Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มวงรอบที่ 1

เล่มวงรอบที่ 1

Published by mamablueeuro, 2021-08-05 14:42:13

Description: เล่มวงรอบที่ 1

Search

Read the Text Version

แบบบนั ทกึ กจิ กรรมชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community:PLC) ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 กลุ่ม “PLC for Biology3” วงรอบที่ 1 นางหนง่ึ ฤทัย อุเทศ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการ โรงเรยี นชมุ พลโพนพิสยั จังหวัดหนองคาย สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 21

แบบเสนอการสรา้ งชุมชนแห่งการเรียนรู้ PLC โรงเรยี นชมุ พลโพนพิสยั สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามีธยมศกึ ษา เขต 21 ชอ่ื กลุม่ PLC for Biology3 สมาชิก บทบาทหน้าที่ ลายมอื ชอ่ื ผอู้ ำนวยการโรงเรียน ท่ี ช่อื -สกลุ รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี น 1. นายพพิ ัฒน์ ศรสี ุขพันธ์ 2. นางปาริฉตั ร เทยี นทิพย์ ผเู้ ชยี่ วชาญ 3. นางกาญจนา ทองจบ หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ 4. นายธนภณ อนุ่ วิเศษ 5. นางสาวเกศรินทร์ ดแี สน ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางหนง่ึ ฤทยั อเุ ทศ ครผู สู้ อน ปญั หาทเ่ี ลอื ก สาเหตุของปญั หา วธิ กี ารแก้ปญั หา นักเรียนขาดทักษะ - ครใู ช้รูปแบบการจัดการเรยี น ใช้รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนแบบ การคิดและแกป้ ญั หา วิชาชีววทิ ยา การสอนท่ีไม่สง่ เสริมใหน้ ักเรยี น สืบเสาะหาความรู้ (5E) ท่ีสง่ เสริมทกั ษะ เกดิ ทกั ษะการคิดและแกป้ ัญหา การคดิ และแก้ปญั หา มากเท่าที่ควร หรือยังไมม่ ีแนวทาง ทีเ่ หมาะสมในการจัดการเรยี นการ สอน

PLC-01 Professional Learning Community: PLC ชอ่ื กลุม่ “PLC for Biology3” กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เริ่มจดั ตั้งในวนั ที่ 3 เดอื น สิงหาคม พ.ศ.2563 หวั หน้าทมี (Model Teacher) คอื นางหนง่ึ ฤทัย อุเทศ โรงเรยี นชุมพลโพนพิสัย อำเภอโพนพิสยั จงั หวดั หนองคาย สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 21 Administrator Model Teacher Administrator นายพิพัฒน์ ศรสี ขุ พันธ์ นางหนึ่งฤทัย อุเทศ นางปาริฉัตร เทียนทิพย์ Buddy Teacher Mentor Expert น.ส.เกศรินทร์ ดีแสน นายธนภณ อนุ่ วิเศษ นางกาญจนา ทองจบ

PLC-01 วัน/เดือน/ปี ทป่ี ระชมุ 3 สิงหาคม พ.ศ.2563 สถานท่ี ห้องปฏบิ ตั ิการชีววทิ ยา โรงเรยี นชุมพลโพนพิสัย ท่ี ชื่อ-สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมอื ชอ่ื 1 นายพิพฒั น์ ศรสี ุขพันธ์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน Administrator รองผู้อำนวยการ 2 นางปาริฉัตร เทียนทพิ ย์ กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ Administrator 3 นางกาญจนา ทองจบ ผเู้ ช่ียวชาญ Expert 4 นายธนภณ อุ่นวิเศษ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ Mentor 5 นางสาวเกศรินทร์ ดแี สน ครูร่วมเรยี นรู้ Buddy Teacher 6 นางหน่งึ ฤทัย อุเทศ ครผู ูส้ อน/เลขานุการ Model Teacher ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ลงช่ือ ผู้บรหิ าร (นายพิพัฒน์ ศรสี ุขพันธ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนชมุ พลโพนพิสัย

PLC-02 ปฏิทินปฏิบัติงาน ภาคเรียนท่ี 1/2563 ชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ของ Model Teacher และ Buddy Teacher ครง้ั ท่ี ว/ด/ป กจิ กรรม PLC เวลา หลกั ฐาน/ชิน้ งาน (ชว่ั โมง) 1 3 ส.ค. 63 - สรา้ งทมี /กลุ่ม เพื่อดำเนินงาน PLC 2 [ ] ชุดกิจกรรม 2 4 ส.ค. 63 - เลอื กปญั หาการเรยี นรูข้ องนกั เรียน 2 [ ] แผนการจัด การเรียนรู้ วงรอบท่ี 1 3 [ ] ใบกิจกรรม 3 5-6 ส.ค. 63 - ประชมุ เสนอปญั หาและแนวทางแกไ้ ข [ ] ใบความรู้ จดั การออกแบบการสอน (PLAN) [ ] ภาพกิจกรรม - สรุป บนั ทึกผลการวพิ ากษ์การออกแบบการสอน 2 [ ] ส่อื VDO 4 7-9 ส.ค. 63 - เขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ - เตรยี มการสอน 5 10-19 ส.ค. 63 - ดำเนนิ การปฏิบัตกิ ารสอน(เปดิ ชนั้ เรยี น) 2 และสังเกตการสอน (DO) - บนั ทกึ คลปิ วีดีโอการสอน 6 20-21 ส.ค. 63 - ประชุมสะท้อนผลการสังเกตชน้ั เรียน (SEE) 2 - สรปุ บนั ทกึ สงั เกตชัน้ เรยี น - สรุปผล - ปรบั ปรุง - ออกแบบการสอนใหม่ วงรอบ ท่ี 2 7 1-2 ก.ย.63 - ประชมุ เสนอปญั หาและแนวทางแก้ไข 3 จดั การออกแบบการสอน (PLAN) - สรปุ บนั ทึกผลการวิพากษก์ ารออกแบบการสอน 8 3-4 ก.ย.63 - เขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ 2 2 - เตรยี มการสอน 2 9 15-25 ก.ย.63 - ดำเนนิ การปฏบิ ตั ิการสอน(เปดิ ชั้นเรียน) และสงั เกตการสอน (DO) - - บันทกึ คลิปวีดโี อการสอน 10 27 ก.ย.- - ประชมุ สะท้อนผลการสงั เกตช้นั เรยี น (SEE) 2 ต.ค. 63 - สรปุ บนั ทึกสงั เกตช้นั เรยี น - สรปุ ผล - ปรบั ปรงุ - ออกแบบการสอนใหม่

คร้งั ท่ี ว/ด/ป กิจกรรม PLC เวลา หลกั ฐาน/ช้นิ งาน วงรอบ ท่ี 3 (ชว่ั โมง) 11 5-6 ต.ค.63 - ประชุมเสนอปญั หาและแนวทางแก้ไข จัดการออกแบบการสอน (PLAN) 3 12 8-9 ต.ค.63 - สรปุ บนั ทกึ ผลการวพิ ากษก์ ารออกแบบการสอน 13 11-23 ต.ค.63 2 14 26-30 ต.ค.63 - เขยี นแผนการจดั การเรียนรู้ 2 - เตรียมการสอน 2 15 1-3 พ.ย.63 - ดำเนินการปฏิบัตกิ ารสอน (เปดิ ชั้นเรยี น) 16 4-6 พ.ย.63 และสังเกตการสอน (DO) บนั ทึกคลิปวดี โี อการสอน 2 - ประชมุ สะทอ้ นผลการสงั เกตชนั้ เรียน (SEE) 2 - สรุป บันทกึ สังเกตชน้ั เรียน 35 - สรปุ ผล - ปรับปรุง - ออกแบบการสอนใหม่ - สรุปรายงานผลการดำเนินงาน PLC - สร้างนวัตกรรม/ดำเนนิ งาน PLC – Show & Share แลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ว่ มกัน รวมเวลา ลงชื่อ ผรู้ ายงาน ลงชื่อ ผู้บริหาร (นางหน่ึงฤทัย อุเทศ) (นายพิพฒั น์ ศรสี ุขพนั ธ)์ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนชมุ พลโพนพสิ ัย

PLC-03 วงรอบ 1.1 การวิเคราะหง์ านนักเรยี น แบบบันทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นชมุ พลโพนพสิ ัย ชือ่ กลุม่ “PLC for Biology3” วัน/เดือน/ปี : 6 สงิ หาคม 2563 ครั้งที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 เรมิ่ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ สน้ิ เวลา 18.30 น. รวมระยะเวลาท้ังส้ิน 3 ชว่ั โมง กิจกรรมคร้ังนอ้ี ยใู่ นความสอดคล้องกบั การพัฒนาบทเรยี นรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ขั้นท่ี 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ข้นั ที่ 2 ปฏบิ ตั แิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขน้ั ที่ 3 สะทอ้ นความคิดและปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูท่เี ขา้ ร่วมกิจกรรม 6 คน โดยมีรายชอ่ื และบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดังนี้ ท่ี ชอ่ื -สกลุ บทบาทหนา้ ที่ ลายมอื ชือ่ 1. นายพพิ ฒั น์ ศรสี ุขพนั ธ์ ผ้อู ำนวยการโรงเรียน 2. นางปารฉิ ัตร เทยี นทิพย์ รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น 3. นางกาญจนา ทองจบ 4. นายธนภณ อุ่นวิเศษ ผู้เช่ยี วชาญ 5. นางสาวเกศรนิ ทร์ ดีแสน หวั หน้ากล่มุ สาระฯ 6. นางหนงึ่ ฤทยั อุเทศ ครรู ่วมเรียนรู้ ครูผ้สู อน 1. ประเดน็ ปญั หาทจ่ี ะพฒั นา (เน้นคณุ ภาพผูเ้ รียน) พัฒนาทักษะการคดิ และแก้ปญั หาของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 รายวิชาชวี วิทยา โดยใชก้ ิจกรรม การเรยี นรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2. การอภิปรายประเด็น (สาเหตุของปญั หา) 2.1 ขอบเข่ายของปัญหาทพ่ี บ - นักเรยี นขาดทักษะการคิดและแกป้ ัญหา รายวชิ าชีววิทยา ในการสอบระดบั โรงเรยี นในแต่ละคร้งั ทม่ี ี การทดสอบเชน่ การสอบกลางภาคและการสอบปลายภาคเรียน 2.2 หลักฐานประจักษ์พยานของปญั หา - คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชวี วิทยา จาก ปพ.5 และผลการทดสอบ O-net 2.3 วเิ คราะหส์ าเหตขุ องปญั หาจากหลักฐานในข้อที่ 2 - จากผู้สอนไม่มีสอื่ และเทคโนโลยี - จากผู้สอนไม่มกี จิ กรรมท่สี ง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนเกดิ ทกั ษะการคิดและแก้ปญั หามากเท่าท่ีควร หรอื ยังไม่

มแี นวทางทีเ่ หมาะสมในการจัดการเรยี นการสอน - จากตัวนักเรยี น ขาดความสนใจในการเรียน ขาดความกระตือรอื รน้ ในการเรียน 2.4 สรุปสาเหตุและทีม่ าของปญั หา - สาเหตุท่ีสำคัญที่สดุ คือรูปแบบการจดั การเรียนการสอนท่ีไม่สง่ เสรมิ ทักษะการคดิ และแก้ปญั หา 3. ความร/ู้ หลักการท่ีนำมาใช้ 1. การพัฒนาทกั ษะการคดิ และแกป้ ัญหา 2. การจดั การเรียนรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 3. เทคนคิ การใช้คำถาม 4. เกณฑการประเมินทักษะการคดิ และแก้ปญั หา 5. การจัดสภาพแวดลอมและบรรยากาศการเรียนรู้ 4. การอภปิ รายดำเนินการ (แนวทางการแก้ปัญหา) Administrator ครตู อ้ งปรับเปล่ยี นพฤติกรรมการสอน หารปู แบบวิธกี ารท่นี ่าสนใจ กระตุ้นใหเ้ กิด ทกั ษะการคดิ และแกป้ ัญหา การทำงานเปน็ กลุ่ม Model teacher ตอ้ งมีสอ่ื และกิจกรรมในการเรยี นการสอนทนี่ า่ สนใจตามรปู แบบการเรียนรู้แบบสืบ เสาะหาความรู้ (5E) Buddy 1 ผเู้ รยี นก็ต้องมีการปรับเปลยี่ นพฤติกรรมในการเรยี นรู้ และครูผ้สู อนควรใชก้ าร จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ที่ส่งเสรมิ ทกั ษะการคิดและการแก้ปัญหา Mentor ครูเป็นผ้คู อยควบคมุ ดูแลหรือเป็นผู้ชแี้ นะแนวทางที่เหมาะสม Expert กจิ กรรมทจี่ ดั ควรเป็นกจิ กรรมกลมุ่ ทกุ คร้งั เพอื่ ให้เกิดการเรยี นรูแ้ บบร่วมมอื ชว่ ยกันเรยี น 4. สรุปส่ิงท่ไี ดจ้ ากการอภปิ ราย ครจู ะตอ้ งปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรมในการสอนโดยการหารปู แบบท่นี ่าสนใจในการจดั การเรยี นการสอน และนักเรียนตอ้ งปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมในการเรียน โดยนกั เรียนตอ้ งเปน็ ศูนยก์ ลางในการทำกจิ กรรมน้นั ๆ โดยจะต้องเรียนรู้รว่ มกนั สร้างสรรคค์ วามรูจ้ ากส่ือการเรียนที่มอี ยู่รอบตัว ครจู งึ ต้องออกแบบ การจัดการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีให้สอดคล้องกบั การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5E) ท่ี สง่ เสริมทกั ษะการคิดและแกป้ ญั หา 5. การประชมุ ครงั้ ตอ่ ไป - วนั ท่ี 7 สิงหาคม 2563 เวลา 15.30 – 17.30 น. หวั ข้อ เขียนแผนการจดั การเรียนรู้ 6. รอ่ งรอยหลกั ฐานประกอบการ PLC แบบผังก้างปลานำเสนอปญั หาการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน เลกิ ประชมุ เวลา 18.30 น.

แบบผังกา้ งปลานำเสนอปญั ชอื่ นางหน่งึ ฤทัย อุเทศ โรงเรียนชมุ พลโพนพสิ ัย สงั กดั สำนกั งาน วิธีการวัด/ประเมนิ ผล ตัวช้ีคว -ตรวจใบกจิ กรรม นกั เรยี นมีทกั ษ -สังเกตการณ์ปฏิบัติงานกลุ่ม แกป้ ัญหาวชิ าช - นกั เรียน ม.5/1 จำนวน 30 คน การเรยี นรู้แบ วชิ าชีววิทยา (5E) ท่ีส่งเสร กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ แกป้ ัญหา และเทคโนโลยี ตัวแปร/เป กลมุ่ เป้าหมาย นกั เรียน

ญหาการเรียนรขู้ องผ้เู รยี น PLC-03 ศ Model Teacher นเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 21 วามสำเร็จ ปญั หา ษะการคิดและ นกั เรียนขาดทักษะ ชีววิทยา การคดิ และแกป้ ัญหา วชิ าชวี วิทยา บบสบื เสาะหาความรู้ รมิ ทกั ษะการคิดและ ป้าหมายที่จะพฒั นา

ลงช่อื ผบู้ ันทึก ลงชือ่ (นางหน่งึ ฤทัย อุเทศ) (นายธนภณ อนุ่ วเิ ศษ) ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการ หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความคิดเหน็ .................................................................. ความคดิ เหน็ ................................................................. ..................................................................................... ...................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ลงชื่อ ลงชื่อ (นางจิตรามาศ คำดบี ญุ ) (นายวทิ ยา อนิ กง) หัวหนา้ งานกำกบั ติดตาม PLC หัวหน้ากลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ความคิดเห็น.................................................................. ความคดิ เหน็ .................................................................. ...................................................................................... ...................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ลงช่อื ลงชื่อ (นางปารฉิ ัตร เทียนทิพย์) (นายพิพฒั น์ ศรีสุขพนั ธ์) รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นชมุ พลโพนพสิ ัย

ภาพ/รอ่ งรอย/หลกั ฐานประกอบการ PLC ภาพการจัดกจิ กรรม PLC ของกลุ่ม “PLC for Biology3” ขั้นท่ี 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan) โดยดำเนินการในวันที่ 6 สงิ หาคม 2563 2563 เวลา 15.30 – 18.30 น. สถานท่ี หอประชมุ สองนาง

PLC-04 วงรอบ 1.2 ร่องรอยการทำงานรว่ มกบั ทีมและผลการออกแบบบทเรยี น แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนชมุ พลโพนพสิ ยั ชอ่ื กลมุ่ “PLC for Biology3” คร้งั ท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 วนั /เดอื น/ปี : 7 สิงหาคม 2563 เร่มิ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสิ้นเวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้ังสิ้น 2 ช่ัวโมง กิจกรรมคร้ังนีอ้ ยูค่ วามสอดคลอ้ งกบั การพฒั นาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเคร่ืองหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ขน้ั ที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan)  ข้นั ที่ 2 ปฏบิ ัติและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ขั้นที่ 3 สะท้อนความคิดและปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครูทเ่ี ข้ารว่ มกิจกรรม 6 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทต่อกิจกรรม ดงั นี้ ท่ี ชอื่ -สกลุ บทบาทหน้าที่ ลายมือชอื่ 1. นายพิพฒั น์ ศรสี ุขพนั ธ์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น 2. นางปารฉิ ตั ร เทยี นทพิ ย์ รองผู้อำนวยการโรงเรยี น 3. นางกาญจนา ทองจบ 4. นายธนภณ อุ่นวเิ ศษ ผูเ้ ชี่ยวชาญ 5. นางสาวเกศรินทร์ ดแี สน หัวหนา้ กล่มุ สาระฯ 6. นางหนง่ึ ฤทยั อเุ ทศ ครูร่วมเรยี นรู้ ครผู ูส้ อน 1. ประเดน็ ปัญหาทจี่ ะพัฒนา (เนน้ คณุ ภาพผเู้ รยี น) พัฒนาทักษะการคดิ และแก้ปัญหาของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 รายวิชาชวี วทิ ยา โดยใชก้ ิจกรรม การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2. สาเหตขุ องปัญหา กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียนเกิดทักษะการคิดและแกป้ ญั หามากเท่าทีค่ วร หรือยังไม่มี แนวทางทเี่ หมาะสมในการจดั การเรยี นการสอน 3. ความร้/ู หลักการที่นำมาใช้ 1. การพฒั นาทักษะการคิดและแกป้ ญั หา 2. การจดั การเรียนรแู้ บบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 3. เทคนคิ การใชค้ ำถาม

4. เกณฑการประเมินทกั ษะการคิดและแกป้ ัญหา 5. การจัดสภาพแวดลอมและบรรยากาศการเรียนรู้ 4. แนวทางการแก้ปัญหา ครตู ้องปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมการสอน หารูปแบบวิธีการทีน่ า่ สนใจ กระตุ้นให้เกิด ทกั ษะการคิดและแกป้ ญั หา การทำงานเปน็ กลมุ่ โดยใช้จัดการเรียนรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) ท่ีส่งเสรมิ ทกั ษะการคิดและการแกป้ ญั หา 5. การออกแบบกจิ กรรม/เคร่อื งมอื /วธิ กี ารเพอื่ แกป้ ญั หา ออกแบบกจิ กรรมการจดั การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5E) ทสี่ ง่ เสริมทักษะการคดิ และการ แก้ปญั หา 6. กจิ กรรมทีท่ ำ เขียนแผนการจัดการเรียนรแู้ บบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ท่ีส่งเสริมทักษะการคิดและการแกป้ ัญหา และวพิ ากษ์ออกแบบการสอน 7. ผลที่ได้จากกิจกรรม ไดแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) ท่สี ง่ เสริมทกั ษะการคิดและการแก้ปัญหา และ ข้อวิพากษอ์ อกแบบการสอนเพอ่ื พัฒนาการจดั กิจกรรมการเรียนรใู้ ห้เหมาะสม 8. การนำผลทไ่ี ดไ้ ปใช้ นำขอ้ วิพากษ์ออกแบบการสอนไปพัฒนาการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูใ้ หเ้ หมาะสม 9. ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ - 10. การประชมุ ครงั้ ต่อไป - วนั ท่ี 11 สงิ หาคม 2563 เวลา 10.00-12.00 น. หวั ขอ้ ดำเนินการสอน (เปิดชน้ั เรียน) สงั เกตการ สอน 11. ร่องรอยหลกั ฐานประกอบการ PLC แผนการจัดการเรียนรู้ ภาพกิจกรรม ใบความรู้ สื่อวีดิโอ ใบกจิ กรรม เลกิ ประชมุ เวลา 17.30 น.

ลงช่อื ผู้บันทกึ ลงชื่อ (นางหน่ึงฤทัย อเุ ทศ) (นายธนภณ อุ่นวิเศษ) ตำแหน่งครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ หัวหนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ความคดิ เห็น.................................................................. ความคิดเห็น................................................................. ..................................................................................... ...................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ลงชอื่ ลงชือ่ (นางจิตรามาศ คำดบี ญุ ) (นายวทิ ยา อนิ กง) หัวหนา้ งานกำกบั ติดตาม PLC หัวหน้ากล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ความคิดเหน็ .................................................................. ความคิดเห็น.................................................................. ...................................................................................... ...................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ลงช่ือ ลงชือ่ (นางปารฉิ ัตร เทยี นทิพย์) (นายพพิ ัฒน์ ศรีสขุ พันธ)์ รองผู้อำนวยการโรงเรียน กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นชมุ พลโพนพิสัย

ภาพการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม PLC ภาพการจดั กจิ กรรม PLC ของกลุม่ “PLC for Biology3” ขั้นที่ 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan) โดยดำเนินการในวันที่ 7-9 สิงหาคม 2563 เวลา 15.30 – 17.30 น. สถานที่ หอประชมุ สองนาง

แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบหนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรอ่ื ง การเลือกโครงสร้างของพชื เพ่อื นำมาเป็นชน้ิ ส่วนเรมิ่ ตน้ ในการเพาะเลีย้ งเนอื้ เย่ือ รายวชิ า ชวี วิทยา ผ้สู อน นางหนึ่งฤทัย อุเทศ คำช้ีแจง โปรดเขียนเครือ่ งหมาย ลงในช่องทต่ี รงกบั ระดบั การประเมนิ ระดบั การประเมิน 5 หมายถงึ มีความสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมมากทสี่ ุด 4 หมายถึง มีความสอดคลอ้ ง/เช่อื มโยง/ครอบคลุม/เหมาะสมมาก 3 หมายถงึ มีความสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมมากปานกลาง 2 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมน้อย 1 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมนอ้ ยท่ีสุด รายการประเมิน ระดบั การประเมิน 5 4 321 1. แผนการจัดการเรียนรสู้ อดคล้องสัมพนั ธก์ บั หนว่ ยการเรียนร้ทู กี่ ำหนดไว้  2. แผนการจดั การเรียนรมู้ ีองคป์ ระกอบสำคัญครบถว้ น  3. ความสอดคลอ้ งของสาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดกบั มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั หรอื  ผลการเรียนรู้ 4. ตัวชีว้ ัดหรอื ผลการเรยี นร้คู รอบคลมุ สาระการเรียนรู้ พฒั นาผูเ้ รยี นเกดิ K P A  5. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรพู้ ฒั นานกั เรยี นครอบคลุมดา้ น K P A  6. สาระการเรยี นรู้ เหมาะสมกบั เวลาและตัวชวี้ ดั หรือผลการเรียนรู้  7. กิจกรรมการเรียนรแู้ บ่งเปน็ ขนั้ ตอนตามความเหมาะสม  8. กิจกรรมการเรียนรู้เหมาะสมกบั สาระการเรยี นรแู้ ละระดับช้ันนักเรยี น  9. กิจกรรมการเรยี นร้มู คี วามหลากหลายและสามารถปฏิบตั ิไดจ้ ริง  10. กิจกรรมการเรียนรสู้ ามารถพัฒนาครอบคลมุ ด้านองคค์ วามรู้ กระบวนการและเจตคติ  11. กจิ กรรมการเรยี นรู้เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมกระบวนการคดิ ของนกั เรียน  12. กิจกรรมการเรียนรู้สอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์หรือมี  คุณลักษณะตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 13. กิจกรรมเนน้ ให้นักเรียนปฏิบตั ิจรงิ /เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ/ Active Learning  14. แผนการจัดการเรียนรู้กำหนดวัสดุอุปกรณ์ ส่ือและแหลง่ เรยี นรูท้ ่หี ลากหลาย  เหมาะสม 15. แผนการจัดการเรียนรู้ สอดคลอ้ งกบั สาระการเรยี นร้แู ละกิจกรรมการเรยี นรู้  16. นกั เรียนใช้สอ่ื และแหลง่ เรียนรดู้ ้วยตนเอง  17. แผนการจัดการเรยี นรูก้ ำหนดชน้ิ งาน/ภาระงานอยา่ งเหมาะสม  18. การทำชนิ้ งานไดใ้ ชค้ วามรู้ ความคิดมากกว่าการทำตามท่คี รูกำหนดหรือการ  แบบฝึกหัดท่วั ไป 19. การวัดและประเมนิ ผลสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้วี ดั หรือผลการเรยี นรู้  20. นักเรยี นได้มสี ว่ นรว่ มในการวดั และประเมนิ ผล  รวม 19 1 รวม/สรุปผลไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ระดับ ดีมาก

การแปลความหมาย 90 – 100 คะแนน ระดับคณุ ภาพ ดมี าก 70 – 89 คะแนน ระดบั คุณภาพ ดี 50 – 69 คะแนน ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง 30 – 49 คะแนน ระดับคณุ ภาพ พอใช้ 20 – 29 คะแนน ระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง ลงช่ือ.................................................... (นายธนภณ อ่นุ วเิ ศษ) ผู้ประเมนิ

แบบประเมนิ แผนการจดั การเรยี นรู้ประกอบหนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรอ่ื ง การเลือกโครงสรา้ งของพืชเพอื่ นำมาเป็นชน้ิ ส่วนเรมิ่ ตน้ ในการเพาะเลยี้ งเนอื้ เย่ือ รายวิชา ชวี วทิ ยา ผ้สู อน นางหนึ่งฤทัย อุเทศ คำช้ีแจง โปรดเขียนเครือ่ งหมาย ลงในช่องท่ตี รงกบั ระดับการประเมิน ระดบั การประเมนิ 5 หมายถงึ มคี วามสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/ครอบคลุม/เหมาะสมมากที่สุด 4 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/ครอบคลุม/เหมาะสมมาก 3 หมายถงึ มีความสอดคล้อง/เชอื่ มโยง/ครอบคลุม/เหมาะสมมากปานกลาง 2 หมายถงึ มีความสอดคลอ้ ง/เชอ่ื มโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมน้อย 1 หมายถึง มีความสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมนอ้ ยท่ีสดุ รายการประเมนิ ระดับการประเมิน 5 4 321 1. แผนการจัดการเรียนรสู้ อดคลอ้ งสัมพนั ธก์ บั หน่วยการเรียนรทู้ ่กี ำหนดไว้  2. แผนการจดั การเรียนรมู้ ีองค์ประกอบสำคญั ครบถว้ น  3. ความสอดคลอ้ งของสาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดกบั มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชี้วดั หรอื  ผลการเรียนรู้ 4. ตัวช้วี ดั หรอื ผลการเรยี นรู้ครอบคลมุ สาระการเรียนรู้ พฒั นาผูเ้ รยี นเกดิ K P A  5. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรพู้ ัฒนานักเรียนครอบคลุมดา้ น K P A  6. สาระการเรยี นรู้ เหมาะสมกบั เวลาและตัวชีว้ ัดหรือผลการเรียนรู้  7. กิจกรรมการเรียนรแู้ บ่งเป็นข้นั ตอนตามความเหมาะสม  8. กิจกรรมการเรียนรู้เหมาะสมกับสาระการเรยี นรแู้ ละระดับช้ันนักเรยี น  9. กิจกรรมการเรยี นรมู้ คี วามหลากหลายและสามารถปฏิบตั ิไดจ้ ริง  10. กิจกรรมการเรียนรสู้ ามารถพัฒนาครอบคลมุ ด้านองค์ความรู้ กระบวนการและเจตคติ  11. กจิ กรรมการเรยี นรู้เป็นกิจกรรมที่สง่ เสริมกระบวนการคดิ ของนกั เรียน  12. กิจกรรมการเรียนรู้สอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมและคณุ ลักษณะที่พึงประสงคห์ รือมี  คุณลักษณะตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 13. กิจกรรมเนน้ ให้นกั เรียนปฏบิ ัติจรงิ /เน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั / Active Learning  14. แผนการจัดการเรียนรู้กำหนดวัสดุอุปกรณ์ ส่ือและแหล่งเรยี นรูท้ ่หี ลากหลาย  เหมาะสม 15. แผนการจัดการเรียนรู้ สอดคล้องกบั สาระการเรยี นร้แู ละกิจกรรมการเรยี นรู้  16. นักเรยี นใช้สอ่ื และแหล่งเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง  17. แผนการจัดการเรียนร้กู ำหนดชิน้ งาน/ภาระงานอยา่ งเหมาะสม  18. การทำชิน้ งานไดใ้ ชค้ วามรู้ ความคิดมากกวา่ การทำตามท่คี รกู ำหนดหรอื การ  แบบฝกึ หดั ทัว่ ไป 19. การวัดและประเมนิ ผลสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้วี ดั หรือผลการเรียนรู้  20. นกั เรียนได้มสี ว่ นรว่ มในการวัดและประเมินผล  รวม 18 2 รวม/สรุปผลไดร้ ะดบั คุณภาพ ระดบั ดมี าก

การแปลความหมาย 90 – 100 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก 70 – 89 คะแนน ระดบั คุณภาพ ดี 50 – 69 คะแนน ระดับคุณภาพ ปานกลาง 30 – 49 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ 20 – 29 คะแนน ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ ลงช่อื .................................................... (นางกาญจนา ทองจบ) ผูป้ ระเมิน

แบบประเมินแผนการจัดการเรยี นรปู้ ระกอบหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่ือง การเลือกโครงสร้างของพชื เพอ่ื นำมาเปน็ ชนิ้ สว่ นเร่มิ ต้นในการเพาะเลี้ยงเนอ้ื เย่ือ รายวชิ า ชีววิทยา ผู้สอน นางหน่งึ ฤทัย อุเทศ คำช้ีแจง โปรดเขียนเครอื่ งหมาย ลงในช่องทตี่ รงกับระดบั การประเมนิ ระดับการประเมิน 5 หมายถึง มคี วามสอดคล้อง/เช่ือมโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมมากที่สุด 4 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมมาก 3 หมายถงึ มีความสอดคลอ้ ง/เชือ่ มโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมมากปานกลาง 2 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/ครอบคลมุ /เหมาะสมนอ้ ย 1 หมายถึง มีความสอดคลอ้ ง/เช่ือมโยง/ครอบคลุม/เหมาะสมนอ้ ยที่สุด รายการประเมนิ ระดบั การประเมนิ 5 4 321 1. แผนการจัดการเรยี นรูส้ อดคลอ้ งสัมพนั ธ์กบั หน่วยการเรยี นรทู้ ก่ี ำหนดไว้  2. แผนการจดั การเรยี นรมู้ อี งคป์ ระกอบสำคญั ครบถว้ น  3. ความสอดคล้องของสาระสำคญั /ความคดิ รวบยอดกับมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัดหรือ  ผลการเรียนรู้ 4. ตวั ช้ีวัดหรอื ผลการเรียนรคู้ รอบคลมุ สาระการเรยี นรู้ พฒั นาผเู้ รียนเกดิ K P A  5. จุดประสงคก์ ารเรียนรูพ้ ัฒนานักเรยี นครอบคลุมด้าน K P A  6. สาระการเรียนรู้ เหมาะสมกบั เวลาและตวั ชว้ี ดั หรือผลการเรยี นรู้  7. กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บ่งเป็นขน้ั ตอนตามความเหมาะสม  8. กจิ กรรมการเรยี นรเู้ หมาะสมกับสาระการเรยี นรแู้ ละระดบั ชั้นนักเรียน  9. กจิ กรรมการเรียนรู้มคี วามหลากหลายและสามารถปฏบิ ตั ิไดจ้ รงิ  10. กิจกรรมการเรยี นรสู้ ามารถพฒั นาครอบคลมุ ดา้ นองคค์ วามรู้ กระบวนการและเจตคติ  11. กจิ กรรมการเรยี นรู้เปน็ กจิ กรรมทส่ี ่งเสรมิ กระบวนการคดิ ของนกั เรียน  12. กจิ กรรมการเรียนรู้สอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์หรือมี  คุณลักษณะตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 13. กจิ กรรมเน้นใหน้ ักเรียนปฏิบัตจิ รงิ /เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ/ Active Learning  14. แผนการจัดการเรยี นรู้กำหนดวสั ดุอปุ กรณ์ ส่ือและแหล่งเรยี นรู้ท่ีหลากหลาย  เหมาะสม 15. แผนการจดั การเรียนรู้ สอดคลอ้ งกับสาระการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้  16. นกั เรียนใช้ส่ือและแหล่งเรยี นรดู้ ้วยตนเอง  17. แผนการจัดการเรียนรกู้ ำหนดชิ้นงาน/ภาระงานอย่างเหมาะสม  18. การทำชนิ้ งานไดใ้ ชค้ วามรู้ ความคิดมากกว่าการทำตามทค่ี รกู ำหนดหรือการ  แบบฝึกหดั ทว่ั ไป 19. การวัดและประเมนิ ผลสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชวี้ ัดหรอื ผลการเรียนรู้  20. นักเรียนได้มีสว่ นร่วมในการวัดและประเมนิ ผล  รวม 18 2 รวม/สรปุ ผลไดร้ ะดบั คุณภาพ ระดบั

การแปลความหมาย 90 – 100 คะแนน ระดับคุณภาพ ดมี าก 70 – 89 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ดี 50 – 69 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปานกลาง 30 – 49 คะแนน ระดับคณุ ภาพ พอใช้ 20 – 29 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรงุ ลงช่ือ.................................................... (นางสาวเกศรินทร์ ดีแสน) ผปู้ ระเมิน

แผนการจดั การเรียนรู้ แบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) ท่สี ง่ เสริมทกั ษะการคดิ และแกป้ ัญหา

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาชีววทิ ยา 3 รหสั วชิ า ว 32241 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 เร่อื ง การเลือกโครงสร้างของพชื เพือ่ นำมาเปน็ ชนิ้ สว่ นเร่มิ ต้นในการเพาะเลย้ี งเนอ้ื เย่อื เวลา 120 นาที ผสู้ อน นางหนึง่ ฤทยั อุเทศ โรงเรียนชมุ พลโพนพิสยั สาระสำคญั วิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นวิธีขยายพันธุ์พืชที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด สามารถวางแผนผลิตพืช จำนวนมากไดใ้ นเวลาท่ีจำกัด โดยการเลือกชิ้นสว่ นของพชื ปน็ ชิ้นสว่ นเริม่ ต้นในการเนอ้ื เย่อื พชื นนั้ ต้องเป็นส่วน ท่มี ีเนือ้ เยอ่ื เจริญทส่ี ามารถแบง่ เซลล์และเจริญเตบิ โตไปเปน็ ส่วนต่างๆ ของพชื ไดซ้ ง่ึ การเลอื กใช้ส่วนของพืชท่ีมี เนื้อเยื่อเจริญจะช่วยเพิ่มโอกาสที่จะได้ต้นใหม่จำนวนมากและรวดเร็ว อาจใช้ยอดหรือตาข้าง ส่วนของราก ลำต้นที่ยังไม่แก่มากหรือใบ ซึ่งเป็นส่วนทีเ่ ซลล์ยังมีชีวิต ไม่มีผนงั เซลล์ทุติยภูมิ มีสมบัติที่สามารถกลบั ไปเปน็ เน้ือเยอ่ื เจริญและแบ่งเซลลไ์ ดห้ รืออาจใช้ส่วนท่ีมีเนือ้ เย่ือเจริญดา้ นข้าง เชน่ ลำต้นและ ราก เป็นชิน้ สว่ นเร่มิ ต้น ได้เช่นกนั มาตรฐาน/สาระ สาระชวี วทิ ยา 3. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ำของพืช การลำเลียงของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของพืช รวมทั้งนำ ความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ สาระชีววทิ ยา (3) ม.5/4 อธิบายเก่ียวกับชนิดและลกั ษณะของเนื้อเย่อื พชื และเขียนแผนผังเพื่อสรุป ชนดิ ของเนื้อเยือ่ พชื สาระการเรียนรแู้ กนกลาง เนอื้ เยอื่ พืชแบ่งเป็น 2 กลุม่ ใหญ่ คือ เนอ้ื เยือ่ เจริญและเนื้อเย่ือถาวร - เน้ือเย่ือเจรญิ ประกอบดว้ ยกล่มุ เซลลท์ ี่สามารถแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส มีการเติบโตขยายขนาด และเปลี่ยนแปลงเพอ่ื ไปทำ หนา้ ท่ีเฉพาะแบง่ เปน็ เน้อื เยื่อเจริญส่วนปลาย เนอ้ื เย่อื เจรญิ เหนือข้อ และเน้อื เยอ่ื เจรญิ ด้านขา้ ง - เนอ้ื เยอ่ื ถาวรเปลย่ี นแปลงมาจากเนื้อเย่อื เจริญ เนื้อเยือ่ ถาวรอาจแบ่งได้เปน็ 3 ระบบ คอื ระบบ เนอ้ื เยื่อผิว ระบบเน้อื เยอ่ื พื้น และระบบเน้อื เยือ่ ท่อลำเลยี ง ซึ่งทำหน้าท่ีตา่ งกัน จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ออกแบบวิธีการทดลองเพอื่ ศกึ ษาลกั ษณะของโครงสร้างพชื ที่จะเลือกมาเปน็ ชิน้ ส่วนเรม่ิ ต้นในการ เพาะเล้ียงเน้อื เยอื่ 2. วเิ คราะห์และอธบิ ายลกั ษณะของโครงสรา้ งพชื ทไ่ี ด้จากการศกึ ษา 3. ตดั สนิ ใจเลอื กโครงสร้างพืชเพ่ือนำมาเปน็ ชิน้ ส่วนเร่ิมตน้ ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยือ่ พรอ้ มทง้ั ระบุ เหตุผลประกอบการตดั สนิ ใจจากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลายได้

ทักษะทเี่ ป็นจุดเนน้ 1. การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ (Critical thinking) 2. การคดิ วิเคราะห์ (Analytic thinking) คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรยี นรู้ 2. มุ่งม่ันในการทำงาน แนวการจัดกิจกรรม บทบาทครู บทบาทนกั เรียน สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้ กจิ กรรม - ร่วมตอบคำถาม โดย - บตั รภาพพชื ที่ใกล้สูญ - ใช้คำถามเพอ่ื ให้นกั เรียน เสนอแนะแนวทางและ พันธแุ์ ละวธิ ีการที่นัก ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น อภิปรายเกย่ี วกบั วธิ ีการ วิธีการขยายพันธุพ์ ืช วิทยาศาสใช้ในการ (เวลา 10 นาที) ขยายพนั ธุพ์ ชื ทใ่ี กล้สญู พนั ธุ์ ขยายพนั ธุ์ - นักเรยี นรว่ มกันอภิปราย ในท้องถน่ิ ของนกั เรยี น จน - สงั เกตบริเวณ หรอื เก่ียวกับวิธีการขยายพนั ธุ์ นกั เรียนมาสามารถสรปุ ได้ โครงสรา้ งพืชท่ีนำมา - วีดิทศั น์ เรือ่ ง การ พืชทใ่ี กล้สญู พนั ธใุ์ น ว่าวธิ การเพาะเล้ียงเน้ือเยอ่ื เพาะเล้ียงเน้อื เย่อื ขยายพันธุพ์ ืชโดยการ ทอ้ งถิน่ ของนกั เรยี น เปน็ วิธีขยายพันธุ์พืชทีม่ ี พรอ้ มให้เหตุผล เพาะเลย้ี งเนอื้ เย่อื ประสิทธิภาพมากทสี่ ุด ประกอบ - นักเรยี นศกึ ษาวดี ทิ ศั น์ สามารถวางแผนผลิตพชื เร่อื ง การขยายพันธพ์ุ ชื จำนวนมากไดใ้ นเวลาที่ โดยการเพาะเลยี้ งเนือ้ เยอ่ื จำกัด - ใช้คำถามเพ่ือให้นกั เรียน สังเกตว่าบรเิ วณใด หรือ โครงสร้างใดทนี่ ำมา เพาะเลีย้ งเนื้อเย่อื เพราะ เหตใุ ด - นกั เรียนสบื คน้ ข้อมูล - ใช้คำถามเพอื่ ให้นกั เรียน - สบื ค้นข้อมลู และ - เวปไซต์สบื คน้ ออนไลน์ เพมิ่ เติมเกี่ยวลักษณะของ สังเกตโครงสร้างพชื ท่ีจะ สามารถรุบะลกั ษณะ - หนงั สอื เรยี นรายวชิ า โครงสรา้ งพืชทจี่ ะนำมา นำมาเป็นชน้ิ ส่วนเร่มิ ตน้ ใน เปน็ ชิ้นสว่ นเรม่ิ ต้นในการ การเพาะเล้ยี งเน้อื เยอ่ื ของโครงสร้างพชื ท่จี ะ เพิม่ เตมิ วิทยาศาสตร์ เพาะเล้ยี งเนอื้ เยอ่ื พร้อมใหเ้ หตผุ ลประกอบ นำมาเป็นชน้ิ สว่ น ชีววทิ ยา เล่ม 3 (ฉบบั เริม่ ตน้ ในการเพาะเลี้ยง ปรับปรุง พ.ศ.2560) ชน้ั เนือ้ เยอื่ พร้อมให้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ของ เหตผุ ลประกอบ สสวท. หน้า 40-50

กจิ กรรม บทบาทครู บทบาทนกั เรียน สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ ขั้นกิจกรรม - จดั เตรยี ม วัสดุ อุปกรณ์ - อา่ นสถานการณ์ - ใบกิจกรรมเรือ่ ง การ (เวลา 100 นาท)ี เพ่ือใชใ้ นการทำกิจกรรม วิเคราะหส์ ภาพปัญหา เลอื กเนื้อเยือ่ พืชเพ่ือ - นกั เรียนศึกษา และความต้องการ และ นำมาทำการเพาะเล้ยี ง สถานการณจ์ ากใบ อภิปรายเพ่อื ต้งั เนือ้ เย่ือ กิจกรรม เรอื่ ง การเลือก ประเด็นคำถามท่ีจะ เนื้อเยื่อพชื เพอ่ื นำมาทำ นำไปสูก่ ารออกแบบ การเพาะเล้ยี งเน้อื เยือ่ การทดลอง วเิ คราะห์ และออกแบบวิธกี าร และอธบิ ายลักษณะ ทดลอง วเิ คราะห์และ และตดั สนิ ใจเลอื ก อธบิ ายลักษณะและ โครงสรา้ งพืชเพ่ือนำมา ตดั สินใจเลือกโครงสรา้ ง เปน็ ช้ินส่วนเรมิ่ ต้นใน พืชเพ่ือนำมาเป็นช้นิ สว่ น การเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอื่ เริม่ ต้นในการเพาะเล้ียง พร้อมทั้งระบุเหตุผล เนื้อเยอื่ พร้อมท้งั ระบุ ประกอบการตัดสนิ ใจ เหตผุ ลประกอบการ จากสถานการณ์ท่ี ตัดสนิ ใจจากสถานการณ์ที่ กำหนด กำหนด ขน้ั สรปุ การเรียนรู้ (เวลา 10 นาท)ี - ใช้คำถามเพื่อกระตุ้นให้ - อภิปรายเพื่อลงข้อ - ใบกจิ กรรม เรือ่ ง การ - นักเรียนร่วมกันสรุป นักเรียนสรุปลักษณะและ เกี่ยวกับ ลักษณะและ เลอื กเนื้อเยือ่ พืชเพือ่ ลักษณะ หน้าที่และระบุ หน้าที่และระบุบริเวณที่พบ หน้าที่และระบุบริเวณ นำมาทำการเพาะเลย้ี ง บริเวณที่พบเนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเย่ือเจริญและเนื้อเยื่อ ที่พบเนื้อเยื่อเจริญและ เนอ้ื เย่ือ และเนื้อเยื่อถาวรของพืช ถาวรของพชื ดอก เนื้อเยื่อถาวรของพืช - หนังสือเรยี นรายวิชา ดอก ดอก เพิม่ เติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา เล่ม 3 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ของ สสวท. หนา้ 40-50

กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ ขน้ั นำเขา้ สูก่ จิ กรรม (เวลา 10 นาท)ี 1. ครนู ำภาพพชื ท่ีหายาก และใกล้สญู พันธ์ุใหน้ ักเรยี นได้ศกึ ษาลกั ษณะทางพฤกศาสตร์ และวธิ ีการ การขยายพันธ์ุ โดยครูตง้ั คำถามเพอื่ กระตนุ้ นักเรยี น ดังนี้ - จากภาพพชื ที่หายาก และใกล้สญู พันธน์ุ กั เรียนรู้จกั พชื ชนดิ ใดบ้าง - ในชมุ ชนของนักเรยี นมพี ชื ชนดิ ใดทเี่ ป็นพชื ทห่ี ายาก และใกล้สูญพนั ธบ์ุ ้าง - นกั เรียนจะมวี ิธกี ารอยา่ งไรในการขยายพนั ธ์พุ ชื ท่ีหายากและใกล้สูญพนั ธ์ุ ซึง่ นกั เรียนอาจตอบตามความรูห้ รอื ประสบการณ์ที่รกั เรยี นมี และร่วมกนั สรุปใหไ้ ด้ว่าการ ขยายพันธพ์ุ ืชโดยการเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยื่อ เป็นวธิ ีขยายพันธ์พุ ืชทม่ี ีประสทิ ธภิ าพมากทส่ี ุด สามารถวางแผนผลติ พชื จำนวนมากได้ในเวลาท่ีจำกัด 2. ครใู หนักเรยี นชมวดี ิทัศน์ เรอ่ื ง การขยายพนั ธ์ุพชื โดยการเพาะเลีย้ งเนอ้ื เยอื่ โดยใชค้ ำถามเพ่ือให้ นกั เรียนสังเกตวา่ ดงั นี้ - บรเิ วณใด หรือโครงสรา้ งใดทนี่ ำมาเปน็ ชน้ิ สว่ นเรม่ิ ตน้ ในการเพาะเลีย้ งเน้อื เย่ือ เพราะเหตุใด ข้ันกจิ กรรมการเรียนรู้ (เวลา 100 นาท)ี 1. ครอู ภปิ รายร่วมกับนกั เรยี นเกย่ี วกบั ลักษณะของเนอ้ื เยอ่ื พืชแตล่ ะบริเวณหรือโครงสร้างของพชื ท่ี นำมาเป็นชิน้ สว่ นเร่ิมตน้ ในการเพาะเลีย้ งเนอื้ เยอื่ และเชือ่ มโยงไปสูการทาํ กจิ กรรม โดยครกู าํ หนดสถานการณ ให ดังนี้ “ถ้าในทอ้ งถน่ิ พบพชื ที่ใกล้สูญพนั ธแุ์ ละชุมชนมีความต้องการที่จะขยายพันธ์เุ พอื่ รักษา สาย พันธพุ์ ืชชนดิ นไี้ ว้ด้วยวธิ กี ารเพาะเล้ียงเนือ้ เย่ือ ชมุ ชนควรเลือกใชส้ ่วนใดของพชื เป็น ชิ้นส่วนเร่ิมต้น พรอ้ ม ให้เหตุผลโดยใชค้ วามรู้จากเรอื่ งเน้อื เยื่อพืช” 2. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มศกึ ษาใบกิจกรรม เรอื่ งการเลอื กเนอื้ เยื่อพืชเพ่อื นำมาทำการเพาะเลีย้ ง เนือ้ เยอื่ จากนั้นรว่ มกบั วิเคราะห์สถานการณ์ทีก่ ำหนดให้ และคาดคะเนโครงสรา้ งของพชื ทน่ี ำมาเป็นชนิ้ ส่วน เร่ิมต้นในการเพาะเลยี้ งเนือ้ เย่อื พร้อมอธบิ ายเหตุผลประกอบ 3. ครนู ำนักเรยี นวเิ คราะหส์ ถานการณ์ โดยใชค้ ำถามดงั น้ี - จากสถานการณทก่ี ำหนด คุณสมบัตขิ องโครงสรา้ งของพชื ทนี่ ำมาเป็นชิ้นสว่ นเริม่ ต้นในการ เพาะเลย้ี งเนื้อเยอ่ื ควรมลี ักษณะอย่างไร (การคิดวเิ คราะห)์ - นักเรยี นจะมีวธิ กี ารตรวจสอบคณุ สมบัติของโครงสรา้ งพืชน้ันอยา่ งไร (การคิดวเิ คราะห)์ 4. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มออกแบบวธิ ีการศกึ ษาคณุ สมบัตขิ องโครงสร้างพชื ทนี่ ำมาเป็นชนิ้ ส่วนเร่มิ ต้น ในการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือ โดยระบุวิธกี ารตรวจสอบ กำหนดเกณฑ์ในการตรวจสอบ และวัสดุอุปกรณ์ลงในใบ กิจกรรม (การคดิ วเิ คราะห)์ 5. นักเรียนทำการทดลองเพือ่ ตรวจสอบสมบตั ขิ องเนอื้ เย่ือพชื ในโครงสร้างพชื แตล่ ะสว่ นตามที่ ออกแบบไว้ โดยครูใช้คำถามกระตุ้นเพ่อื ให้นกั เรยี นทำกจิ กรรม ดังน้ี - นกั เรียนออกแบบวธิ ีการศึกษาคุณสมบัติของโครงสรา้ งพืชท่นี ำมาเปน็ ชิน้ ส่วนเริม่ ตน้ ในการ เพาะเล้ยี งเนอื้ เยือ่ อยา่ งไร (การคดิ วเิ คราะห์) - ในการศึกษาคุณสมบัติของโครงสร้างพชื ทน่ี ำมาเป็นชิน้ ส่วนเรมิ่ ตน้ ในการเพาะเลี้ยงเน้อื เย่อื นักเรยี นจะใช้อุปกรณ์อะไรบา้ ง (การคิดวิเคราะห)์

- เพราะเหตุใดนักเรียนจงึ เลอื กใชว้ ิธีการศึกษาคุณสมบัติของโครงสร้างพืชดงั กลา่ ว (การคิดอยา่ ง มีวจิ ารณญาณ) 6. นักเรียนสบื คน้ ขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ เกีย่ วกับเนอื้ เยื่อพชื ดา้ นอนื่ ๆ เพือ่ ใช้เปน็ ข้อมูลประกอบการ ตดั สนิ ใจเลือกโครงสร้างพชื นำมาเปน็ ชิน้ ส่วนเรมิ่ ต้นในการเพาะเลี้ยงเน้อื เยอ่ื ตามที่สถานการณ์กำหนดจาก แหล่งเรยี นรู้อื่นๆ ทห่ี ลากลาย หรือจากหนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพ่ิมเตมิ วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา เลม่ 3 (ฉบับ ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ของ สสวท. หน้า 40-50 7. นกั เรยี นตัดสนิ ในเลอื กและระบุโครงสรา้ งพืชทีน่ ำมาเป็นชิ้นสว่ นเร่ิมต้นในการเพาะเลย้ี งเนอื้ เย่ือ พรอ้ มทั้งอธิบายเหตผุ ลประกอบ ลงในใบกจิ กรรม (การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ) 8. นักเรียนแตล่ ะกล่มุ นำเสนอผลการทำกิจกรรมหนา้ ชน้ั เรยี น ขน้ั สรุปการเรยี นรู้ (เวลา 10 นาที) 1. นกั เรียนร่วมกันสรุปลกั ษณะ หน้าที่และระบบุ ริเวณท่พี บเน้อื เยือ่ เจรญิ และเนือ้ เยื่อถาวรของพืช ดอกและการนำไปใชป้ ระโยชน์ การวัดและประเมินผล ประเดน็ ประเมิน เครือ่ งมือวัดและประเมิน เกณฑก์ ารประเมิน 1. ออกแบบวธิ ีการทดลองเพือ่ ใบกจิ กรรม เร่อื งการเลอื กเน้ือเย่ือ ผู้เรยี นมผี ลการประเมนิ จากเกณฑ์ การประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ระดับ 3 ศกึ ษาลกั ษณะของโครงสร้างพชื ท่ี พืชเพ่ือนำมาทำการเพาะเล้ียง ขนึ้ ไป จะเลือกมาเป็นช้นิ ส่วนเร่มิ ต้นใน เนื้อเยื่อ การเพาะเลีย้ งเนื้อเย่ือ 2. วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายลักษณะ ของโครงสรา้ งพืชที่ไดจ้ าก การศึกษา 3. ตดั สินใจเลอื กโครงสรา้ งพืช เพ่ือนำมาเปน็ ชนิ้ ส่วนเร่ิมต้นในการ เพาะเลี้ยงเนือ้ เยื่อ พร้อมทัง้ ระบุ เหตุผลประกอบการตดั สินใจจาก แหลง่ ขอ้ มลู ที่หลากหลายได้ 4. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ผเู้ รียนแต่ละคนได้คะแนนจากแบบ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ ประสงค์ ประเมินคณุ ลกี ษณะอันพึงประสงค์ 2. ม่งุ มนั่ ในการทำงาน แต่ละรายการไม่น้อยกว่า 2 คะแนน

เกณฑก์ ารประเมิน ประเดน็ 4 ระดบั คะแนน 1 32 1. ออกแบบวิธีการทดลองเพอ่ื ศึกษาลกั ษณะของโครงสรา้ งพชื ที่จะเลือกมาเป็นชนิ้ ส่วนเร่มิ ตน้ ในการเพาะเล้ียง เน้ือเยอื่ 1.1 การกาํ หนด กําหนดวตั ถุประสงคใน กาํ หนดวัตถปุ ระสงคใน กาํ หนดวัตถุ กําหนดวัตถุ วัตถุประสงคในการ การวเิ คราะหขอมลู ได การวิเคราะหขอ มูลได ประสงคในการ ประสงคในการ ศกึ ษา ชัดเจน มีความสอด ชดั เจน มคี วามสอด วเิ คราะหขอมลู ได วิเคราะหขอมลู คลองและครอบคลมุ คลองและครอบคลุม ไมช่ ดั เจน มีความ ไมชดั เจน และไมสอด วิธกี ารตรวจสอบสมบตั ิ วิธีการตรวจสอบ สอดคลองและ คลอง ของโครงสรา้ งพืช 2 ดาน สมบัติของโครงสร้าง ครอบคลมุ วิธกี าร กับวธิ กี ารตรวจสอบ คอื ดานลักษณะของ พชื ดาน คอื ดาน ตรวจสอบสมบัติของ สมบตั ขิ องโครงสร้าง เนื้อเยอื่ และดาน ลกั ษณะของเนื้อเยือ่ โครงสรา้ งพืช ดาน พชื ทงั้ ดานลักษณะ ตำแหนง่ ท่พี บ หรอื ดานตำแหนง่ ท่พี บ คอื ดานลักษณะของ ของเนื้อเยอ่ื หรอื ดาน เน้ือเย่อื หรือดาน ตำแหนง่ ตำแหน่งท่พี บ ท่ีพบ 1.2 การออกแบบ เลือกใชวสั ดอุ ุปกรณ เลอื กใชวสั ดุอปุ กรณ เลอื กใชวสั ดอุ ุปกรณ เลอื กใชวัสดุอปุ กรณไม่ วิธกี ารตรวจสอบ ถูกตองเหมาะสมกับ ถูกตองเหมาะสมกับ ถูกตองเหมาะสมกบั ถูกตองเหมาะสมกับ โครงสรา้ งพชื แต่ละส่วน วิธกี ารตรวจสอบสมบัติ วิธกี ารตรวจสอบ วธิ กี ารตรวจสอบ วธิ กี ารตรวจสอบ ของโครงสรา้ งพืชทเ่ี ลอื ก สมบตั ขิ องหนิ ท่ีเลือก สมบัตขิ องหนิ ทเี่ ลือก สมบัติของหินที่เลือก ใช บันทึกผลการศึกษา ใช บนั ทึกผลการ ใช บนั ทึกผลการ ใช บันทึกผลการ เปนระบบถูกตอง และ ศกึ ษา เปนระบบถูก ศกึ ษา ไม่เปนระบบ ศกึ ษา ไม่เปนระบบถกู ครอบคลมุ วิธีการ ตอง และครอบคลมุ ถกู ตองและ ตอง และครอบคลุม ตรวจสอบสมบตั ขิ อง วิธกี ารตรวจสอบ ครอบคลมุ วธิ กี าร วิธกี ารตรวจสอบ โครงสรา้ งพชื 2 ดาน สมบตั ขิ องโครงสรา้ ง ตรวจสอบสมบตั ิของ สมบตั ิของโครงสรา้ ง คอื ดานลกั ษณะของ พชื 1 ดาน คอื ดาน โครงสรา้ งพืช 1 ดาน พืช ทัง้ ดานลักษณะ เน้ือเยื่อและดาน ลักษณะของเนอื้ เยื่อ คอื ดานลักษณะของ ของเนื้อเยือ่ หรือ ตำแหนง่ ที่พบ หรอื ดานตำแหนง่ ทพ่ี บ เนื้อเยอ่ื หรอื ดาน ดานตำแหน่งท่ีพบ ตำแหน่งท่ีพบ

ประเดน็ 4 ระดับคะแนน 1 32 2. วิเคราะห์และอธิบายลักษณะของโครงสรา้ งพชื ทไ่ี ด้จากการศึกษา 1.2 การออกแบบ เลือกใชวสั ดอุ ปุ กรณ เลือกใชวัสดอุ ปุ กรณ เลือกใชวสั ดอุ ปุ กรณ เลือกใชวัสดุอปุ กรณไม่ วธิ ีการตรวจสอบ ถูกตองเหมาะสมกบั ถกู ตองเหมาะสมกับ ถูกตองเหมาะสมกบั ถูกตองเหมาะสมกับ สมบตั ขิ องหินแตละ วิธีการตรวจสอบสมบตั ิ วธิ ีการตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบ วิธกี ารตรวจสอบ ชนดิ ของโครงสรา้ งพชื สมบัติของโครงสรา้ ง สมบตั ขิ องโครงสรา้ ง สมบตั ขิ องโครงสรา้ ง บันทึกการศกึ ษาเปน็ พืช บนั ทกึ การศกึ ษา พืช บนั ทึการศึกษา พืชบันทกึ การศึกษาไม่ ระบบ ถูกตอ้ งมคี วาม เปน็ ระบบ ถูกตอ้ งมี ไม่เป็นระบบ ถกู ต้อง เป็นระบบ และไม่ สอดคล้องกบั คุณสมบัติ ความสอดคล้องกับ มคี วามสอดคล้องกับ ถูกตอ้ ง ไมม่ ีความ ที่ศกึ ษา ท้งั 2 ดาน คอื คณุ สมบัตทิ ี่ศึกษา คณุ สมบตั ทิ ่ศี กึ ษา สอดคลอ้ งกับ ดานลกั ษณะของเนอ้ื เยือ่ เพียง 1 ดาน คอื เพียง 1 ดาน คือ คณุ สมบตั ิที่ศกึ ษา ทง้ั และดานตำแหน่งทพี่ บ ดานลกั ษณะของ ดานลักษณะของ 2 ดาน คอื ดาน เน้ือเยื่อหรือดาน เนื้อเยือ่ หรอื ดาน ลกั ษณะของเน้อื เย่ือ ตำแหนง่ ท่ีพบ ตำแหนง่ ทพี่ บ และดานตำแหน่งทีพ่ บ 3. ตัดสนิ ใจเลอื กโครงสรา้ งพชื เพือ่ นำมาเป็นช้นิ ส่วนเร่ิมตน้ ในการเพาะเล้ียงเน้ือเยอื่ พร้อมทั้งระบุเหตผุ ลประกอบการ ตดั สนิ ใจจากแหล่งข้อมูลทห่ี ลากหลายได้ ตดั สนิ ใจเลือกโครงสร้าง ตดั สินใจเลอื กโครงสร้าง ตดั สินใจเลอื ก ตัดสนิ ใจเลือก มกี ารนำผลการ พชื เพ่อื นำมาเป็นชิน้ ส่วน พชื ไดเ้ หมาะสม มกี ารนำ โครงสร้างพืชได้ โครงสร้างพืชได้ วเิ คราะห์ข้อมลู จาก เรมิ่ ตน้ ในการเพาะเล้ียง ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู เหมาะสม มีการนำผล เหมาะสม มกี ารนำ การตรวจสอบ และนำ เนื้อเย่ือ พร้อมทง้ั ระบุ จากการตรวจสอบ และ การวเิ คราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ ข้อมลู ท่ีไดจ้ ากสบื ค้น เหตุผลประกอบการ นำขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากสืบคน้ จากการตรวจสอบ ข้อมูลจากการ เพอ่ื ใชป้ ระกอบการ ตัดสินใจจากแหลง่ ขอ้ มูล ทห่ี ลากหลายมา และนำข้อมูลทไี่ ด้จาก ตรวจสอบ และนำ ตัดสินใจเลือก ท่หี ลากหลาย เช่อื มโยงความสัมพนั ธ์ สืบค้นทห่ี ลากหลายมา ขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากก โครงสร้างพชื ไดไ้ ม่ เพื่อประกอบการ เช่อื มโยงความสมั พนั ธ์ สบื คน้ ท่หี ลากหลาย ชัดเจน ไมถ่ กู ต้อง และ ตัดสนิ ใจเลือกโครงสร้าง เพอ่ื ประกอบการ มาเชอ่ื มโยง ไมค่ รอบคลมุ พืชได้ชดั เจน ถกู ตอ้ ง ตดั สินใจเลอื ก ความสมั พันธเ์ พอ่ื และครอบคลุม โครงสรา้ งพืชได้ ประกอบการ สมเหตสุ มผล ตัดสนิ ใจเลอื ก โครงสรา้ งพืชได้ สมเหตุสมผล บางสว่ น ระดบั 4 = ดีมาก ระดบั 3 = ดี ระดบั 2 = พอใช้ ระดับ 1 = ปรับปรุง ผา่ นเกณฑ์ระดบั 3 ขน้ึ ไป

วัสด/ุ อปุ กรณ์ - กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสงเชงิ ประกอบ - สไลด์และกระจกปดิ สไลด์ - ใบมีดโกน - พู่กัน - เขม็ เข่ีย - หลอดหยด - จานเพาะเชอื้ - ทชิ ช - บีกเกอร์ขนาด 50 mL หรือขวดแกว้ ปากกว้าง สำ หรบั ใส่น้ำ - สีซาฟรานิน (safranin) ความเขม้ ข้น 1% หรือนำ้ ยาอทุ ยั - นำ้ สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ - ภาพพืชที่หายาก และใกล้สญู พนั ธ์ุ - วีดทิ ศั น์ เรื่อง การขยายพันธ์ุพืชโดยการเพาะเลี้ยงเน้อื เยื่อ - ใบกิจกรรม เร่อื ง การเลือกเน้ือเย่อื พชื เพื่อนำมาทำการเพาะเลีย้ งเน้ือเยื่อ - ชุดอปุ กรณ์การศึกษาเน้ือเยอื่ พืช - หนังสอื เรียนรายวชิ าเพิม่ เตมิ วิทยาศาสตร์ ชีววทิ ยา เล่ม 3 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ของ สสวท. หนา้ 40-50 - เว็บไซตสืบคนออนไลน์

ใบกิจกรรม เรอื่ ง การเลือกโครงสรา้ งของพืชเพื่อนำมาเป็นชิ้นส่วนเร่ิมตน้ ในการเพาะเลย้ี งเนือ้ เยอื่ สถานการณ์ ถา้ ในท้องถิน่ พบพชื ท่ใี กล้สูญพันธุ์และชุมชนมีความตอ้ งการท่จี ะขยายพันธ์ุเพอ่ื รักษาสายพันธุ์พืช ชนิดนไ้ี วด้ ้วยวธิ กี ารเพาะเลีย้ งเนอื้ เยอ่ื ชมุ ชนควรเลือกใช้ส่วนใดของพืชเป็นช้นิ ส่วนเริ่มตน้ พรอ้ มให้ เหตผุ ลโดยใช้ความรู้จากเรือ่ งเนอ้ื เยื่อพชื 1. จากสถานการณทก่ี ำหนดให้ คณุ สมบตั ิของโครงสรา้ งของพืชท่นี ำมาเป็นชิน้ ส่วนเร่ิมตน้ ในการเพาะเลีย้ ง เนอ้ื เย่อื ควรมีลักษณะอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. นักเรียนจะมวี ธิ กี ารตรวจสอบคุณสมบตั ิของโครงสร้างพืชน้นั อยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

3. นกั เรยี นออกแบบวธิ ีการศกึ ษาคณุ สมบัติของโครงสร้างพืชท่ีนำมาเป็นชิ้นสว่ นเริม่ ตน้ ในการเพาะเล้ียง เน้ือเยอื่ อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

4. ในการศกึ ษาคุณสมบัติของโครงสรา้ งพืชทน่ี ำมาเปน็ ช้นิ สว่ นเร่มิ ตน้ ในการเพาะเลีย้ งเนอื้ เยือ่ นักเรียนจะใช้ อุปกรณอ์ ะไรบา้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5. เพราะเหตใุ ดนกั เรียนจงึ เลอื กใช้วธิ ีการศกึ ษาคุณสมบัติของโครงสรา้ งพชื ดังกลา่ ว ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 6. จากการทดสอบคุณสมบัตขิ องโครงสรา้ งพชื นกั เรียนจะเลือกชน้ิ ส่วนใดโครงสรา้ งพืชเพอ่ื นำมาเป็นชนิ้ สว่ น เริ่มต้นในการเพาะเลยี้ งเนื้อเย่อื เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

PLC-05 วงรอบ 1.3 การเปดิ ช้ันเรยี นและผลการสงั เกตการณ์สอนวงรอบที่ 1 แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนชุมพลโพนพิสยั ชื่อกลมุ่ “PLC for Biology3” ครงั้ ท่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 วัน/เดอื น/ปี : 11 สิงหาคม 2563 เร่ิมดำเนนิ การเวลา 10.00 น. เสร็จส้นิ เวลา 12.00 น. รวมระยะเวลาทงั้ ส้ิน 2 ช่ัวโมง กิจกรรมคร้ังน้ีอยคู่ วามสอดคล้องกบั การพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในช่อง )  ขนั้ ที่ 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขนั้ ที่ 2 ปฏิบตั แิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ข้นั ท่ี 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู เี่ ขา้ รว่ มกจิ กรรม 6 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทตอ่ กจิ กรรม ดงั นี้ ท่ี ชือ่ -สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมอื ชือ่ 1. นายพพิ ัฒน์ ศรีสขุ พนั ธ์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น 2. นางปาริฉัตร เทียนทพิ ย์ รองผู้อำนวยการโรงเรียน 3. นางกาญจนา ทองจบ 4. นายธนภณ อนุ่ วเิ ศษ ผู้เช่ียวชาญ 5. นางสาวเกศรินทร์ ดแี สน หัวหน้ากลุ่มสาระฯ 6. นางหนึ่งฤทัย อุเทศ ครรู ่วมเรียนรู้ ครผู สู้ อน 1. ประเดน็ ปญั หาทีจ่ ะพฒั นา (เนน้ คุณภาพผเู้ รยี น) พัฒนาทกั ษะการคดิ และแก้ปัญหาของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 รายวชิ าชวี วทิ ยา โดยใช้กจิ กรรม การเรียนร้แู บบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2. สาเหตขุ องปัญหา กิจกรรมการเรียนรู้ท่สี ่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนเกดิ ทักษะการคดิ และแก้ปญั หามากเท่าท่คี วร หรอื ยังไมม่ ี แนวทางท่เี หมาะสมในการจัดการเรยี นการสอน 3. ความรู้/หลักการทน่ี ำมาใช้ 1. การพฒั นาทกั ษะการคดิ และแกป้ ญั หา 2. การจดั การเรยี นร้แู บบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 3. เทคนิคการใชค้ ำถาม

4. เกณฑการประเมินทกั ษะการคิดและแกป้ ัญหา 5. การจัดสภาพแวดลอมและบรรยากาศการเรยี นรู้ 6. การนเิ ทศเพอื่ พฒั นาการจดั การเรยี นรู้ 4. แนวทางการแกป้ ัญหา โดยใช้จัดการเรียนรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) ท่ีสง่ เสรมิ ทกั ษะการคดิ และการแก้ปญั หาและการ นิเทศเพอ่ื พัฒนาการจัดการเรียนรู้ 5. การออกแบบกจิ กรรม/เครื่องมอื /วธิ ีการเพอื่ แก้ปญั หา การนิเทศเพ่อื พัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบบนั ทกึ การนิเทศการสอน 6. กิจกรรมที่ทำ Model teacher จัดการเรยี นการสอนโดยใช้จัดการเรยี นรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ที่สง่ เสรมิ ทักษะการคิดและการแกป้ ัญหา เรือ่ ง การเลอื กโครงสร้างของพชื เพ่ือนำมาเปน็ ชิ้นส่วนเร่มิ ตน้ ในการเพาะเล้ยี ง เน้อื เย่ือ จำนวน 2 ชวั่ โมง โดยมี Buddy teacher คอยสังเกตการสอนและทำการบนั ทึกภาพ 7. ผลทไี่ ด้จากกิจกรรม จากการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) ที่สง่ เสริมทกั ษะการคิดและการแก้ปัญหา เรื่อง การเลือกโครงสร้างของพืชเพื่อนำมาเป็นชิ้นส่วนเริ่มต้นในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พบว่า บรรลุตาม วัตถุประสงค์ท่ตี ้งั ไว้ คอื นกั เรยี นสามารถออกแบบวธิ ีการทดลองเพือ่ ศกึ ษาลกั ษณะของโครงสรา้ งพืชที่จะเลือก มาเป็นชิ้นส่วนเริ่มต้นในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ วิเคราะห์และอธิบายลักษณะของโครงสร้างพืชที่ได้จาก การศึกษา ตัดสินใจเลือกโครงสร้างพืชเพื่อนำมาเป็นชิ้นส่วนเริ่มต้นในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พร้อมทั้งระบุ เหตุผลประกอบการตัดสินใจจากแหล่งขอ้ มลู ท่หี ลากหลายได้ 8. การนำผลที่ไดไ้ ปใช้ นำผลการจัดกิจกรรมไปปรับปรุงการออกแบบการจัดการเรยี นรูใ้ นวงรอบต่อไป 9. ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ - 10. การประชมุ ครง้ั ต่อไป - วนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2563 เวลา 15.30 – 17.30 น. หัวขอ้ สะท้อนผลการสังเกตการสอน 11. ร่องรอยหลักฐานประกอบการ PLC แผนการจดั การเรียนรู้ ภาพกจิ กรรม ใบกจิ กรรม แบบบันทกึ การนเิ ทศการสอน เลิกประชุมเวลา 17.30 น.

ลงช่อื ผบู้ ันทึก ลงชอ่ื (นางหน่ึงฤทัย อเุ ทศ) (นายธนภณ อุ่นวเิ ศษ) ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความคิดเห็น.................................................................. ความคดิ เหน็ ................................................................. ..................................................................................... ...................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ลงชื่อ ลงชอ่ื (นางจิตรามาศ คำดีบญุ ) (นายวทิ ยา อินกง) หัวหนา้ งานกำกับตดิ ตาม PLC หวั หน้ากลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ความคิดเหน็ .................................................................. ความคิดเห็น.................................................................. ...................................................................................... ...................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ลงช่อื ลงชอื่ (นางปารฉิ ัตร เทียนทพิ ย)์ (นายพิพฒั น์ ศรีสขุ พนั ธ์) รองผู้อำนวยการโรงเรียน กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นชมุ พลโพนพิสัย

ภาพการปฏบิ ัติกิจกรรม PLC ภาพการจัดกิจกรรม PLC ของกลมุ่ “PLC for Biology3” ข้นั ท่ี 2 ปฏบิ ัติและสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See) โดยดำเนินการในวนั ที่ 11 สงิ หาคม 2563 เวลา 10.00-12.00 น. สถานท่ี หอ้ งปฏบิ ัติการชวี วทิ ยา

แบบบนั ทกึ การนเิ ทศการสอน โรงเรียนชมุ พลโพนพิสยั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 21 ชอ่ื ผ้รู บั การนเิ ทศ...............................................................................กลุ่มสาระการเรยี นร้.ู ................................... รายวชิ า........................................................................................... รหัสวิชา...................................................... ระดับชัน้ ..................... ว/ด/ป ที่สอน...................................................... เวลา..................... - .....................น. กรรมการผนู้ ิเทศ...................................................................................................................... ครงั้ ที่................... ................................................................................................................................................................... คำช้แี จง กรณุ าเขียนเครื่องหมาย  ในชอ่ งระดับคะแนน เพือ่ แสดงผลการประเมินพฤตกิ รรมการสอน ของครู เกณฑร์ ะดับคะแนน 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = พอใช้ 2 = ควรปรับปรุง 1 = ไม่ผ่าน ระดับคะแนน ความคดิ เห็น/ หวั ขอ้ การประเมนิ ขอ้ เสนอแนะ 5 4321 1. สภาพทวั่ ไป 1.1 การตรงต่อเวลา 1.2 การควบคุมความเป็นระเบยี บในชน้ั เรยี น 1.3 การรกั ษาความสะอาดในช้นั เรียน 2. บุคลกิ ภาพ 2.1 การแต่งกายสภุ าพ เหมาะสม 2.2 การใช้นำ้ เสียง มีความชัดเจน 2.3 ความเชอ่ื ม่ันใจตนเอง 2.4 การใชภ้ าษาสอื่ สารและสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้ 3. การดำเนินการสอน การนำเขา้ สู่บทเรยี น 3.1 มกี ารใช้ส่อื / อุปกรณ์ ประกอบการนำเข้าสู่บทเรยี น 3.2 การเช่ือมโยงการสอนคร้งั ก่อนมายงั ครัง้ น้ี 3.3 การช้ีแจงเป้าหมาย/จดุ ประสงค์การเรยี นรแู้ กผ่ เู้ รียน การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 3.4 สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ัดและจุดประสงค์การ เรยี นรู้ 3.5 การสอดแทรกความรทู้ ว่ั ไปและคุณธรรม จริยธรรม 3.6 การใช้วธิ กี ารสอนท่ีหลากหลาย / สื่อการสอน ( การบรรยาย, การสาธติ , เรยี นเปน็ กลุม่ , การรายงานหน้าชน้ั , การค้นควา้ นอกห้อง, การปฏบิ ัติจรงิ และอน่ื ๆ )

ระดบั คะแนน ความคิดเหน็ / หวั ขอ้ การประเมนิ ข้อเสนอแนะ 5 4321 คิดเป็นร้อยละ 3.7 ผ้เู รียนมีบทบาทส่วนร่วมในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการเรยี นรู้ 3.8 ผูเ้ รียนมีการศึกษาคน้ คว้า สืบค้นข้อมูลจากแหลง่ ขอ้ มูลต่าง ๆ 3.9 การเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นซักถามหรอื แสดงความคดิ เห็น 3.10 มกี ารตงั้ คำถามท่ีกระตุ้นผูเ้ รียนใชก้ ระบวนการคดิ และ ร่วมแสดงความคดิ เหน็ 3.11 ผเู้ รียนมกี ารสอื่ สารและนำเสนอผลงานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ การสรุปบทเรียน 3.12 การสรุปเนือ้ หา ไดต้ รงตามตัวช้วี ดั 3.13 มีการอภปิ รายเพอื่ สรปุ บทเรียนโดยผู้สอน / ผูเ้ รยี น 3.14 ผ้เู รียนมโี อกาสสรุปบทเรยี นดว้ ยตนเอง หรอื ด้วย กระบวนการกลมุ่ 3.15 การชแ้ี นะการเรยี นรู้ / การศึกษาคน้ คว้า และแหล่งค้นคว้า เพ่ิมเตมิ 4. การวดั ผลประเมินผล 4.1 วดั และประเมินผลสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชว้ี ดั / จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 4.2 มีผลงาน / ชน้ิ งาน / ภาระงาน ซง่ึ เปน็ หลกั ฐานการเรยี นรู้ 4.3 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ / กจิ กรรมการเรียนรู้ และการวัด ประเมินผลการเรียนรู้ สอดคล้องสัมพันธก์ ัน 4.4 การประเมินผลตามสภาพจริง (สอบปรนัย,สอบอัตนยั ,สอบปฏิบตั ,ิ การรายงาน,การมอบหมายงาน, การทำแบบฝึกหดั ,สงั เกตพฤติกรรม,อ่ืน ๆ(ระบุ )............... ....................................................................................................... รวมคะแนน *** ( รอ้ ยละ ได้จากนำผลรวมของคะแนนท่ไี ด้ คูณด้วย 100 หารดว้ ย 130 ) สรปุ ผลการนเิ ทศ ตามเกณฑ์ 91 % - 100 % = ดมี าก  81 % - 90 % = ดี  ลงชื่อ...............................................ผรู้ บั การนิเทศ 71 % - 80 % = พอใช้  (..........................................) 61 % - 70 % = ควรปรับปรุง  ต่ำกว่า 60 % = ไม่ผ่าน  ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ตอนที่ 3 การสะท้อนความคิดของครู 1. การจดั การเรียนรู้ครั้งนป้ี ระทับใจตรงที่ (ของผู้รบั การนิเทศ) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. การจัดการเรียนรู้คร้ังน้ปี ระทับใจตรงที่ (ของผู้นิเทศ) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. การจัดการเรยี นรคู้ รง้ั น้ีจะดีกวา่ น้ีถา้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ........................................................ (นางหนึ่งฤทัย อุเทศ) ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการ ผูร้ บั การนเิ ทศ ลงช่อื ........................................................ ลงช่อื ........................................................ (...........................................) (นายธนภณ อุน่ วเิ ศษ) ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผ้ใู หก้ ารนเิ ทศ ผใู้ ห้การนเิ ทศ

แบบสังเกตชั้นเรียน (Classroom observation) 1. ช่อื - นามสกุล Model teacher ……………………………………………………………………………….......……………… 2. โรงเรยี นชมุ พลโพนพสิ ยั ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ..................... ห้อง ..................... 3. รายวิชาท่ใี ช้ดำเนนิ การ ...........................................................................................รหสั วชิ า ......................... 4. กลุม่ สาระการเรียนรู้ ............................................................... ภาคเรียนท่ี ..........ปีการศกึ ษา ...................... 5. จำนวนนักเรยี นท่มี าเรยี น ..................... คน นกั เรียนชาย ...................คน หญิง ...................... คน 6. วัน เดอื น ปี ทเี่ ขา้ สังเกตชัน้ เรียน ...........................................หอ้ ง................อาคาร........................................ 7. ผ้รู ว่ มสังเกตช้นั เรียน 7.1 ชือ่ – นามสกุล ........................................................................................................................................ 7.2 ช่อื – นามสกุล ........................................................................................................................................ 8. มกี ารบนั ทกึ ภาพ / บันทึกวดี ที ัศน์  มี  ไม่มี 9. เร่ิมกจิ กรรมการเรยี นการสอน เวลา .........................-......................... น. 10. บนั ทกึ การใชเ้ วลาในการสอนของครู ลำดับ กจิ กรรม การปฏบิ ัติ ใชเ้ วลา ขอ้ สงั เกต มี ไม่ (นาท)ี ชัดเจน 1 การนำเข้าสบู่ ทเรยี น 2 การตง้ั คำถามกระตุ้นการคิด 3 อธบิ ายบทเรียน 4 การมสี ่วนรว่ มของนักเรยี น 5 นกั เรียนถามครู 6 ครูตอบคำถามนกั เรียน 7 ครูอธิบายเพม่ิ เติมนักเรียนรายคน 8 ครูไมต่ อบคำถามนกั เรยี นบางคน 9 ครใู ห้คำชมเชยนกั เรยี น 10 ครูลงโทษนักเรียน 11 ครใู่ หน้ กั เรยี นทำกิจกรรมระหวา่ ง การสอน 12 ครูสรุปบทเรยี น 13 กจิ กรรมการประเมนิ การเรียนรู้ 14 นักเรยี นท่ีแสดงว่าเรียนรไู้ ด้แล้ว 15 นกั เรียนทีแ่ สดงวา่ ยงั เรียนไมร่ ู้เรื่อง

11. ครตู ำเนนิ การสอน เป็นไปตามแผนการทอี่ อกแบบการสอนหรือไม่ ............................................................. 12. ผลการใชว้ ิธีการสอนตามทอ่ี อกแบบ 12.1 ประเดน็ ทป่ี ระสบความสำเร็จ คือ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 12.2 ประเดน็ ที่ควรตอ้ งพัฒนา คอื ........................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 13. หากประเมินจากการสงั เกตพฤติกรรมการแสดงออกของนักเรียน 13.1 มนี ักเรยี นที่เรียนรไู้ ด้ ประมาณ ................................... คน 13.2 นกั เรียนทีค่ าดว่ายงั เรยี นรเู้ รื่องทคี่ รูสอนไม่ได้ ประมาณ ................................ คน 14. ตัวอยา่ งคำถามสำคญั ทีก่ ระตนุ้ ให้นกั เรยี นคิด (คิดการเรียนร้ไู ดด้ ี คอื ........................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 15. ตัวอยา่ งคำถามสำคัญทีน่ ักเรียนถามครู ท่ีสะท้อนความเขา้ ใจในเน้อื หาทเ่ี รยี นรู้ .......................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 16. ตัวอยา่ งคำถมสำคญั ทนี่ ักเรียนถามครู ทีส่ ะท้อนวา่ ยงั เรยี นรเู้ รอ่ื งนน้ั ไม่ได้ .................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 17. ขอ้ สนอแนวทางการปรับกระบวนการจดั กจิ กรรมการสอน คร้งั ตอ่ ไป .......................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เสรจ็ ส้ินการสอน เวลา ........................................ น. ลงซ่อื ................................................ผู้สงั เกตชัน้ เรียน ลงซือ่ ................................................ผูส้ งั เกตชัน้ เรียน (..............................................................) (..............................................................) วนั ท่ี ............................................................ วนั ที่ ............................................................

PLC-06 วงรอบ 1.4 การประชมุ สะท้อนคดิ หลังเปิดช้นั เรยี น บันทกึ ผลการประชมุ แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุม่ สาระการเรยี นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนชุมพลโพนพิสยั ชือ่ กลุม่ “PLC for Biology3” ครงั้ ที่ 6 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 วนั /เดอื น/ปี : 20 สงิ หาคม 2563 เริม่ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสร็จสนิ้ เวลา 17.30 น. รวมระยะเวลาท้งั ส้ิน 2 ชั่วโมง กิจกรรมครั้งน้อี ยู่ความสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรยี นร่วมกนั (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในช่อง )  ขนั้ ท่ี 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ที่ 2 ปฏบิ ตั ิและสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ข้ันที่ 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จำนวนครทู ีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรม 6 คน โดยมีรายชอ่ื และบทบาทต่อกจิ กรรม ดงั น้ี ท่ี ช่อื -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชื่อ 1. นายพพิ ฒั น์ ศรีสขุ พนั ธ์ ผู้อำนวยการโรงเรียน 2. นางปารฉิ ัตร เทียนทิพย์ รองผู้อำนวยการโรงเรียน 3. นางกาญจนา ทองจบ 4. นายธนภณ อนุ่ วิเศษ ผเู้ ชย่ี วชาญ 5. นางสาวเกศรนิ ทร์ ดีแสน หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ 6. นางหน่ึงฤทัย อเุ ทศ ครูรว่ มเรยี นรู้ ครูผูส้ อน 1. ประเดน็ ปัญหาทจี่ ะพฒั นา (เน้นคุณภาพผเู้ รียน) พฒั นาทกั ษะการคิดและแก้ปัญหาของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 รายวิชาชวี วทิ ยา โดยใช้กจิ กรรม การเรียนรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 2. สาเหตขุ องปัญหา - นกั เรยี นขาดทกั ษะการคิดและแก้ปัญหา รายวชิ าชีววทิ ยา ในการสอบระดบั โรงเรียนในแต่ละครั้งทม่ี ี การทดสอบเช่น การสอบกลางภาคและการสอบปลายภาคเรยี น - จากผสู้ อนไมม่ ีสื่อ และเทคโนโลยี - จากผ้สู อนไมม่ ีกจิ กรรมท่สี ่งเสริมให้นกั เรยี นเกิดทักษะการคิดและแก้ปญั หามากเท่าท่ีควร หรอื ยงั ไม่ มีแนวทางท่เี หมาะสมในการจัดการเรียนการสอน - จากตัวนักเรยี น ขาดความสนใจในการเรยี น ขาดความกระตือรือรน้ ในการเรยี น

3. ความร้/ู หลักการทนี่ ำมาใช้ 1. การพฒั นาทกั ษะการคิดและแกป้ ัญหา 2. การจดั การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5E) 3. เทคนคิ การใชค้ ำถาม 4. เกณฑการประเมนิ ทักษะการคิดและแกป้ ญั หา 5. การจัดสภาพแวดลอมและบรรยากาศการเรยี นรู้ 4. แนวทางการแกป้ ญั หา ครจู ะต้องปรบั เปล่ียนพฤติกรรมในการสอนโดยการหารูปแบบทีน่ ่าสนใจในการจดั การเรียนการสอน และนักเรียนตอ้ งปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมในการเรียน โดยนักเรียนตอ้ งเปน็ ศนู ยก์ ลางในการทำกจิ กรรมนั้น ๆ โดยจะตอ้ งเรียนรู้รว่ มกนั สรา้ งสรรคค์ วามรูจ้ ากสื่อการเรยี นท่มี ีอยู่รอบตวั ครจู งึ ต้องออกแบบ การจัดการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี ห้สอดคลอ้ งกับการเรียนรแู้ บบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ท่ี ส่งเสริมทกั ษะการคดิ และแกป้ ญั หา 5. การออกแบบกิจกรรม/เครื่องมอื /วิธีการเพอื่ แก้ปัญหา ออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรูแ้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5E) ท่ีสง่ เสริมทักษะการคดิ และการ แก้ปัญหา 6. กจิ กรรมท่ที ำ จากการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ท่ีส่งเสริมทักษะการคิดและการแก้ปัญหา เรื่อง การเลือกโครงสร้างของพืชเพื่อนำมาเป็นชิ้นส่วนเริ่มต้นในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พบว่า บรรลุตาม วตั ถุประสงค์ที่ตั้งไว้ คอื นกั เรียนสามารถออกแบบวิธกี ารทดลองเพ่ือศกึ ษาลกั ษณะของโครงสร้างพืชที่จะเลือก มาเป็นชิ้นส่วนเริ่มต้นในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ วิเคราะห์และอธิบายลักษณะของโครงสร้างพืชที่ได้จาก การศึกษา ตัดสินใจเลือกโครงสร้างพืชเพื่อนำมาเป็นชิ้นส่วนเริ่มต้นในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พร้อมทั้งระบุ เหตผุ ลประกอบการตัดสินใจจากแหล่งขอ้ มลู ที่หลากหลายได้ 7. ผลทไี่ ดจ้ ากกิจกรรม ได้แผนการจัดการเรียนรแู้ บบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ที่สง่ เสรมิ ทกั ษะการคิดและการแก้ปัญหา และ ขอ้ วิพากษอ์ อกแบบการสอนเพ่อื พฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ หเ้ หมาะสม 8. การนำผลที่ไดไ้ ปใช้ กจิ กรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ที่ส่งเสริมทกั ษะการคิดและการแก้ปัญหา สามารถ พฒั นาทักษะการคดิ และการแกป้ ัญหา 9. ขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ -

10. การประชุมครงั้ ตอ่ ไป - วนั ท่ี 1-2 กันยายน 2563 เวลา 15.30 – 17.30 น. หัวขอ้ ประชมุ เสนอปัญหาและแนวทางแก้ไข วองรอบท่ี 2 11. ร่องรอยหลักฐานประกอบการ PLC แผนการจัดการเรียนรู้ ภาพกิจกรรม เลิกประชุมเวลา 17.30 น. ลงช่อื ผู้บันทึก ลงช่อื (นางหนง่ึ ฤทัย อุเทศ) (นายธนภณ อ่นุ วิเศษ) ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการ หัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ความคิดเห็น.................................................................. ความคดิ เห็น................................................................. ..................................................................................... ...................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ลงช่ือ ลงช่อื (นางจติ รามาศ คำดบี ญุ ) (นายวิทยา อินกง) หวั หน้างานกำกับตดิ ตาม PLC หัวหน้ากลุ่มงานบริหารวิชาการ ความคดิ เห็น.................................................................. ความคดิ เห็น.................................................................. ...................................................................................... ...................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ลงชือ่ ลงช่ือ (นางปาริฉตั ร เทยี นทิพย)์ (นายพพิ ฒั น์ ศรีสุขพนั ธ์) รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนชุมพลโพนพสิ ัย

ภาพการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม PLC ภาพการจดั กิจกรรม PLC ของกลุ่ม “PLC for Biology3” ขนั้ ที่ 3 สะทอ้ นความคดิ และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) โดยดำเนินการในวันท่ี 20 สิงหาคม 2563 เวลา 15.30 – 17.30 น. สถานที่ หอ้ งเกียรตยิ ศ

ภาคผนวก

แบบบันทึกขอ้ มูลการเปดิ ชัน้ เรียนของชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) โรงเรียนชุมพลโพนพิสยั ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 วงรอบท่ี 1 ชอื่ กลมุ่ PLC for Biology3 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วงรอบ วนั /เดือน/ปี เวลา ช่อื -สกุล ชื่อ-สกุล สถานท่ี ท่ี Model Teacher Buddy Teacher 1 องั คาร 10.00 -12.00 น. นางหนงึ่ ฤทัย อุเทศ นางสาวเกศรินทร์ ดีแสน หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 11 ส.ค. 63 ชวี วทิ ยา

แบบสรุปการบนั ทกึ ข้อมลู การพัฒนาวิชาชีพชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) โรงเรียนชุมพลโพนพิสัย ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 วงรอบท่ี 1 ชอ่ื กลุม่ PLC for Biology3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโดนโลยี สมาชกิ ข้นั PLAN วนั /เวลา/ขัน้ ตอนทีป่ ฏบิ ัติกิจกรรม รวมเวลา ขัน้ Do ข้นั See (ชัว่ โมง) นางหนง่ึ ฤทยั อุเทศ 6 ส.ค. 63 15.30-18.30 น. Model Buddy นางสาวเกศรินทร์ 7 ส.ค. 2563 ดแี สน 15.30-18.30 น. 11 ส.ค. 63 - 20 ส.ค. 63 9 คาบ 3-4 15.30-17.30 น. 6 ส.ค. 63 10.00-12.00 น. 15.30-18.30 น. 11 ส.ค. 63 20 ส.ค. 63 9 7 ส.ค. 2563 คาบ 3-4 15.30-17.30 น. 15.30-18.30 น. - 10.00-12.00 น. Model teacher นางหนง่ึ ฤทัย อเุ ทศ ลงช่ือ ผรู้ ายงาน ลงช่ือ ผบู้ ริหาร (นางหนงึ่ ฤทยั อเุ ทศ) (นายพพิ ัฒน์ ศรีสุขพนั ธ)์ ตำแหน่งครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นชุมพลโพนพสิ ัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook