13หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ระบบย่อยอาหาร ผลการเรียนรู้ • สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบาย และเปรยี บเทยี บโครงสรา้ งและกระบวนการยอ่ ยอาหารของสตั วท์ ่ีไม่มีทางเดินอาหาร สตั ว์ที่มที างเดินอาหารไม่สมบรู ณ์ และสตั วท์ ี่มีทางเดนิ อาหารสมบูรณ์ได้ • สังเกตและอธบิ ายการกินอาหารของไฮดราและพลานาเรยี ได้ • อธบิ ายเก่ยี วกับโครงสรา้ ง หนา้ ที่ กระบวนการย่อยอาหาร และการดูดซมึ สารอาหารในระบบยอ่ ยอาหารของมนุษย์ได้
การย่อยอาหารของจลุ ินทรีย์ แบคทเี รีย รา ยีสต์ สรา้ งและปล่อยเอนไซม์ออกมา สร้างและปลอ่ ยเอนไซม์ออกมาย่อยสลายอาหาร อาหารของยีสต์ส่วนใหญเ่ ปน็ น้าตาล ยอ่ ยสลายอาหารให้เป็นสารโมเลกุลเลก็ จนไดใ้ ห้เปน็ สารโมเลกลุ เลก็ แล้วดดู ซึมเขา้ สู่เซลล์ โมเลกุลเด่ยี ว ไดแ้ ก่ กลโู คสและฟรกั โทส เรียกการด้ารงชวี ิตแบบนวี า่ สภาวะการยอ่ ยสลายซาก จงึ ตอ้ งมีเอนไซมอ์ นิ เวอรเ์ ทสย่อยนา้ ตาล แล้วดูดซึมเขา้ สู่เซลล์ ซโู ครสให้เปน็ น้าตาลกลโู คส และฟรักโทส ก่อนดูดซมึ เข้าสูเ่ ซลล์
การยอ่ ยอาหารของสิ่งมชี วี ิตเซลลเ์ ดียว อะมบี า การย่อยอาหารภายในเซลล์ ซึง่ อะมบี าจะนา้ อาหารเขา้ ส่เู ซลลด์ ว้ ยวธิ ีฟาโกไซโทซิส อะมบี าย่นื เทา้ เทยี ม กลายเปน็ ฟดู แวคิวโอล เอนไซม์จากไลโซโซม เซลลป์ ล่อยกากอาหารออกนอกเซลล์ ออกไปลอ้ มรอบอาหาร ภายในเซลล์ ยอ่ ยสลายอาหารในฟูดแวคิวโอล ด้วยวิธเี อกโซไซโทซสิ อาหาร
การยอ่ ยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดยี ว 3 พารามเี ซียม การย่อยภายในเซลล์ สารอาหารที่ไดจ้ ากการย่อย ถูกส่งไปทัว่ เซลล์ 1 4 อาหารเข้าสเู่ ซลลโ์ ดยการพดั โบก ของซเิ ลียรอบร่องปาก กากอาหาร ถกู ขบั ออกนอกเซลล์ ร่องปาก ซเิ ลีย 2 อาหารอยใู่ นฟดู แวคิวโอล แลว้ ถูกย่อยสลายโดยเอนไซม์จากไลโซโซม
การยอ่ ยอาหารของสัตวท์ ี่ไม่มีทางเดนิ อาหาร ฟองน้า ออสคูลัม อาหารเข้าสูร่ ่างกายทางออสเทยี อะมีโบไซต์ แฟลเจลลมั โคเอโนไซต์ เซลล์โคเอโนไซตใ์ ชเ้ ฟลเจลลมั พดั โบก อาหารเขา้ สเู่ ซลล์ แล้วสรา้ งเป็นฟูดแวคิวโอล ออสเทยี ฟูดแวคิวโอลถกู ย่อยโดยเอนไซม์จากไลโซโซม อาหารท่ียอ่ ยสมบรู ณส์ ง่ ไปยังส่วนต่างๆ ฟดู แวคิวโอล อาหาร กากอาหารถกู ลา้ เลยี งออกจากเซลล์ ด้วยวิธีเอกโซไซโทซิส
การยอ่ ยอาหารของสตั วท์ ี่มที างเดนิ อาหารไมส่ มบูรณ์ ไฮดรา เทนทาเคิล ไนโดไซต์ เอนไซม์ มเี ขม็ พิษท้าหนา้ ทีด่ กั จับอาหาร อาหาร เซลลย์ อ่ ยอาหาร เขม็ พิษ เซลลย์ อ่ ยอาหาร ใช้แฟลเจลลมั จับอาหารเข้าสูเ่ ซลล์ ฟูดแวควิ โอล สรา้ งเป็นฟูดแวควิ โอล และถกู ย่อย เซลล์ตอ่ ม ด้วยเอนไซมจ์ ากไลโซโซม ไนโดเซต์ เซลลต์ อ่ ม สง่ เอนไซมอ์ อกมาย่อยอาหาร ในช่องแกสโตรวาสควิ ลาร์ แลว้ ดดู ซมึ สารอาหารเขา้ สูเ่ ซลล์
การย่อยอาหารของสตั วท์ ่ีมที างเดนิ อาหารสมบูรณ์ หนอนตัวกลม ปาก คอหอย ล้าไส้เล็ก ไส้ตรง ทวารหนกั ทวารหนัก คอหอย ลา้ ไสเ้ ล็ก ปาก
การย่อยอาหารของสตั วท์ มี่ ที างเดนิ อาหารสมบูรณ์ ไสเ้ ดือนดิน ทวารหนกั หลอดอาหาร คอหอย ปาก ล้าไส้ กน๋ึ กระเพาะอาหาร ปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ก๋ึน ล้าไส้ ทวารหนัก
การยอ่ ยอาหารของสัตวท์ ี่มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ หอย กระเพาะอาหาร ปาก หลอดอาหาร ลา้ ไส้ ทวารหนัก ปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลา้ ไส้ ทวารหนกั
การย่อยอาหารของสตั วท์ ี่มีทางเดนิ อาหารสมบรู ณ์ ปาก กุ้ง ทางเดนิ อาหารตอนหน้า ปาก (หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร) หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ทางเดินอาหารตอนกลาง ลา้ ไส้ ทางเดนิ อาหารตอนปลาย ทวารหนัก (ลา้ ไส้ ทวารหนกั )
การย่อยอาหารของสตั ว์ทม่ี ีทางเดนิ อาหารสมบูรณ์ แมลง หลอดอาหาร กระเพาะพักอาหาร กระเพาะอาหาร ก๋ึน ไสต้ รง ทวารหนัก ปาก ลา้ ไส้ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะพกั อาหาร กน๋ึ ทวารหนัก ไสต้ รง ลา้ ไส้ กระเพาะอาหาร
การยอ่ ยอาหารของสตั ว์ที่มที างเดินอาหารสมบูรณ์ ปลา หลอดอาหาร ปาก ทวารหนกั ทวารหนกั ล้าไส้ กระเพาะอาหาร ปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลา้ ไส้
การยอ่ ยอาหารของสัตวท์ ม่ี ีทางเดินอาหารสมบรู ณ์ ทวารหนัก ล้าไส้ใหญ่ ไก่ ปาก ล้าไส้เลก็ หลอดอาหาร กระเพาะพักอาหาร กระเพาะย่อย ก๋นึ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะพกั อาหาร กระเพาะย่อย ทวารหนกั ล้าไสใ้ หญ่ ล้าไส้เล็ก ก๋นึ
การยอ่ ยอาหารของสตั ว์ทีม่ ที างเดินอาหารสมบรู ณ์ สตั วเ์ คยี วเอือง อะโบมาซัม โอมาซัม มกี ระเพาะอาหาร 4 ส่วน กระเพาะจรงิ ภายในมนี า้ ย่อย หรือกระเพาะสามสบิ กลบี เพอ่ื ใช้ในการย่อยอาหาร ชว่ ยคลกุ เคล้าอาหารให้ผสมกัน เรตคิ ิวลมั รเู มน หรือกระเพาะรงั ผงึ อยู่สว่ นหนา้ สุด หรอื กระเพาะหมัก ภายใน มีขนาดเล็ก ลักษณะกลม ตอนบน มีแบคทีเรียทส่ี ามารถยอ่ ย มสี ว่ นท่ีสามารถหอ่ ตัวได้ เซลลโู ลสได้
การย่อยอาหารของสตั วท์ ี่มที างเดนิ อาหารสมบูรณ์ กระเพาะอาหารส่วนรูเมนมี แบคทเี รยี และโพรโทซัวช่วย เคยี ว กลนื ยอ่ ยเซลลูโลส และสังเคราะห์ กรดอะมโิ นจากยูเรยี และ อาหาร ปาก หลอดอาหาร แอมโมเนียทเี่ กดิ จากการหมกั รวมทังสังเคราะหก์ รดไขมัน เคยี วเออื ง กลืน และวติ ามินบี 12 กระเพาะอาหารส่วนอะโบมาซัม กระเพาะอาหารส่วนโอมาซัม กระเพาะอาหารส่วนเรติคิวลัม ท้าหน้าท่หี ลัง่ เอนไซม์ ท้าหนา้ ทีบ่ ดและผสมอาหาร ท้าหนา้ ทบ่ี ดและผสมอาหาร ออกมาย่อยอาหาร ล้าไส้ใหญ่ ทวารหนัก การยอ่ ยอาหารตามปกติ ล้าไส้เล็ก การเคียวเออื ง ทา้ หน้าทยี่ ่อยและดดู ซมึ อาหาร
การยอ่ ยอาหารของมนุษย์ 1 ปาก เป็นจุดเร่มิ ต้นของทางเดนิ อาหาร เกิดการย่อยเชิงกลและเชิงเคมี 2 คอหอย เป็นส่วนหน่งึ ของทางเดินอาหารและทางเดนิ หายใจ 1 3 หลอดอาหาร ทา้ หนา้ ที่สง่ อาหารไปยังกระเพาะอาหารดว้ ยกระบวนการเพอรสิ ตลั ซสิ 2 4 กระเพาะอาหาร เปน็ บรเิ วณท่ีมกี ารย่อยอาหารประเภทโปรตนี 5 ล้าไส้เลก็ เป็นบรเิ วณทม่ี กี ารยอ่ ยอาหาร ทังประเภทคารโ์ บไฮเดรต โปรตนี และไขมนั 3 6 ล้าไส้ใหญ่ เป็นบริเวณทมี่ กี ารดูดซมึ นา้ วติ ามิน และแร่ธาตุ 7 ตับ ท้าหน้าทส่ี ร้างนา้ ดี ซ่งึ ช่วยให้ไขมันแตกตวั เป็นหยดไขมัน 7 8 ตับออ่ น ทา้ หน้าทสี่ ร้างเอนไซม์ แลว้ สง่ ไปยังลา้ ไสเ้ ลก็ 8 4 56
อวยั วะภายในปากท่มี บี ทบาทในการยอ่ ยอาหาร 1 เพดานออ่ น อยดู่ ้านบนของปากตอ่ จากเพดานแข็ง ท้าหนา้ ทป่ี ้องกันไม่ให้อาหารผา่ นเข้า ในโพรงจมกู และหลอดลม 2 เพดานแข็ง ชว่ ยทา้ ใหอ้ าหารแตกตัวเวลาเคียวอาหาร โดยลินจะดันอาหารไปอดั กบั เพดานแขง็ 3 ฟัน 3 1 5 2 ทา้ หน้าทตี่ ัด ฉกี บด และเคียวอาหารใหม้ ีขนาดเลก็ ลงกอ่ นจะกลืน 4 4 ลิน 5 ท้าหนา้ ทคี่ ลุกเคลา้ อาหาร ช่วยการกลนื และรับรสชาติอาหาร 5 5 ตอ่ มนา้ ลาย มี 3 คอู่ ยบู่ ริเวณใต้ลิน ใตข้ ากรรไกร และข้างกกหู ทา้ หนา้ ทสี่ รา้ งนา้ ลายท่ปี ระกอบดว้ ยนา้ สารเมือก และเอนไซมอ์ ะไมเลส ซึง่ จะยอ่ ยอะไมโลสให้มีโมเลกลุ เล็กลง เช่น เดก็ ซท์ ริน มอลโทส
การกลนื อาหารและการลา้ เลยี งอาหารลงสกู่ ระเพาะอาหาร 1 ขณะเคียวอาหาร ฝาปิดกล่องเสยี งยกตวั สงู อาหาร คอหอย ลนิ กลา้ มเนือหรู ดู บริเวณหลอดอาหารหดตัว ฝาปิดกล่องเสียง 1 กล่องเสยี ง หลอดอาหาร 2 ขณะกลนื อาหาร ฝาปดิ กลอ่ งเสียงเลื่อนลงมาปดิ กลอ่ งเสียง 2 กลา้ มเนือหูรูดบริเวณหลอดอาหารคลายตวั หลอดลม 3 กลา้ มเนอื หลอดอาหารหดและคลายตวั แบบเพอรทิ ัลซสิ 3 เพอ่ื ชว่ ยล้าเลยี งอาหารลงไปยงั กระเพาะอาหาร
กระเพาะอาหาร เซลล์สรา้ งเมอื ก ท้าหน้าท่ีสร้างเมือก เพ่อื ปอ้ งกนั ไมใ่ หน้ ้ายอ่ ยตา่ ง ๆ ยอ่ ยเนือเยือ่ ของกระเพาะอาหาร เซลล์สรา้ งกรดไฮโดรคลอริก ท้าหน้าที่สร้างกรดไฮโดรคลอริก ซึ่งทา้ ให้ใน กระเพาะอาหารมีสภาพเปน็ กรด เซลล์สรา้ งเพปซโิ นเจน ท้าหนา้ ทีส่ ร้างเพปซโิ นเจนซึ่งจะถูกเปลีย่ น เปน็ เอนไซม์เพปซินเพ่ือย่อยสารอาหารจา้ พวกโปรตีน
การย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร ฮอร์โมนแกสตริน กระต้นุ หล่ัง กรดไฮโดรคลอรกิ ผนงั กระเพาะอาหาร เซลล์สร้างเพปซิโนเจน สร้าง เปล่ียน เพปซโิ นจน เพปซิน ยอ่ ย เพปไทด์ หรอื กรดอะมิโน โปรตนี
ลา้ ไส้เลก็ ดูโอดีนัม เป็นส่วนทตี่ อ่ จากกระเพาะอาหาร ผนงั ด้านในของล้าไส้เล็กบุด้วยเซลลบ์ ุผวิ ชนั เดยี ว เปน็ บรเิ วณท่ีมีการยอ่ ยโดยน้าย่อยจากตบั ออ่ นและ ลักษณะคลา้ ยนวิ มือ ซึ่งภายใน จากลา้ ไสเ้ ล็ก มีหลอดเลอื ดฝอยและหลอดน้าเหลืองอยู่ เจจูนัม เป็นส่วนท่มี กี ารดูดซึมอาหารมากทส่ี ุด ไอเลียม สว่ นปลายสุดจะตอ่ กบั ลา้ ไส้ใหญ่ เซลล์บผุ วิ ของวลิ ลัสมสี ่วนท่ยี น่ื ออกมา เรียกว่า ไมโครวลิ ลัส (microvillus) ซึ่งจะช่วยเพ่ิมพืนผวิ ในการดูดซึมอาหาร หลอดเลอื ดอารเ์ ตอรี หลอดน้าเหลือง หลอดเลอื ดเวน
การยอ่ ยและการดดู ซึมอาหารในลา้ ไส้เลก็ แป้ง/ไกลโคเจน/เดกซ์ทรนิ การย่อยคารโ์ บไฮเดรต ตับอ่อน สรา้ ง อะไมเลส ย่อย เซลลบ์ ผุ นงั ล้าไส้เลก็ สร้าง มอลเทส มอลโทส ย่อย กลโู คส หลอดเลือดฝอยในวิลลัส
การยอ่ ยและการดดู ซึมอาหารในลา้ ไส้เลก็ การยอ่ ยโปรตีน ไคโมทริปซโิ นเจน เปลยี่ น ไคโมทรปิ ซิน โพรคาร์บอกซเิ พปทเิ ดส คาร์บอกซเิ พปทเิ ดส สรา้ ง (ยงั ไม่พรอ้ มท้างาน) (พร้อมท้างาน) ตบั อ่อน สรา้ ง ทรปิ ซิโนเจน ทริปซิน ยอ่ ย (ยังไมพ่ รอ้ มท้างาน) (พรอ้ มทา้ งาน) เปลยี่ น เอนเทอโรไคเนส สร้าง เพปไทด์ กรดอะมโิ น เซลล์บผุ วิ ผนังล้าไส้เล็ก หลอดเลอื ดฝอยในวลิ ลัส
การยอ่ ยและการดดู ซึมอาหารในลา้ ไสเ้ ลก็ ไขมนั การยอ่ ยไขมัน แตกตวั ตับ สรา้ ง นา้ ดี เซลลบ์ ผุ วิ ผนังล้าไสเ้ ล็ก สรา้ ง ลเิ พส หยดไขมัน ย่อย กรดไขมันและกลีเซอรอล หลอดนา้ เหลืองในวิลลัส
ลา้ ไสใ้ หญ่ 1 ซีกัม ทา้ หนา้ ที่รบั กากอาหารจากล้าไส้เล็ก 2 ซงึ่ ซกี ัมจะมสี ่วนของไส้ติง่ ย่ืนออกมา 1 2 โคลอน ท้าหน้าทด่ี ูดซมึ น้าและวติ ามนิ บี 12 3 ทส่ี รา้ งจากแบคทีเรยี ในล้าไสใ้ หญ่ ไสต้ ่ิง 3 เรกตมั ลา้ ไสใ้ หญส่ ่วนปลาย ซงึ่ จะตอ่ กบั ทวารหนกั
ความผิดปกตขิ องทางเดนิ อาหารในมนษุ ย์ โรคกระเพาะอาหาร ภาวะทีเ่ กิดแผลบริเวณเย่อื บุกระเพาะอาหาร เนื่องจากมกี รดปรมิ าณมาก นิว่ ในถงุ น้าดี เกดิ จากภาวะไมส่ มดุลของสารประกอบในนา้ ดี โดยเฉพาะคอเลสเตอรอล สารบิลิรูบนิ และเกลอื แคลเซยี มชนิดต่าง ๆ ดซี า่ น อาการตวั เหลือง และตาเหลือง เนื่องจากมีปรมิ าณสารบิลริ บู นิ ในเลอื ดสงู กว่าปกติ โรคกรดไหลยอ้ น ภาวะท่ีมีนา้ ยอ่ ยจากกระเพาะอาหารไหลยอ้ นขึนไปยังหลอดอาหาร
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: