให้เกดิ สมรรถนะตามเป้าหมาย *เปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รียนสอบถาม กรณีมขี อ้ สงสัย โดยมีกระบวนการและการสร้างเง่ือนไขสถานการณ์ เพอ่ื นำความรทู้ ่มี ไี ปประยกุ ต์ใช้ ดงั นี้ 1. จัดเรียงข้อมูลโดยภูมิภาคเดียวกนั อยู่กลุ่มเดยี วกนั 2. เรียงลำดบั ปขี องขอ้ มูลจากปยี ้อนหลังมาปัจจบุ ัน โดยภมู ิภาคในขอ้ ท่ี 1 ยังอยูก่ ล่มุ เดยี วกนั 3. ดึงข้อมูลข้ามชีต เพื่อมาแสดงผล (โดยขั้นตอนนี้ครูผู้สอนเสนอแนะแนวทางทำอย่างไร กรณีมี ขอ้ มูลจากหลายๆ ไฟล์ และตอ้ งการนำมาแสดงผลในชตี เดียวกัน) ครูผสู้ อนสาธิตการดึงข้อมูลขา้ มชตี จากไฟล์ข้อมูล เดยี วกัน โดยขน้ั ตอนน้ผี เู้ รียนปฏิบัตติ าม และครผู สู้ อนต้ังคำถามเกย่ี วกบั การเลอื กข้อมูลมาแสดงผล เช่น “หากตอ่ การ ทราบวา่ รายไดต้ อ่ เดือนของแต่ละภูมภิ าคโดยจำแนกตามปี จะตอ้ งใชข้ อ้ มลู ในเซลล์ใดบา้ ง” ให้ผเู้ รียนไดค้ น้ หาคำตอบ ด้วยตนเอง โดยครผู สู้ อนแนะนำรว่ มด้วย แนวคำตอบ : ตำแหนง่ คอลัมน์ A , C , และ F เป็นต้น รายงานการจัดการเรียนรู้ CODING โรงเรยี นนคิ มสรา้ งตนเอง 3 ครูผ้สู อน : นายพีรวัส บอกประโคน

18 สูตรทใี่ ช้ในการดงึ ข้อมูล =FILTER(ชอื่ ชีต!ชว่ งข้อมลู ท่ีตอ้ งการ,MATCH(ชอื่ ชตี !ชว่ งขอ้ มลู บ่งช้ี,ตำแหนง่ บง่ ช้ี,0)) 4. ผู้เรียนลงมือปฏิบตั ิ (ในขน้ั ตอนนี้ใชว้ ิธีการเพื่อนช่วยเพ่อื นร่วม ดว้ ย กรณีนักเรียนเกง่ กลาง ออ่ น) 5. แสดงผลขอ้ มูลรายได้สูงสดุ และตำ่ สดุ ปี และเขตการปกครอง ตามภมู ิภาคทเี่ ลือกแสดงผล 6. การนำสารสนเทศทไี่ ดจ้ ากการดงึ ข้อมูลขา้ มชีตมาแสดงผลใน รูปแบบกราฟเปรียบเทยี บรายไดแ้ ต่ละปี ตามภูมภิ าคท่ีตอ้ งการ หมายเหตุ : ผ้เู รยี นลงมอื ปฏิบัติดว้ ยตนเองโดยนำความร้ทู ีไ่ ดจ้ าก ชั่งโมงที่ 1 มาประยุกต์ใช้กับสถานการณ์ใหม่ ครูผู้สอนคอยสังเกต พฤติกรรม พร้อมใหค้ ำแนะนำและกระตุน้ ผเู้ รยี นใหเ้ กิดสมรรถนะตามเป้าหมาย ตัวอย่างผลลพั ธท์ ไี่ ดจ้ ากการประมวลผล 7. เมือ่ ผเู้ รยี นประมวลผลขอ้ มูลเรยี บบรรลเุ ง่ือนไขแลว้ ใหด้ ำเนินการแชรข์ ้อมูลไฟล์แบบสาธารณะมา ทแ่ี อปฯ Google Chat ห้องเรยี น ตอ่ ไป ➢ขน้ั สรุปผลการเรยี นรู้ 10) ครูผู้สอนสรุปผลร่วมกับผู้เรียนว่าการประมวลผลข้อมูล เป็นวิธีการจัดการกับข้อมูล ซึ่งอาจะเป็นการ คำนวณหรือการเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ เพื่อให้ข้อมูลนั้นอยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์หรือตรงตามวัตถุประสงค์ ของผู้ใช้งาน โดยการประมวลผลข้อมูลสามารถใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในกระมวลผลข้อมูล เพื่อช่วยลดระยะเวลาในการ ทำงาน โดยสามารถนำขอ้ มลู ที่ซอฟตแ์ วรป์ ระมวล ไปใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ข้อมลู ต่อไปได้ ➢ข้นั ประเมนิ ผลการเรียน 11) ครผู ู้สอนติดตามตรวจสอบผลลพั ธ์การดำเนินงานผา่ นลงิ กบ์ นแอปฯ Google Chat ห้องเรยี น ม.3 บันทกึ การสงั เกตพฤตกิ รรมของผเู้ รยี น บนั ทกึ ผลตามเง่ือนไขสถานการณ์ทีก่ ำหนด และเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนสอบถามเพมิ่ เติม รายงานการจดั การเรยี นรู้ CODING โรงเรยี นนิคมสรา้ งตนเอง 3 ครูผู้สอน : นายพีรวัส บอกประโคน

19 7. ส่อื /แหล่งเรียน 1) ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง ผลลพั ธท์ ี่ไดจ้ ากการประมวลผลสารสนเทศ 2) Google Sheet ไฟล์ข้อมูลจำนวนนกกระจอกเทศ และจำนวนยีราฟในป่าแอฟริกา ที่ใช้สำหรับการ วเิ คราะห์ https://shorturl.asia/j6CGx 3) Google chat ห้องเรยี น ม.3/2566 4) สารสนเทศจากเว็บไซต์ https://data.go.th/dataset/ns_08_20241 สารสนเทศจากสำนักงานสถิติ แห่งชาติ ไฟล์ : data ข้อมลู ทรพั ยากร รายไดเ้ ฉล่ยี ตอ่ เดอื นของครัวเรือน จาํ แนกตามแหล่งที่มาของรายได้ จากลิงก์ https://shorturl.asia/QhazP 5) อปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ จำนวน 16 เครอ่ื ง 8. การวดั และประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ เครื่องมือวัด วธิ ีการวัด เกณฑ์การวัด ด้านความรู้ (K) 1.สังเกตพฤติกรรมการมี ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ส่วนร่วมในชั้นเรยี น - ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่าง 1) อธิบายการใช้งานฟังก์ชันใน 1.แบบสังเกตพฤติกรรมการ (การสมุ่ ถาม การสอื่ สารและ สม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏสิ ัมพันธใ์ นช้นั เรยี น) - ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรม การประมวลผลได้ มสี ว่ นรว่ มในช้ันเรยี น บอ่ ยครง้ั ให้ 2 คะแนน 1. ตรวจใบกิจกรรม - ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรม 2) จำแนกความแตกตา่ งระหว่าง รายบุคคล บางคร้ัง ให้ 1 คะแนน ข้อมลู และสารสนเทศได้ 1. ประเมนิ ตามสภาพจริง - ถูกตอ้ งครบถ้วน ได้ 5 คะแนน ด้านทักษะกระบวนการ (P) - ถกู ตอ้ งบางส่วน ผิด 1-3 จุด 1) ใช้งานโปรแกรมประยุกต์ใน 1.ใบกิจกรรม เรอ่ื ง ผลลพั ธ์ ได้ 4 คะแนน - ถูกตอ้ งบางส่วน ผิด 4-6 จดุ การจัดการสารสนเทศได้ ทไ่ี ด้จากการประมวลผล ได้ 3 คะแนน 2 ) นำข ้ อมู ล ท ี ่ ได ้จากการ สารสนเทศ - ถูกตอ้ งบางส่วน ผดิ 7-10 จุด ประมวลผลมาแสดงผลใน ได้ 2 คะแนน - ถูกตอ้ งบางส่วน ผิด 11-20 จุด ลักษณะของกราฟได้ ได้ 1 คะแนน 3) ประยกุ ต์ใชก้ ารสารสนเทศอ่ืน ได้อย่างเหมาสม 2.Google Sheet 2. ตรวจผลลัพธท์ ีไ่ ด้จาก 2. ประเมินตามสภาพจริง 3.Google chat การประมวลผล - ผลการปฏิบัตถิ กู ตอ้ งครบถ้วน 4.ไฟล์ “ข้อมลู ทรัพยากร สารสนเทศ ทน่ี ักเรียนแชร์ ตามเงอ่ื นไข ได้ 5 คะแนน รายไดเ้ ฉลีย่ ต้อเดอื นของ ข้อมูลผ่าน Google chat - ผลการปฏบิ ตั ิถกู ต้องบางส่วน ครวั เรือน ในประเทศไทย” ได้ 3 คะแนน ออนไลน์ - ผลการปฏิบัติแสดงผลได้ แต่ไม่ ถกู ต้อง ได้ 1 คะแนน รายงานการจดั การเรียนรู้ CODING โรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเอง 3 ครูผู้สอน : นายพีรวัส บอกประโคน

20 จุดประสงค์การเรยี นรู้ เครื่องมือวดั วิธีการวดั เกณฑ์การวัด ดา้ นคุณลักษณะ (A) 1.สังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 1) เห็นคุณค่าที่เกิดจากการ 1.แบบประเมินคณุ ลักษณะ การเรียนการทำงาน - ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยา่ ง เรียนรู้ที่มีความสำคัญต่อทักษะ อันพงึ ประสงคผ์ ูเ้ รยี น รายบุคคล สมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ในการประกอบอาชพี - ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรม 2) มีความรับผิดชอบและมีเจต บอ่ ยครง้ั ให้ 2 คะแนน คตทิ ่ีดีต่องานที่ไดร้ ับมอบหมา - ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรม บางครัง้ ให้ 1 คะแนน สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน ระดับคุณภาพตามเกณฑ์ Rubric 1)ความสามารถในการส่ือสาร 2.ความสามารถในการคดิ 1. แบบประเมินสมรรถนะ 1. การสังเกตพฤติกรรม 4 ระดับ 3)ความสามารถในการแกป้ ัญหา สำคญั ผเู้ รียน 2. การตอบคำถาม 4 ) ค วามส ามาร ถ ใ นการ ใ ช้ - ระดับดีเย่ียม 3 คะแนน เทคโนโลยี - ระดบั ดี 2 คะแนน - ระดับพอใช้/ผา่ นเกณฑ์ 1 คะแนน - ระดับปรับปรงุ 0 คะแนน ตารางที่ 5 ตาราง การวดั และประเมินผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 9. กจิ กรรมเสนอและเพิ่มเตมิ ลงชือ่ ครูผสู้ อน (นายพีรวสั บอกประโคน) ครู (ค.ศ.1) โรงเรยี นนคิ มสร้างตนเอง 3 รายงานการจดั การเรยี นรู้ CODING โรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง 3 ครูผู้สอน : นายพีรวสั บอกประโคน

21 10. บนั ทกึ หลังการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ รายวชิ า เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ รหัสวชิ า ว 23104 หน่วยที่ 3 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ เร่ือง การประยุกต์ใช้ซอฟตแ์ วรใ์ นการจดั การขอ้ มูลและสารสนเทศ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ บนั ทึกผลตามจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ผลทเี่ กิดขึ้น : ผ่านจดุ ประสงค์ จำนวน คน รอ้ ยละ 1) อธิบายการใช้งานฟังกช์ ันในการประมวลผลได้ 2) จำแนกความแตกต่างระหว่างข้อมูลและสารสนเทศได้ ผลทเี่ กิดขน้ึ : ไม่ผ่านจุดประสงค์ จำนวน คน รอ้ ยละ ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) ผลที่เกิดขน้ึ : ผ่านจุดประสงค์ จำนวน คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ 1) ใชง้ านโปรแกรมประยกุ ตใ์ นการจดั การสารสนเทศได้ 2) นำขอ้ มูลท่ไี ด้จากการประมวลผลมาแสดงผลในลักษณะ ของกราฟได้ 3) ประยุกตใ์ ช้การสารสนเทศอืน่ ได้อยา่ งเหมาสม ผลทีเ่ กดิ ขึ้น : ไม่ผ่านจุดประสงค์ จำนวน ดา้ นคุณลกั ษณะ (A) ผลทเ่ี กิดขึ้น : ผ่านจุดประสงค์ จำนวน คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ 1) เห็นคุณคา่ ท่ีเกิดจากการเรยี นรทู้ ม่ี ีความสำคัญต่อทักษะ ในการประกอบอาชพี 2) มีความรับผิดชอบและมีเจตคติที่ดีต่องานที่ได้รับ มอบหมาย ผลที่เกดิ ขน้ึ : ไม่ผ่านจดุ ประสงค์ จำนวน ปญั หาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะ / แนวทางแกป้ ญั หา รายงานการจัดการเรียนรู้ CODING ลงชอ่ื ครผู สู้ อน ครูผสู้ อน : นายพีรวสั บอกประโคน (นายพีรวสั บอกประโคน) ครู (ค.ศ.1) โรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง 3 โรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเอง 3

22 ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของหวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ หวั หน้ากลุ่มงาน ลงชอื่ (นางหทยั รตั น์ ละสระน้อย) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ หัวหน้าบรหิ ารงานวชิ าการ วันท.ี่ ......เดอื น...........................พ.ศ. ......... ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ลงชอ่ื (นางสงวน อรญั เพม่ิ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา ชำนาญการพเิ ศษ ผู้อำนวยการโรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง 3 วันที่.......เดอื น...........................พ.ศ. ......... รายงานการจดั การเรยี นรู้ CODING โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ครูผูส้ อน : นายพีรวสั บอกประโคน

23 สว่ นที่ 3 หลักฐานการจัดการเรยี นรู้ Coding ▪ การประเมนิ คุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้ รูปภาพที่ 5 ภาพแสกนการประเมินคณุ ภาพแผนการจัดการเรียนร้ทู ใ่ี ชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ รายงานการจดั การเรยี นรู้ CODING โรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง 3 ครูผู้สอน : นายพีรวัส บอกประโคน

24 รปู ภาพที่ 6 ภาพแสกนการรบั รองความถกู ต้องดา้ นเนือ้ หาและสอ่ื การจัดการเรยี นรู้ รายงานการจัดการเรยี นรู้ CODING โรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเอง 3 ครูผู้สอน : นายพีรวัส บอกประโคน

25 ▪ การออกแบบเคร่อื งมอื วัดและประเมินผล ใบกิจกรรม เร่ือง ผลลัพธ์ท่ไี ด้จากการประมวลผลสารสนเทศ รายวชิ าวทิ ยาการคำนวณ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 การจดั การข้อมูลและสารสนเทศ เรือ่ ง การประยกุ ตใ์ ชซ้ อฟตแ์ วร์ในการจดั การข้อมลู และสารสนเทศ ครูผสู้ อน นายพีรวสั บอกประโคน ช่อื -นามสกุล เลขที่ คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนเติมขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการประมวลผล ตามเงื่อนไขทก่ี ำหนด ดังน้ี ( สัดสว่ น 5 คะแนน) ภูมภิ าค ทัว่ ราชอาณาจกั ร ภมู ิภาค กรุงเทพมหานคร นนทบรุ ี ปทุมธานี และสมุทรปราการ รายได้ รายได้ รายได้ .......................... รายได้ สงู สุด : .......................... ต่ำสุด : .......................... สงู สุด : ต่ำสดุ : .......................... ปี .......................... ปี .......................... ปี .......................... ปี .......................... เขตการ .......................... เขตการ .......................... เขตการ .......................... เขตการ .......................... ปกครอง .......................... ปกครอง : .......................... ปกครอง : .......................... ปกครอง : .......................... : ภมู ภิ าค กลาง ภมู ภิ าค เหนือ รายได้ รายได้ รายได้ รายได้ สงู สดุ : .......................... ต่ำสดุ : .......................... สูงสดุ : .......................... ต่ำสดุ : .......................... ปี .......................... ปี .......................... ปี .......................... ปี .......................... เขตการ .......................... เขตการ .......................... เขตการ .......................... เขตการ .......................... ปกครอง .......................... ปกครอง : .......................... ปกครอง : .......................... ปกครอง : .......................... : ภูมิภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ภมู ิภาค ใต้ รายได้ รายได้ รายได้ รายได้ สงู สดุ : .......................... ตำ่ สดุ : .......................... สงู สุด : .......................... ต่ำสดุ : .......................... ปี .......................... ปี .......................... ปี .......................... ปี .......................... เขตการ .......................... เขตการ .......................... เขตการ .......................... เขตการ .......................... ปกครอง .......................... ปกครอง : .......................... ปกครอง : .......................... ปกครอง : .......................... : รายงานการจดั การเรียนรู้ CODING โรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง 3 ครูผู้สอน : นายพีรวสั บอกประโคน

26 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ ล รายวิชาวทิ ยาการคำนวณ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 การจัดการข้อมลู และสารสนเทศ เรือ่ ง การประยกุ ตใ์ ช้ซอฟต์แวรใ์ นการจดั การข้อมลู และสารสนเทศ ครูผสู้ อน นายพรี วสั บอกประโคน คำชแี้ จง : ใหค้ รผู สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในชน้ั เรยี น ระหว่างเรยี นรายบคุ คล ตามเกณฑ์การให้คะแนน เลข รายการประเมิน รวม ประจำตัว ท่ี ชอ่ื - สกลุ การแสดง การยอมรบั ความกลา้ ง ความมี การตรงตอ่ คะแนน แปลผล ความคิดเห็น ฟงั ความ แสดงออก นำ้ ใจ เวลา คดิ เห็นผอู้ ่นื 1 2750 ด.ช.อชรายุ ทานรมั ย์ 2 2751 ด.ช.ธนธรณ์ มิตรเจริญ 3 2755 ด.ช.ศุภเชฏฐ์ รัตนะนาม 4 2756 ด.ช.กฤตนัย โสไธสง 5 2758 ด.ช.คมั ภีร์ พสิ สะสรุ ะ 6 2759 ด.ช.ปฐมวฒั น์ ยางเครอื 7 2760 ด.ช.อนพัทย์ แสนสีจันทร์ 8 2832 ด.ช.นริ ุช สดุ เต้ 9 2934 ด.ช.มโนชา โลหะภัย 10 2952 ด.ช.ธนพนธ์ เสนาคม 11 3118 ด.ช.กฤติกูล แก้วไพฑรู ย์ 12 3172 ด.ช.สุรนาท ชมภูผวิ 13 2715 ด.ญ.กฤตยิ าภรณ์ หล่มสูงเนิน 14 2749 ด.ญ.ศิรนิ ภา โพธิแ์ ก้ว 15 2763 ด.ญ.กฤษณพร มติ รเจรญิ 16 2765 ด.ญ.จริ านันท์ โฮนกระโทก 17 2766 ด.ญ.กนกวรรณ วลิ ยั ลักษณ์ 18 2767 ด.ญ.เพยี งใจ เงนิ ประโคน 19 2768 ด.ญ.สุชาดา ยอมประโคน 20 2827 ด.ญ.สุกญั ญา พิสสะสุระ 21 2935 ด.ญ.สุภัสสร โลหะภยั 22 3001 ด.ญ.ทิพย์เกษร โตดประโคน 23 3002 ด.ญ.ทพิ ปภา เพชรเอ่ยี ม 24 3119 ด.ญ.วีระญา ศรีคะฮาด 25 3120 ด.ญ.เพญ็ ศริ ิ ฤทธิก์ ระโทก เกณฑ์การให้คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน 14-15 ดีมาก ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน 11-13 ดี ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ 1 คะแนน 8-10 ตำ่ กว่า 8 พอใช้ ปรบั ปรุง รายงานการจัดการเรยี นรู้ CODING โรงเรียนนคิ มสร้างตนเอง 3 ครูผูส้ อน : นายพีรวัส บอกประโคน

27 แบบบันทกึ ผลการปฏบิ ตั งิ านรายบคุ ล (ชิ้นงานออนไลน์) รายวิชาวิทยาการคำนวณ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 เร่ือง การประยกุ ตใ์ ชซ้ อฟต์แวรใ์ นการจดั การขอ้ มูลและสารสนเทศ ครผู สู้ อน นายพรี วสั บอกประโคน คำช้ีแจง : ใหค้ รผู ู้สอนประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานประมวลผลขอ้ มูลผ่าน Google sheet ของนักเรยี นในช้นั เรยี น ตามเงื่อนไข รายการประเมนิ รวม คะแนน ท่ี เลข ชอ่ื - สกลุ การดึงขอ้ มลู การเรยี งลำดบั ระบคุ า่ มาก ระบคุ า่ ตำ่ สุด แสดงผลใน (25) แปลผล ประจำตัว ขา้ ม Sheet ขอ้ มลู ได้ สดุ ของชดุ ของชุดขอ้ มูล รปู แบบ ได้ครบถว้ น (5) ถกู ต้อง ข้อมลู ได้ กราฟได้ ครบถ้วน ครบถ้วน (5) เหมาะสม (5) (5) (5) 1 2750 ด.ช.อชรายุ ทานรมั ย์ 2 2751 ด.ช.ธนธรณ์ มิตรเจริญ 3 2755 ด.ช.ศุภเชฏฐ์ รัตนะนาม 4 2756 ด.ช.กฤตนัย โสไธสง 5 2758 ด.ช.คัมภรี ์ พสิ สะสรุ ะ 6 2759 ด.ช.ปฐมวัฒน์ ยางเครือ 7 2760 ด.ช.อนพทั ย์ แสนสจี ันทร์ 8 2832 ด.ช.นิรชุ สดุ เต้ 9 2934 ด.ช.มโนชา โลหะภัย 10 2952 ด.ช.ธนพนธ์ เสนาคม 11 3118 ด.ช.กฤติกลู แกว้ ไพฑรู ย์ 12 3172 ด.ช.สรุ นาท ชมภผู วิ 13 2715 ด.ญ.กฤติยาภรณ์ หลม่ สงู เนิน 14 2749 ด.ญ.ศิรนิ ภา โพธ์แิ กว้ 15 2763 ด.ญ.กฤษณพร มิตรเจริญ 16 2765 ด.ญ.จริ านันท์ โฮนกระโทก 17 2766 ด.ญ.กนกวรรณ วิลยั ลักษณ์ 18 2767 ด.ญ.เพียงใจ เงนิ ประโคน 19 2768 ด.ญ.สชุ าดา ยอมประโคน 20 2827 ด.ญ.สุกัญญา พิสสะสรุ ะ 21 2935 ด.ญ.สภุ ัสสร โลหะภัย 22 3001 ด.ญ.ทพิ ย์เกษร โตดประโคน 23 3002 ด.ญ.ทิพปภา เพชรเอ่ยี ม 24 3119 ด.ญ.วีระญา ศรีคะฮาด 25 3120 ด.ญ.เพ็ญศิริ ฤทธ์ิกระโทก เกณฑ์การใหค้ ะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คะแนน ผลการปฏิบัตถิ ูกต้องครบถว้ นตามเงื่อนไข ให้ 5 คะแนน 19-25 ดีมาก 13-18 ดี ผลการปฏิบัติถกู ต้องบางสว่ น ให้ 3 คะแนน 7-12 ต่ำกว่า 7 พอใช้ ผลการปฏบิ ตั แิ สดงผลได้ แตไ่ ม่ถกู ตอ้ ง ให้ 1 คะแนน ปรบั ปรงุ รายงานการจดั การเรยี นรู้ CODING โรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง 3 ครูผู้สอน : นายพีรวสั บอกประโคน

28 แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ผูเ้ รียน รายวชิ าวทิ ยาการคำนวณ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 เรอ่ื ง การประยุกตใ์ ช้ซอฟตแ์ วร์ในการจดั การขอ้ มูลและสารสนเทศ ครูผสู้ อน นายพรี วสั บอกประโคน คำชีแ้ จง : ใหค้ รผู ู้สอนคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ผู้เรยี น ตามทก่ี ำหนดในแผนการจดั การเรยี นรู้ เลข รายการคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ผูเ้ รียน ประจำตวั ท่ี ช่ือ - สกลุ มวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมน่ั ในการ ค่าเฉล่ีย แปลผล ทำงาน (3) (3) (3) 1 2750 ด.ช.อชรายุ ทานรมั ย์ 2 2751 ด.ช.ธนธรณ์ มติ รเจริญ 3 2755 ด.ช.ศุภเชฏฐ์ รัตนะนาม 4 2756 ด.ช.กฤตนัย โสไธสง 5 2758 ด.ช.คัมภรี ์ พิสสะสรุ ะ 6 2759 ด.ช.ปฐมวัฒน์ ยางเครอื 7 2760 ด.ช.อนพทั ย์ แสนสจี ันทร์ 8 2832 ด.ช.นริ ชุ สุดเต้ 9 2934 ด.ช.มโนชา โลหะภัย 10 2952 ด.ช.ธนพนธ์ เสนาคม 11 3118 ด.ช.กฤติกลู แกว้ ไพฑูรย์ 12 3172 ด.ช.สรุ นาท ชมภผู ิว 13 2715 ด.ญ.กฤตยิ าภรณ์ หลม่ สูงเนิน 14 2749 ด.ญ.ศิรินภา โพธแิ์ ก้ว 15 2763 ด.ญ.กฤษณพร มิตรเจรญิ 16 2765 ด.ญ.จริ านันท์ โฮนกระโทก 17 2766 ด.ญ.กนกวรรณ วิลัยลักษณ์ 18 2767 ด.ญ.เพียงใจ เงนิ ประโคน 19 2768 ด.ญ.สุชาดา ยอมประโคน 20 2827 ด.ญ.สุกัญญา พสิ สะสุระ 21 2935 ด.ญ.สุภัสสร โลหะภยั 22 3001 ด.ญ.ทิพย์เกษร โตดประโคน 23 3002 ด.ญ.ทพิ ปภา เพชรเอ่ยี ม 24 3119 ด.ญ.วรี ะญา ศรีคะฮาด 25 3120 ด.ญ.เพ็ญศิริ ฤทธ์กิ ระโทก เกณฑ์การให้คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคะแนน 3 ดีเยี่ยม 2 ดี 1 ผ่าน 0 ไมผ่ า่ น รายงานการจดั การเรยี นรู้ CODING โรงเรยี นนิคมสรา้ งตนเอง 3 ครูผูส้ อน : นายพีรวัส บอกประโคน

29 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 เรอ่ื ง การประยุกตใ์ ชซ้ อฟต์แวรใ์ นการจัดการขอ้ มูลและสารสนเทศ ครผู สู้ อน นายพรี วสั บอกประโคน คำชีแ้ จง : ให้ครผู สู้ อนประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ตามท่ีกำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ ท่ี เลข ชื่อ - สกลุ สมรรถนะท่กี ำหนดในแผนการจดั การเรียนรู้ แปลผล ประจำตวั ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน คา่ เฉลย่ี การสื่อสาร การคิด การแก้ปญั หา การใช้เทคโนโลยี 1 2750 ด.ช.อชรายุ ทานรัมย์ 2 2751 ด.ช.ธนธรณ์ มติ รเจรญิ 3 2755 ด.ช.ศภุ เชฏฐ์ รัตนะนาม 4 2756 ด.ช.กฤตนัย โสไธสง 5 2758 ด.ช.คัมภีร์ พสิ สะสรุ ะ 6 2759 ด.ช.ปฐมวัฒน์ ยางเครือ 7 2760 ด.ช.อนพัทย์ แสนสจี ันทร์ 8 2832 ด.ช.นริ ชุ สุดเต้ 9 2934 ด.ช.มโนชา โลหะภยั 10 2952 ด.ช.ธนพนธ์ เสนาคม 11 3118 ด.ช.กฤติกลู แก้วไพฑูรย์ 12 3172 ด.ช.สุรนาท ชมภูผวิ 13 2715 ด.ญ.กฤตยิ าภรณ์ หล่มสงู เนิน 14 2749 ด.ญ.ศิรนิ ภา โพธิ์แกว้ 15 2763 ด.ญ.กฤษณพร มิตรเจริญ 16 2765 ด.ญ.จิรานันท์ โฮนกระโทก 17 2766 ด.ญ.กนกวรรณ วลิ ยั ลักษณ์ 18 2767 ด.ญ.เพียงใจ เงินประโคน 19 2768 ด.ญ.สุชาดา ยอมประโคน 20 2827 ด.ญ.สุกัญญา พสิ สะสรุ ะ 21 2935 ด.ญ.สุภัสสร โลหะภยั 22 3001 ด.ญ.ทพิ ยเ์ กษร โตดประโคน 23 3002 ด.ญ.ทพิ ปภา เพชรเอี่ยม 24 3119 ด.ญ.วีระญา ศรีคะฮาด 25 3120 ด.ญ.เพญ็ ศริ ิ ฤทธก์ิ ระโทก เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคะแนน 3 ดีเย่ียม 2 ดี 1 ผา่ น 0 ไมผ่ ่าน รายงานการจดั การเรียนรู้ CODING โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ครูผสู้ อน : นายพีรวสั บอกประโคน

30 สว่ นที่ 4 ผลทเ่ี กดิ การจดั การเรียนรู้ Coding ตวั อย่างผลงานนักเรียน ▪ ใบกจิ กรรม ▪ ผลงานกจิ กรรมวิเคราะหข์ อ้ มูล (ออนไลน์) ผลการวดั และประเมนิ ผลผ้เู รียน โรงเรยี นนคิ มสรา้ งตนเอง 3 ▪ ผลการประเมนิ ดา้ นความรู้ความเขา้ ใจ (K) ▪ ผลการประเมนิ ทกั ษะกระบวนการ (P) ▪ ผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) ▪ ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (C) ▪ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจที่มีต่อการจดั การเรียนรู้ รายงานการจัดการเรียนรู้ CODING ครูผู้สอน : นายพีรวัส บอกประโคน

31 เครื่องมือที่ใช้ : แบบประเมินความพงึ พอใจของนกั เรียนตอ่ การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนของครู โรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง 3 สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาบุรีรัมย์ เขต 2 -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ชื่อครูผู้สอน ....................................................................... เร่อื งทสี่ อน................................................................... รายวิชา .......................................................... รหัสวชิ า ........................ชนั้ ............... ปกี ารศกึ ษา ....................... คำชีแ้ จง ให้ทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในชอ่ งที่ตรงกับระดบั ความพงึ พอใจดังน้ี 5 : มากทสี่ ดุ 4 : มาก 3 : ปานกลาง 2 : น้อย 1 : นอ้ ยทสี่ ุด รายการประเมิน ความพงึ พอใจ 54321 1. ครมู กี ารเตรียมการสอน 2. การจดั บรรยากาศห้องเรียนเออ้ื ต่อการเรียนการสอน 3. เน้ือหาที่สอนทนั สมยั นำไปใช้ได้จรงิ 4. ครูแจง้ จุดประสงค์การเรียนรู้ชัดเจน 5. กิจกรรมการเรยี นการสอนสอดคล้องกับจดุ ประสงค์การเรียนการสอน 6. ครสู ง่ เสริมใหน้ ักเรยี นทำงานร่วมกันเปน็ กลมุ่ และรายบุคคล 7. ครูส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นมีความคดิ รเิ ริม่ สรา้ งสรรคแ์ ละรว่ มกันอภปิ ราย 8. กิจกรรมการเรยี นสนกุ และน่าสนใจ 9. ครใู หโ้ อกาสนักเรียนซักถามปญั หา 10. ครูใช้วิธีการสอนและใชส้ ่ืออย่างหลากหลาย เข้าใจงา่ ย 11. ครูยอมรบั ความคดิ เหน็ ของนกั เรยี น 12. ครใู หค้ วามสนใจแกน่ ักเรยี นอย่างท่ัวถึงขณะสอน 13. ครตู ั้งใจสอน ให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ อำนวยความสะดวกแกน่ ักเรียนในการทำ กจิ กรรม 14. ครูมีบุคลกิ ภาพ การแต่งกายและการพดู จาเหมาะสม 15. ครเู ข้าสอนและออกตรงเวลา รวมคะแนน รวมท้ังหมด เกณฑก์ ารแบง่ ช่วงคะแนนค่าเฉลย่ี ได้กำหนดเกณฑป์ ระเมนิ ไว้ดังนี้ ค่าเฉลย่ี 4.51 – 5.00 หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ/ความรคู้ วามเขา้ ใจ ในระดบั มากทสี่ ุด ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ/ความรคู้ วามเข้าใจ ในระดับมาก ค่าเฉลย่ี 2.51 – 3.50 หมายถงึ ระดบั ความพึงพอใจ/ความรคู้ วามเขา้ ใจ ในระดบั ปานกลาง คา่ เฉล่ยี 1.51 – 2.50 หมายถงึ ระดบั ความพึงพอใจระดบั /ความรู้ความเข้าใจ ในระดับน้อย คา่ เฉลีย่ 1.00 – 1.50 หมายถึงระดบั ความพงึ พอใจ/ความรคู้ วามเข้าใจ ในระดบั นอ้ ยทส่ี ดุ รายงานการจัดการเรียนรู้ CODING โรงเรยี นนคิ มสรา้ งตนเอง 3 ครูผูส้ อน : นายพีรวสั บอกประโคน

32 ส่วนที่ 5 แบบอย่างการจดั การเรียนรู้ Coding การจดั การเรยี นรู้ Coding : ประเภท Plugged Coding รายวิชาวิทยาการคำนวณ เรอื่ ง การประยุกตใ์ ชซ้ อฟต์แวรใ์ นการจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ครูผูเ้ สนอผลงาน : นายพีรวัส บอกประโคน ครู โรงเรียนนคิ มสร้างตนเอง 3 ▪ แบบอยา่ งท่ีด/ี การเผยแพร่ ภายใน มกี ารเผยแพร่องค์ความร้ดู า้ นการจัดการเรยี นรู้ Coding ให้กับคณะครูในสถานศึกษา ในชว่ งการจดั กิจกรรม การเรียนการสอนออนไลน์ เม่อื ปกี ารศกึ ษา 2564 มีการ PLC ของคณะกรรมการนิเทศการจดั การเรียนการสอน และ คณะครูในกลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เนื่องจากผู้บริหารสถานศึกษาให้ความสำคัญในด้านการ แก้ปัญหาในชวี ติ ประจำวัน การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีในการจดั การเรียนรูใ้ นผู้เรยี นในสถานศึกษา และการสรา้ งความ ตระหนัก รู้เทา่ ทนั ต่อการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีสง่ ผลใหค้ ณะครสู ามารถนำความรู้ เทคนิควธิ ีการ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับ ภาระงานของตนไปประยกุ ต์ใชใ้ นการบรหิ ารชน้ั เรยี นได้ รูปภาพท่ี 7 กิจกรรมการเผยแพร่/เป็นแบบอย่างท่ีดใี นสถานศึกษา รายงานการจัดการเรียนรู้ CODING โรงเรียนนคิ มสร้างตนเอง 3 ครูผู้สอน : นายพีรวสั บอกประโคน

33 ▪ แบบอย่างทด่ี ี/การเผยแพร่ ภายนอก กิจกรรมการเผยแพร่/นำเสนอผลงานด้านการจัดการเรียนรู้ Coding สำหรับครูผู้สอนในรายวิชาวิทยาการ คำนวณ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ได้รับรางวัลชนะเลิศ อันดบั 1 ดา้ นการจดั การเรยี นรู้ Coding ประเภท Plugged Coding ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1-3 ปกี ารศกึ ษา 2565 รูปภาพที่ 8 กจิ กรรมการเผยแพร/่ เป็นแบบอยา่ งท่ีดีภายนอก ต่อสถานศกึ ษาอืน่ รูปภาพที่ 9 การเผยแพร่การดำเนนิ การจดั กจิ กรรม Coding ครผุ มู้ ผี ลงานดีเดน่ ระดบั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เรอื่ งการออกแบบโปรแกรม ดา้ นเทคโนโลยี IoT ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ประจำปกี ารศึกษา 2565 ณ โรงเรยี นสรีศกึ ษาร้อยเอด็ จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด รูปภาพท่ี 10 การเผยแพร่การดำเนนิ การจดั กจิ กรรม Coding ครผุ ู้มผี ลงานดีเดน่ ระดบั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ณ โรงเรยี นวทิ ยาศาสตรจ์ ฬุ าภรณราชวิทยาลัย บรุ ีรมั ย์ รายงานการจัดการเรยี นรู้ CODING โรงเรยี นนิคมสรา้ งตนเอง 3 ครูผสู้ อน : นายพีรวสั บอกประโคน

34 รูปภาพที่ 10 วิทยากรการเผยแพร่การดำเนนิ การจัดกจิ กรรม Coding ผา่ นระบบ Chrome OS flex ณ โรงเรยี นบา้ นศรีถาวร อำเภอประโคนชัย ของนกั เรียน ตามกิจกรรมการเรยี นรู้ รายงานการจดั การเรียนรู้ CODING โรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง 3 ครูผสู้ อน : นายพีรวสั บอกประโคน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook