เทคนิคสีน้ำ Special Product น.ส.อมลวรรณ จันปัดถา
คำนำ introduction E-bookคือหนังสือwater colortechniques เทคนิค สีน้ำ การใช้สีน้ำที่แต่งเติมไป ด้วยเทคนิคใหม่ใหม่สีสันที่สดใส แต่งประกายให้ชีวิตประจำวันของเรามีความหมายมากขึ้นต่อ ให้ไม่ได้อยู่หน้าจอคอมพิ วเตอร์หรือโทรศั พท์มือถือพวกเราก็ ยังสนุกสนานมีความสุขไปกับสีน้ำได้ หนังสือเล่มนี้จะรวบรวมเทคนิคการวาดภาพสีน้ำแบบ ต่างๆที่เน้นความสร้างสรรค์และการใช้สีน้ำอย่างสนุกสนาน ความพิ เศษของหนังสื อเล่มนี้คือเติมแต่งความใกล้ชิด ระหว่างชีวิตประจำวันกับสีน้ำ ทั้งสนุกทั้งได้ใช้จริง เทคนิคที่ไม่ยุ่งยากมากมายแต่จะแนะนำ วิธีต่างๆในการแก้ปัญหาการวาดภาพที่เรามักพบกันประจำ แน่ใจแล้วคันตอนจะมีคำแนะนำและเคล็ดลับเล็กๆสำหรับมือ ใหม่ที่เริ่มต้นใช้สี น้ำเพื่ อให้หนังสื อเล่มนี้สนุกน่าสนใจมากขึ้น อมลวรรณ จันปัดถา กุมภาพันธ์ 2566
สารบัญ list of contents เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ประวัติความเป็นมาความหมายของสีน้ำ ข หลักการวาดสีน้ำสำหรับผู้เริ่มต้นแบบเข้าใจ ง่ายๆ 1 ระบายแบบเปียกปนเปียก ระบายแบบเปียกปนแห้งย 2 ระบายแบบแห้งปนแห้ง ระบายแบบเคลือบค แบบฝึกหัด 3 เฉลยแบบฝึกหัด อ้างอิง 4 ประวัติผู้แต่ง 5 6 7 8 9 10
1 ประวัติความ เป็นมาความ หมายของสีน้ำ color meaning สีน้ำ เป็น สีที่ใช้กันมาตั้งแต่โบราณ ทั้งในแถบยุโรป และเอเชีย โดยเฉพาะ จีน และญี่ปุ่น ซึ่งมีความสามารถในการระบายสีน้ำ แต่ในอดีตการระบายสี น้ำมักใช้เพียงสีเดียว คือ สีดำผู้ที่จะระบายได้อย่างสวยงามจะต้องมีทักษะ การใช้พู่กันที่สูงมาก การระบายสีน้ำจะใช้น้ำ เป็นส่วนผสม และทำละลาย ให้เจือจาง ในการใช้สีน้ำ ไม่นิยมใช้สีขาวผสมเพื่อให้มีน้ำหนักอ่อนลง และ ไม่นิยมใช้สีดำผสมให้มีน้ำหนักเข้มขึ้น เพราะจะทำให้เกิดน้ำหนักมืดเกินไป แต่จะใช้สีกลางหรือสีตรงข้ามผสมแทน ลักษณะของภาพวาดสีน้ำจะมี ลักษณะใส บาง และ สะอาด การระบายสีน้ำต้องใช้ความชำนาญสูงเพราะ ผิดพลาดแล้วจะแก้ไขยากจะระบายซ้ำๆ ทับกันมากๆ ไม่ได้จะทำให้ภาพ ออกมามีสีขุ่น ๆ ไม่น่าดู หรือที่เรียกว่า สีเน่า
2 หลักการวาดสี น้ำสำหรับผู้เริ่ม ต้นแบบเข้าใจ ง่ายๆ Principles of watercolor painting สีน้ำเป็นสีเราน่าจะคุ้นเคยกันดี ซึ่งสีน้ำจะมี ลักษณะโปร่งใส มีเนื้อสีที่ไม่หนาทึบเกินไป การ ระบายจึงไม่ควรระบายแบบซ้ำไปซ้ำมา เพราะจะ ทำให้เกิดความหม่นบนสีได้ และสีน้ำยังต้อง ทำการผสมกับน้ำสำหรับการะระบาย ซึ่งเมื่อ ระบายแล้วสีที่แห้งบนกระดาษนั้นจะยังมีความชุ่ม ของสีค้างอยู่ และบางครั้งก็อาจจะก่อให้เกิด คราบของสีขึ้นมาได้ ซึ่งการเกิดคราบของสีนี้เรา อาจจะใช้เป็นเทคนิคการวาดรูปให้ออกมาดูเก๋ๆ
3 การระบายแบบ เปียกบนเปียก water color basics 1. ระบายแบบเปียกบนเปียก ใช้สีที่ผสมกับน้ำแล้วมาระบายบนกระดาษเปียก ไม่ว่าจะเป็นเปียกน้ำหรือ เปียกสีก็ตาม จากนั้นนำพู่กันจุ่มสีแบบเข้มข้น มาแตะบนกระดาษเปียก วิธี แบบนี้จะทำให้สีไหลซึมกับสีอื่นๆ ทำให้เกิดเป็นสีใหม่ขึ้นมา ถ้ากระดาษแบบ เปียกชุ่ม จะเหมาะสำหรับระบายภาพท้องฟ้าหรือทะเล ส่วนกระดาษเปียก ปกติ เหมาะกับการระบายรูปทรงต่างๆ ทั่วไป และถ้าใช้กระดาษเปียก หมาดๆ เหมาะสำหรับการระบายเพื่อสื่อถึงพื้นผิวที่ไม่เรียบ
4 การระบายแบบ เปียกบนแห้ง water color basics 2. ระบายแบบเปียกบนแห้ง การใช้สีที่ผสมกับน้ำแล้วมาระบายบนกระดาษแห้งนั่นเอง ซึ่งมีการ ระบาย 3 แบบ ได้แก่ • การระบายเรียบสีเดียว คือ การระบายตามแนวนอนของกระดาษให้ ต่อเนื่องไปตามคราบสีที่ยังเปียกอยู่จนจบ ผลที่ได้ สีจะเรียบและ สม่ำเสมอ • การระบายหลายสี คือ วิธีการก็จะเหมือนกับการระบายเรียบสีเดียว แต่เมื่อระบายสีแรกเสร็จเรียบร้อย ให้ระบายสีที่สองต่อในวิธีเดิม ผลที่ ได้ สีต่างๆ จะมีความกลมกลืนกัน • การระบายเรียบอ่อนแก่ คือ การระบายที่ทำให้เกิดความหนักเบาของ สีนั่นเอง เป็นการไล่สีจากอ่อนไปแก่ หรือจากแก่ไปหาอ่อน ผลที่ได้ ภาพที่ระบายจะมีมิติ มีแสงและเงา
5 การระบายแบบ แห้งบนแห้ง water color basics 3. ระบายแบบแห้งบนแห้ง การใช้สีข้นๆ มาแตะ ขีด หรือระบายบนกระดาษ เพื่อเพิ่ม รายละเอียดความน่าสนใจให้กับภาพวาดมากยิ่งขึ้น
6 การระบาย แบบเคลือบ water color basics 4. ระบายเคลือบ การระบายทับสีที่แห้งสนิทแล้ว ด้วยสีเดิมที่เข้มกว่า ถ้าสีพื้นเข้มรูปต้องสี อ่อน แต่ถ้าสีพื้นอ่อนรูปสีต้องเข้ม ผลที่ได้จะเพิ่มความตื้นลึกของภาพ
7 แบบฝึกหัด list of contents 1.จงอธิบายคุณสมบั ติของนํ้า ตอบ…………………………………………………………………………………………………. 2.เตพอบร……า…ะ…เ…ห……ต…ุใ…ด……จ…ึ…ง…ไ……ม่…ค… … ว…… ร…ร……ะ…บ…า……ย…ส…ี…น…้…ำ…ซ…ํ้…า…ไ. ปซํ้ามา 3.ข้อใ ด คือ คุณสมบัต ิของสีน้ำ ก. ทึบแสง ข. โปร่งแสง โปร่งใส ค. แห้งช้า ง. ระบายทับกันได้หลายสี
8 4.การระบายสีแบบเปียกบนเปียก เหมาะ สำหรับการระบายสีภาพในส่วนใด? ก. ภาพคนและสัตว์ ข. ภาพท้องฟ้าและน้ำ ค. ภาพอาคารบ้านเรือน ง. ภาพต้นไม้และธรรมชาติ 5.ข้อใด คือลักษณะของ เทคนิค เปียกบนเปียก ก.สีแห้ง กระดาษเปียก ข.สีเปียก กระดาษแห้ง ค.สีเปียก กระดาษเปียก ง.สีแห้ง กระดาษแห้ง
9 เฉลยแบบ ฝึกหัด exercise 1.จงอธิบายคุณสมบั ติของนํ้า ❤️ตอบ คุณสมบัติของสีน้ำคือ เป็นสีชนิดแห้งเร็ว สีมีความโปร่งใส เหมือนน้ำ ไม่ทึบแสง และส่วนมากเราจะใช้งานระหว่างที่พู่กันความ เปียกชุ่มของน้ำ เคล็ดลับของการระบายสีน้ำคือ การที่ระบายจาก สี อ่อน ไป สีเข้ม ค่อยๆเติมสีไปเรื่อยๆ จนผลงานเสร็จสมบูรณ์ 2.เพราะเหตุใดจึงไม่ค วรระบายสีน้ำซํ้าไปซํ้ามา ❤️ตอบ เพราะจะทำให้เกิดความห ม่น บนสีได้ ทำให้สีไม่สดใส 3.ข้อใ ด คือ คุณสมบัติ ของสีน้ำ ก. ทึบแสง ❤️ข.โปร่งแสง โปร่งใส ค. แห้งช้า ง. ระบายทับกันได้หลายสี
10 4.การระบายสีแบบเปียกบนเปียก เหมาะ สำหรับการระบายสีภาพในส่วนใด? ก. ภาพคนและสัตว์ ❤️ข. ภาพท้องฟ้าและน้ำ ค. ภาพอาคารบ้านเรือน ง. ภาพต้นไม้และธรรมชาติ 5.ข้อใด คือลักษณะของ เทคนิค เปียกบนเปียก ก.สีแห้ง กระดาษเปียก ข.สีเปียก กระดาษแห้ง ❤️ค.สีเปียก กระดาษเปียก ง.สีแห้ง กระดาษแห้ง
11 บรรณานุกรม bibliography รัชนีกร 3 https://fliphtml5.com/mmdbj/opvd
12 ประวัติผู้เขียน นางสาว อมลวรรณ จันปัดถา ชื่อเล่นชื่อแฟร์รี่ ศึกษาอยู่มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะครุศาสตร์ สาขาทัศนศิลป์ปี.3 รหัสนักศึกษา63100103109 facebook: fairly Ma Gic ������������������
watercolor technique thnk you
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: