Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารติวเข้มชีววิทยา สกลนคร

เอกสารติวเข้มชีววิทยา สกลนคร

Published by phisit.yaemnun, 2019-05-22 03:05:19

Description: cover-bio

Search

Read the Text Version

วิชาชวี วทิ ยา อาจารยอ ำพล ขวญั พกั (ครกู าแฟ)

ชีววิทยา ครกู าแฟ ติวเขม้ เติมเต็มความรู้ ชีววิทยา ครกู าแฟ ชีวะ คือ วิทย์ และกเ็ หมือนความรใู้ นศาสตรอ์ ืน ๆ นนั แหละ ธรรมชาติของวิชานีคือ………………………….. 1) PDCA CYCLE 2) เป้ าหมายชดั เจน 3) เวลา คือ สงิ ทีใหค้ วามยตุ ิธรรมกบั ทกุ คน 4) Mind Map คือ กระดาษทด อยา่ เครียด 3C 5) เคยอา่ นสารบญั กนั ไหมเอ่ย 6) มาหมนุ วงลอ้ ฉนั ทําไดก้ นั ดีกว่า Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ ชดุ ที 1 ชีวะ…ลา่ สดุ 1. พืช A และ B เจริญเติบโตในสภาพแวดลอมท่ีตางกัน คือ ทะเลทรายและปาดิบช้ืน โดยพืชแตละชนิด มี ลักษณะใบตา งกัน ดงั นี้ พชื A ใบมกี ารลดรูปใหมีขนาดเล็ก มสี ารเคลอื บทีผ่ ิวใบหนา และมจี าํ นวนปากใบนอ ย พืช B ใบมีขนาดใหญ มสี ารเคลือบทผี่ วิ ใบบาง และมีจํานวนปากใบมาก ผลการศึกษาอัตราการคายน้ํา ของพืช 2 ชนดิ ในชวงเวลาหน่ึง เปนดงั กราฟ จากขอมูล ขอ ใดระบุกราฟแสดงอัตราการคายน้ําของพืชและลกั ษณะพนื้ ทที่ เ่ี หมาะสม ตอ การเจรญิ เติบโตของพืช ดังกลา วไดถูกตอ ง 1. กราฟท่ี 1 แสดงอตั ราการคายนํ้าของพืช A ซึ่งเจริญไดด ใี นพืน้ ที่ทะเลทราย 2. กราฟที่ 1 แสดงอตั ราการคายนํา้ ของพชื B ซ่งึ เจรญิ ไดดใี นพน้ื ท่ที ะเลทราย 3. กราฟที่ 2 แสดงอัตราการคายน้ําของพืช A ซงึ่ เจรญิ ไดด ีในพนื้ ที่ทะเลทราย 4. กราฟท่ี 2 แสดงอตั ราการคายนาํ้ ของพชื A ซึง่ เจริญไดดีในพน้ื ที่ปาดิบชื้น 5. กราฟท่ี 2 แสดงอัตราการคายน้าํ ของพืช B ซึ่งเจรญิ ไดดใี นพืน้ ท่ปี า ดิบชนื้ Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ 2. นักเรยี นจดั ชดุ การทดลอง 5 ชุด โดยใชก่งิ ไมท ี่มีอายเุ ทากันจากตนเดยี วกนั เด็ดใบในชุดการทดลองท่ี 3 และ 5 ออกบางสวน จากนั้นแชกิ่งไมในหลอดทดลองท่ีมีนา้ํ 32 มิลลิลิตร และมีน้าํ มันพืช 3 มิลลิลิตร เททับอยู แลวตงั้ ไวในสภาวะทแี่ ตกตา งกนั ดงั ภาพ ชดุ ที่ 1 ชดุ ที่ 2 ชดุ ท่ี 3 ชุดท่ี 4 ชุดที่ 5 ความเขมแสงมาก ความเขม แสงนอ ย ความเขมแสงมาก ความเขม แสงมาก ความเขมแสงมาก ความชืน้ สมั พทั ธมาก ความชื้นสัมพทั ธม าก ความช้ืนสัมพทั ธนอย ความชืน้ สมั พทั ธนอย ความชนื้ สมั พัทธม าก เม่ือเวลาผา นไป 30 นาที พบวา มปี รมิ าณน้ําคงเหลือในหลอดทดลอง ดงั ตาราง ชดุ การทดลองที่ ปริมาณนาํ้ คงเหลือในหลอดทดลอง (mL) 1 15 2 20 3 25 4 10 5 30 Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ ขอ ใดเลอื กชุดการทดลองเพอื่ ศึกษาปจจัยท่ีเกี่ยวของกับการคายน้ําและเปรียบเทยี บ อัตราการคายนํ้าไดถูกตอ ง ชดุ การทดลองทใ่ี ช ปจจยั ทีต่ อ งการศึกษา ผลการเปรียบเทยี บอตั ราการคายนา้ํ 1. 1 และ 2 ความเขมแสง ชุดการทดลองที่ 2 มอี ตั ราการคายนํ้า มากกวา ชุด การทดลองที่ 1 2. 1 และ 4 ความชนื้ สัมพัทธ ชดุ การทดลองที่ 4 มีอตั ราการคายน้ํา มากกวา ชุด การทดลองที่ 1 3. 2 และ 4 จํานวนใบ ชดุ การทดลองที่ 4 มีอัตราการคายนํ้า มากกวา ชุด การทดลองที่ 2 4 3 และ 4 จํานวนใบ ชุดการทดลองท่ี 3 มอี ตั ราการคายนํ้า มากกวา ชุด การทดลองที่ 4 5. 3 และ 5 ความเขม แสง ชดุ การทดลองที่ 5 มอี ตั ราการคายนํ้า มากกวา ชุด การทดลองท่ี 3 3. โรคเบาหวานชนิดที่ 1 เกิดจากดับออ นสราง “ฮอรโ มนอินซูลนิ ” ไดนอ ยหรอื สรางไมไดเลย ซ่ึงฮอรโมนชนิดนี้ ทําหนา ทชี่ ว ยใหร างกายสลายนํ้าตาลมาใชเปน พลงั งาน เมื่ออนิ ซูลินในรางกายไมเพียงพอ รางกายไมสามารถนํา นาํ้ ตาลในเลือดไปใชไ ด ทาํ ใหป รมิ าณนํ้าตาลในเลือดสูง รางกายจะปรับตัวไปใชพลังงานจากการสลายสารอาหาร อื่น เชน ไขมนั หรือ โปรตนี ซึ่งกอใหเกิดการสะสมของของเสียทเ่ี ปนอนั ตรายในเลือด น้าํ ตาลและของเสียปริมาณ มากทาํ ใหเ ลือดของผปู วยโรคเบาหวานมคี วามเขม ขน สูง รางกายจึงตองขับนาํ้ ตาลและของเสยี ผา นทางปส สาวะ ทาํ ใหผ ปู ว ยโรคเบาหวานปส สาวะบอ ยในปริมาณมากและรสู กึ กระหายนา้ํ ขอใดไมใชส าเหตทุ ่ีทําใหผปู ว ยโรคเบาหวานปสสาวะบอ ย ในปริมาณมาก 1. นาํ้ จะออสโมซสิ จากเซลลม าสเู ลอื ด 2. รา งกายกําจดั น้าํ ตาลทม่ี ีมากเกนิ ในเลอื ด 3. รา งกายกาํ จดั ของเสยี ท่ีเปน อันตรายในเลอื ด 4. ตอ มใตสมองหล่งั ฮอรโมนเขาสูกระแสเลือดไปกระตนุ ทอ หนว ยไต 5. ของเหลวที่ผา นทอหนว ยไตมีปรมิ าณนํา้ ตาลมาก นา้ํ จึงถกู ดูดกลับไดนอย Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ 4.โรคลมแดด เกิดจากการที่รา งกายอยูกลางแจง แดดรอนจัดเปนเวลานาน รางกายจึงปรับสมดุลอุณหภมู ิไมท นั ทําใหรา งกายมีอณุ หภมู ิสงู ถงึ 40 - 41 องศาเซลเซียส โดยอาการของผูปว ยทเ่ี ปน โรคลมแดด คือ มีอาการเปน ลม เพอ หมดสติ และอาจเสียชีวติ ได ขอใดกลา วถงึ วธิ กี ารทส่ี ามารถปอ งกนั โรคลมแดดไดถ กู ตอ ง 1. รับประทานยาทกี่ ระตนุ ใหห ลอดเลือดหดตวั 2. ดืม่ นํ้าในปรมิ าณมากเพอื่ ใหเ ลือดเขมขนมาก และมคี วามดันเลอื ดตาํ่ 3. รบั ประทานอาหารปริมาณมากเพือ่ เพิ่มการเผาผลาญอาหารในรา งกาย 4. สวมใสเสื้อผา ที่เบาบางเพอ่ื เพ่ิมการระเหยของเหงื่อและการพาความรอ น 5. ใชผ า เยน็ ประคบสว นตา ง ๆ ของรา งกาย เพ่อื กระตุนอตั ราเมแทบอลซิ มึ ใหเพ่มิ ข้ึน 5.ผปู ว ยรายหนง่ึ มีความผิดปกตขิ องระบบภมู ิคมุ กัน โดยแพทยวนิ จิ ฉยั วา ผปู วยรายนีม้ คี วามผดิ ปกตทิ ีเ่ ซลลเม็ด เลือดขาวชนิดฟาโกไซตแ ละเซลลท ี ตอมาเม่อื ผูปว ยรายนไ้ี ดร บั วัคซีน พบวา ไมสามารถสรา งภูมคิ ุมกันตอ โรคน้นั ได เพราะเหตใุ ดผูปว ยรายนจี้ งึ ไมส ามารถสรา งภมู คิ มุ กันตอ โรคน้ันได 1. เซลลเมด็ เลอื ดขาวชนดิ ฟาโกไซตไมสามารถจับกบั แอนติบอดีได 2. เซลลเ ม็ดเลอื ดขาวชนดิ เซลลท ี่ไมสามารถสง สญั ญาณใหเซลลบแี บง เซลลได 3. เซลลเมด็ เลอื ดขาวชนิดฟาโกไซตไ มสามารถพฒั นาไปเปน เซลลพ ลาสมาได 4. เซลลเ ม็ดเลือดขาวชนดิ เซลลท่ไี มสามารถสรา งแอนตบิ อดที จี่ าํ เพาะกับแอนติเจนได 5. เซลลเม็ดเลือดขาวชนิดเซลลท ไ่ี มส ามารถกระตุน ใหเ ซลลม จี ดจาํ และจาํ แนกแอนติเจนได 6. ขอใดคอื กลไกของรา งกายทที่ าํ ใหเ กิดโรคภมู แิ พ 1. สรา งแอนติเจนเพือ่ ไปจบั แอนตบิ อดี 2. สรา งแอนตบิ อดีเพอื่ ยับยงั้ การสรา งภมู คิ มุ กนั 3. สรา งสารฮิสตามนิ ออกมาเมือ่ ไดรบั สารกอภมู แิ พ 4. สรา งแอนติฮิสตามินเพ่อื กระตุนใหเกิดอาการแพ 5. สรา งเซลลเ มด็ เลอื ดขาวชนดิ ฟาโกไซตใหสรา งแอนตบิ อดี Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ 7. โรคฮโี มฟเ ลยี เปนโรคทางพันธุกรรมท่ถี ูกควบคมุ โดยยนื บนโครโมโซมเพศ เพดดิกรีแสดงการถายทอดลักษณะโรคฮโี มฟเลียของครอบครวั หนึ่ง เปนดังแผนภาพ กาํ หนดให ผชู ายปกติ ผูหญงิ ปกติ ผูชายเปน โรคฮีโมฟเ ลยี ผูหญงิ เปนโรคฮโี มฟเลีย จากขอ มูล บคุ คลใดท่ไี มส ามารถสรปุ ไดวา เปน พาหะของโรคฮโี มฟเลีย 1. รุนท่ี I คนที่ 2 2. รุนที่ II คนที่ 3 3. รุนท่ี II คนที่ 4 4. รนุ ที่ III คนท่ี 1 5. รุนท่ี III คนที่ 5 Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ 8. สีขนของสัตวช นิดหนึ่งถูกควบคุมดวยยีน Agouti มีแอลลีล 2 แบบ คือ A และ 2 โดยแอลลีล A ควบคุม ลักษณะขนสเี หลอื งซงึ่ เปนลกั ษณะเดน และแอลลีล 2 ควบคุมลักษณะขนสีดําซึ่งเปนลักษณะดอย เพดดิกรีของ สัตวชนดิ นใ้ี นปา แหง หนึ่ง เปน ดังแผนภาพ กําหนดให และ คอื สัตวท ี่มีขนสเี หลอื ง และ คอื สตั วท ม่ี ขี นสีดํา จากขอ มลู สตั วต ัวใดทีส่ ามารถระบคุ ยู นื ไดแนน อนวาเปน Aa 1. รุน ท่ี I ตวั ที่ 2 2. รนุ ท่ี I ตวั ที่ 4 3. รนุ ที่ II ตวั ที่ 2 4. รนุ ท่ี II ตวั ที่ 4 5. รุน ท่ี III ตัวท่ี 2 Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ 9. เหตุการณในขอใดที่พบเฉพาะในการแบง เซลลแ บบไมโอซสิ เทานน้ั 1. การเขา คูกนั ของโครโมโซมคเู หมอื น 2. การจําลองตัวเองของโครโมโซมเปน 2 โครมาทิด 3. การแยกกนั ของโครมาทิดท่ยี ึดติดกนั ไปยงั แตล ะข้วั เซลล 4. การแบงเซลลเ ร่ิมตน จากเซลลทม่ี ีโครโมโซมเทา กับ 2n 5. การแบง เซลลในขั้นตอนสุดทา ยจะไดเซลลทม่ี ีโครโมโซม 2 ชดุ 10. ลายพมิ พด ีเอ็นเอของพอแมสองครอบครวั และลูกสามคน ไดแ ก A B และ C เปนดังภาพ จากขอมูล ขอ ใดระบคุ วามสมั พันธข องครอบครวั ไดถ ูกตอง 1. A กับ C เปนลกู ของครอบครัวที่ 1 และ B เปนลูกของครอบครวั ท่ี 2 2. A กบั C เปนลูกของครอบครวั ท่ี 2 และ B เปนลกู ของครอบครัวท่ี 1 3. A เปนลูกของครอบครัวท่ี 1 และ B กับ C เปน ลกู ของครอบครัวที่ 2 4. A B และ C เปนลูกของครอบครัวท่ี 1 5. A B และ C เปนลกู ของครอบครวั ท่ี 2 Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ 11. ขอ ใดกลาวถงึ ความหลากหลายทางชีวภาพไมถกู ตอง 1. การเกิดภยั พิบตั ิจะทําใหค วามหลากหลายทางชีวภาพเปล่ยี นแปลงไป 2. การลา สัตวปาท่ีใกลส ญู พนั ธอุ าจทาํ ใหค วามหลากหลายของสปชสี ลดลง 3. การบุกรกุ พืน้ ทปี่ า ชายเลนของมนษุ ยอาจสง ผลตอส่ิงมชี วี ติ ทีอ่ ยใู นระบบนิเวศอ่นื ดว ย 4. การละลายของธารนํา้ แขง็ จะสงผลตอความหลากหลายของระบบนิเวศเฉพาะแถบขว้ั โลก 5. การดือ้ ยาปฏชิ วี นะของแบคทีเรยี เปนผลจากความหลากหลายทางพันธกุ รรมของแบคทเี รีย 12. หมีน้าํ เปนสัตวน าํ้ ขนาดเลก็ (0.05 - 1.20 มลิ ลเิ มตร) มี 8 ขา โดยปลายขามกี รงเล็บ จงึ มลี กั ษณะคลา ยหมี หมี นํา้ สวนใหญมักอาศัยอยูบนบก ซ่ึงหมีนํา้ บนบกเหลานี้ตองการนาํ้ ในการดํารงชีวิต จึงอาศัยอยูตามมอส ไลเคน ดิน และกองเศษใบไม รวมไปถึงบนพืชอิงอาศัย โดยหมีนํ้าบนบก มีความทนทานมาก สามารถอยูรอดไดใน สภาพแวดลอมทไี่ มเ อ้อื ตอ การดํารงชวี ติ ในขณะท่ีหมีนา้ํ ท่อี าศัยอยใู นทะเล ซึง่ เปนกลมุ ที่เกา แกและโบราณทสี่ ดุ ไม สามารถทนทานตอ สภาพแวดลอ มเชน นไี้ ด ขอ ความใดตอไปนี้สอดคลองกบั ทฤษฎกี ารคัดเลือกตามธรรมชาตมิ ากท่ีสดุ 1. หมีน้าํ บนบกมีลําตัวขนาดเลก็ 2. หมีนาํ้ บนบกสามารถพรางตัวไดดี 3. หมีนาํ้ บนบกสามารถซอมแซมรา งกายไดดี 4. หมนี ้ําบนบกสามารถกนิ อาหารไดห ลากหลาย 5. หมนี ํ้าบนบกสามารถอยรู อดจนมีลูกรนุ ถดั ไปได Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ 13. แพลงกต อนบลมู คือ ปรากฏการณทแี่ พลงกต อนพชื มีการเจริญเติบโตและเพ่ิมจํานวนอยา งรวดเร็ว เน่ืองจาก ในน้ํามีธาตอุ าหารสูงและมีสภาวะท่ีเหมาะสมกับการเจริญของแพลงกตอนพืช จึงมองเห็นน้ําเปนสีตาง ๆ ซ่ึง แพลงกต อนพชื ทม่ี ีจํานวนมากจะบดบงั แสงอาทิตย จงึ สง ผลกระทบตอการสังเคราะหด ว ยแสงของสงิ่ มชี วี ติ ใตน าํ้ อนื่ ๆ แมว า แพลงกตอนพืชจะสามารถใหแ กส ออกซเิ จน จากการสงั เคราะหด วยแสงได แตเมื่อปรมิ าณธาตอุ าหารในนาํ้ หมดลงแพลงกต อนพชื จํานวนมากนีจ้ ะตาย จึงถกู ยอยสลายดว ยจลุ นิ ทรยี  ซึ่งตองใชแ กสออกซิเจนปริมาณมาก ทํา ใหปรมิ าณแกสออกซิเจนในน้ําลดลง ระบบนเิ วศแหลง น้าํ แหงหน่งึ มีสายใยอาหารเปน ดงั แผนภาพ ถาระบบนเิ วศแหลง นา้ํ แหง นี้เกิดแพลงกตอนบลูม จะสงผลตอ องคป ระกอบของระบบนเิ วศนีอ้ ยางไร 1. อาหารของแพลงกดอนสตั วจะลดลง 2. จํานวนของสาหรายและหอยฝาเดยี วจะลดลง 3. ในชว งเวลากลางคนื ปริมาณแกสออกซิเจนในน้ําจะมากกวาเวลากลางวนั 4. หากแพลงกตอนพืชสะสมสารพษิ ภายในเซลล หอยสองฝาจะสะสมสารพิษมากทส่ี ดุ 5. การถา ยทอดพลังงานจากแพลงกตอนพืชไปยังหมกึ มากกวา แพลงกต อนพืชไปยังดาวทะเล Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ 14. ระบบนิเวศหน่งึ ที่อยใู นภาวะสมดลุ จะมจี าํ นวนของสง่ิ มชี วี ิตในแตล ะลาํ ดบั ขนั้ ของโซอ าหาร เปนดังแผนภมู ิแทง จากขอ มูล จํานวนของส่งิ มชี ีวิตในแตล ะลาํ ดบั ขัน้ ของโซอาหารสอดคลอ งกบั พรี ะมดิ มวลชวี ภาพ และตวั อยา งชนิด ของส่ิงมีชวี ติ ในขอ ใด Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ 15. ปาพรุแหงหน่ึงถูกเผาจนเกิดความเสียหายเปนพื้นที่กวาง โดยพื้นที่ที่ไดรบั ความเสียหาย ถกู แบงเปน 2 บริเวณ ซึง่ มกี ารเปล่ียนแปลงแตกตา งกนั ดงั นี้ บริเวณท่ี 1 ถกู ปลอ ยทิ้งรางจนเกดิ เปน ระบบนเิ วศแบบใหมที่พบเฉพาะพืชลม ลุก บริเวณที่ 2 ถกู ปลอ ยทงิ้ รา งจนเกิดเปนระบบนิเวศแหลงนํ้า ขอ ใดกลาวถกู ตอ งเก่ยี วกับการเปลี่ยนแปลงแทนทท่ี ีเ่ กดิ ขนึ้ ของท้ัง 2 บริเวณ บริเวณท่ี 1 บรเิ วณที่ 2 1. เกิดการเปลย่ี นแปลงแทนท่แี บบทุติยภมู ิ ไมเ กดิ การเปลย่ี นแปลงแทนที่ 2. ไมเ กดิ การเปลยี่ นแปลงแทนที่ เกดิ การเปลี่ยนแปลงแทนทีแ่ บบปฐมภมู ิ 3. เกดิ การเปล่ยี นแปลงแทนทแี่ บบปฐมภูมิ เกิดการเปล่ยี นแปลงแทนทแ่ี บบทตุ ิยภมู ิ 4 เกดิ การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภมู ิ เกิดการเปลี่ยนแปลงแทนทแ่ี บบปฐมภูมิ 5. เกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ เกิดการเปลย่ี นแปลงแทนทแ่ี บบทตุ ิยภูมิ Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ ชดุ ที 2 ชีวะ…คราเดิม 1.ในทะเลทราย ซง่ึ มีอากาศรอนและแหง แลง ถา มนุษยท าํ กจิ กรรมโดยไมด ม่ื นาํ้ ขอใดคอื การเปล่ียนแปลงของรา งกายเพอ่ื ปรับสมดลุ นาํ้ ทนั ทที ห่ี ยดุ ทาํ กจิ กรรม ความเขม ขน ของเลือด ตอมใตส มอง ทอหนว ยไต 1. ลดลง ยับย้ังการสรา งฮอรโมน ไมดดู นา้ํ กลบั 2. ลดลง สรา งฮอรโมน ดดู นํ้ากลบั 3. สูงขึ้น ยบั ยง้ั การสรา งฮอรโมน ไมดดู นา้ํ กลับ 4. สงู ขึน้ สรา งฮอรโ มน ดูดนา้ํ กลับ 5. ไมเ ปลี่ยนแปลง ยับยัง้ การสรา งฮอรโ มน ดดู น้ํากลับ 2.การตรวจสอบโปรตีนบนผวิ นาํ้ ของละอองเรณใู นดอกไม 3 ชนิด เปนดงั ตาราง ถา ผลการตรวจเลอื ดของผปู ว ยที่เปนโรคภมู ิแพล ะอองเรณู พบแอนติบอดี 3 แบบ คือ เปนจาํ นวนมาก จากขอมลู ผูป ว ยควรหลกี เล่ียงละอองเรณูของดอกไมชนดิ ใด เพราะเหตุใด 1.ชนดิ ท่ี 1 และ 3 เนื่องจากโปรตีนบนผิวจะจับกับแอนตบิ อดแี ลว ยบั ย้งั การหลง่ั สารฮสิ ตามีน 2.ชนิดท่ี 1 และ 3 เนอื่ งจากโปรตนี บนผิวจะไมจ ับกับแอนตบิ อดแี ลว กระตุนการหลัง่ สารฮสิ ตามนี 3.ชนิดท่ี 2 และ 3 เน่ืองจากโปรตนี บนผิวจะจับกบั แอนตบิ อดีแลว ยบั ย้งั การหล่งั สารฮิสตามนี 4.ชนดิ ท่ี 2 และ 3 เนอ่ื งจากโปรตีนบนผวิ จะจับกับแอนติบอดแี ลว กระตุนการหลงั่ สารฮสิ ตามนี 5.ชนิดที่ 2 และ 3 เนื่องจากโปรตีนบนผิวจะไมจ ับกับแอนตบิ อดแี ลว กระตนุ การหลัง่ สารฮสิ ตามีน Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ 3.นาย ก เคยเปนโรคอสี ุกอใี สตอนอายุ 8 ขวบ ตอ มามกี ารระบาดของโรคอีสกุ อใี สอกี แตพบวา นาย ก ไมเปนโรคน้ี แลว ขอ ใดกลา วถงึ ระบบภูมมุ กันในรา งกายของนาย ก. ตอเชอ้ื โรคอสี ุกอีใสไดถกู ตอ ง 1.รา งกายจะเกดิ ภมู ิคมุ กันแบบรบั มา โดยมเี ชื้อโรคอสี ุกอใี สเปน แอนตเิ จน 2.รา งกายจะเกิดภมู ิคมุ กันแบบกอเอง โดยมีเช้อื โรคอีสุกอใี สเปนแอนติเจน 3.รา งกายจะเกดิ ภมู ิคมุ กนั แบบกอเอง โดยมีเชือ้ โรคอีสุกอีใสเปน แอนติบอดี 4.รา งกายจะเกิดภมู ิคมุ กันแบบรบั มา โดยมเี ชอื้ โรคอสี ุกอใี สเปนทงั้ แอนตเิ จนและแอนตบิ อดี 5.รา งกายจะเกิดภมู คิ มุ กันแบบกอเอง โดยมีเช้อื โรคอสี กุ อใี สเปนทงั้ แอนตเิ จนและแอนตบิ อดี 4.กระบวนการแบง เซลลข องกบ 2 รปู แบบ เปนดงั แผนภาพ Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ จากภาพจาํ ลองการแบง เซลลข องกบ ขอ ใดกลา วถกู ตอ ง 1.ขั้นตอน 1A และ 2A ทําใหจ าํ นวนชดุ โครโมโซมเพ่มิ ข้นึ จาก 2n เปน 4n 2.ขั้นตอน 1B ทาํ ใหมกี ารแลกเปลีย่ นยนี ของโครโมโซมคูเหมอื น 3.ขั้นตอน 2B ทําใหเกดิ การแปรผันทางพนั ธุกรรม 4.ข้นั ตอน 1C และ 2C ทาํ ใหเกดิ การแปรผนั ทางพนั ธกุ รรม 5.ขน้ั ตอน 1C และ 2C ทาํ ใหจ าํ นวนชดุ โครโมโซมลดลงจาก 2n เปน n 5.ชายคนหน่ึงตาบอดสี แตง งานกบั หญงิ ตาปกติ แลว มลี ูกชายคนแรกตาบอดสี ขอ ใดกลา วถงึ ลักษณะตาบอดสใี นครอบครวั นี้ไดถ ูกตอง 1.ลกู ชายทกุ คนจะตาบอดสี 2.ลูกสาวทกุ คนจะมีตาปกติ แตเ ปนพาหะ 3.ลกู ชายมีโอกาสตาบอดสมี ากกวา ลกู สาว 4.ลกู ชายแตล ะคนมโี อกาสตาบอดสรี อ ยละ 50 5.ลกู ชายและลกู สาวแตล ะคนมีโอกาสตาบอดสรี อยละ 25 6.ขอ ใดเปน การประยกุ ตใชเทคโนโลยชี วี ภาพทไ่ี มถ ูกตอง 1.การตรวจหาคนรา ยโดยใชล ายพมิ พด ีเอน็ เอ 2.การระบคุ วามแตกตา งระหวา งแฝดรว มไขด ว ยลายพมิ พด ีเอ็นเอ 3.การอนรุ กั ษพ นั ธกุ ลว ยไมใหม ลี กั ษณะคงเดมิ ดว ยการเพาะเลีย้ งเนอ้ื เย่อื 4.การสรา งกระตา ยที่เหมอื นกบั กระตา ยตนแบบดว ยการโคลนจากเซลลตบั 5.การสรา งแบคทเี รียทผ่ี ลิตนา้ํ มนั จากยีนของสาหรา ยดว ยการใชโ มเลกลุ ดีเอ็นเอลูกผสม Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ 7.ขอใดไมใ ชผ ลของการคดั เลือกทางธรรมชาตทิ ่เี กิดจากความแตกตา งของโครงสรา งรา งกาย 1.ยรี าฟมลี าํ คอยาว เพ่ือใหส ามารถเลม็ กนิ ใบไมบ นตน ไมส งู ๆ ได 2.กระตา ยแลพัสมีขนสขี าวทีก่ ลมกลืนกบั หมิ ะ เพ่ือชว ยพรางตวั ในการหลบหลกี ศัตรู 3.สุนัขจงิ้ จอกทะเลทรายมหี าง หู และขายาว เพ่อื เพิม่ พ้นื ทผี่ วิ ในการระบายความรอ น 4.กิ้งกา ทะเลทรายมักออกหากินตอนกลางคืน เพ่ือหลกี เลย่ี งอากาศรอนในตอนกลางวัน 5.นกจาบมจี ะงอยปากใหญแ ละแข็งแรง เพอื่ ใหส ามารถกินเมล็ดพชื ขนาดใหญแ ละมเี ปลอื กแข็งได 8.กะบวนการใดทีท่ าํ ใหแ กส คารบ อนไดออกไซดในบรรยากาศเพมิ่ ข้ึนและลดลง ตามลาํ ดบั 1.การคายนา้ํ การหายใจ 2.การสงั เคราะหด ว ยแสง การหายใจ 3.การหายใจ การยอ ยสลายซากพชื และซากสตั ว 4.การสงั เคราะหดว ยแสง การยอ ยสลายซากพชื และซากสัตว 5.การยอ ยสลายซากพชื และซากสตั ว การสงั เคราะหดว ยแสง 9.ในระบบนิเวศทสี่ มดุลแหง หนึ่ง มกี ารถา ยทอดพลังงานในรปู สายใยอาหาร ดังแผนภาพ Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ ขอใดอธิบายการถา ยทอดพลังงานในสายใยอาหารนี้ไมถ ูกตอ ง 1.หญา เปนผผู ลติ จะมชี วี ภาพมากกวา สง่ิ มชี วี ติ ชนดิ อ่นื ในระบบนิเวศ 2.ถา มีการฉีดสารเคมกี าํ จดั วัชพืช นกจะมกี ารสะสมสารเคมมี ากกวา หอยทาก 3.ถา กระตา ยเพ่มิ ข้นึ จะสง ผลใหจ าํ นวนแมลงและหอยทากลดลงเพราะอาหารนอ ยลง 4.ถา กบและนกมีจาํ นวนลดลง แมลงและหอยทากจะมจี าํ นวนเพ่ิมขน้ึ เพราะผูลา ลดลง 5.พลังงานในโซอาหารจะถา ยทอดไปท่เี หย่ยี วมากทส่ี ุด เพราะเปน ผูบรโิ ภคขน้ั สดุ ทา ย 10.พ้ืนทีใ่ ดจะเกดิ การเปล่ียนแปลงแทนทแ่ี บบปฐมภมู ิ 1.พน้ื ทป่ี า เสอ่ื มโทรม 2.พน้ื ที่มีการเผาทาํ ลายปา 3.พน้ื ท่ีปา ท่เี กดิ นาํ้ ทว มอยางรุนแรง 4.พื้นท่ีถกู ปกคลุมดว ยลาวาจากภูเขาไฟ 5.พน้ื ที่ทาํ ไรนาของชาวนาทถ่ี กู ปลอยทง้ิ รา ง Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ 11.ขอมลู แสดงปรมิ าณแกส คารบอนมอนอกไซดและจาํ นวนชนิดของไลเคนที่พบในบรเิ วณที่มรี ะยะหา งจากตัว เมืองตา งกัน ดังตาราง ระยะหา งจากตวั เมอื ง ปรมิ าณแกส คารบ อนมอนอกไซด จาํ นวนชนิดของไลเคน (Km) (ppm) 0 25 พ.ศ.2550 พ.ศ.2555 พ.ศ.2550 พ.ศ.2555 50 5 2 75 1.5 2.0 8 5 100 10 7 125 1.2 1.5 15 13 150 17 15 1.0 1.2 20 18 24 20 0.8 1.0 0.6 0.8 0.4 0.6 0.2 0.4 จากขอ มลู ขอใดกลา วถกู ตอ ง 1.คุณภาพอากาศใน พ.ศ. 2555 ดกี วา พ.ศ.2550 2.จาํ นวนชนดิ ของไลเคนจะเพม่ิ ขน้ึ ตามคณุ ภาพอากาศท่ีลดลง 3.ความหลากหลายของไลเคน แปรผกผนั กบั ระยะหา งจากตวั เมือง 4.ความหลากหลายของไลเคนแปรผกผันกบั ปรมิ าณแกส คารบ อนมอนอกไซด 5.จาํ นวนชนิดของไลเคนในทกุ ระยะหา งจากตวั เมอื งใน พ.ศ.2555 มากกวา พ.ศ.2550 Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ 12.ตารางแสดงจาํ นวนแพลงกต อน และปรมิ าณออกซเิ จนทล่ี ะลายในนาํ้ ของแหลง นาํ้ 2 บริเวณ ทงั้ กอนและหลงั การสรา งโรงงาน เปนดังนี้ จากขอ มลู หลงั สรา งโรงงาน ขอ ความใดกลา วถกู ตอ ง กอนสรา งโรงงาน หลงั สรา งโรงงาน จาํ นวนแพลงกตอน ปรมิ าณออกซิเจน แหลง นา้ํ จาํ นวนแพลงกต อน ปริมาณออกซเิ จนท่ี (หนว ย/mL) ท่ลี ะลายในนาํ้ บรเิ วณที่ 1 (หนว ย/mL) ละลายในนา้ํ (mg/L) บริเวณท่ี 2 (mg/L) 60 6.5 400 1 50 7 55 6 1.แหลง นาํ้ บรเิ วณท่ี 2 มีจาํ นวนแพลงกตอนมากข้นึ ทาํ ใหน า้ํ มคี ุณภาพดขี น้ึ 2.แหลงนา้ํ บริเวณที่ 1 มคี า DO สงู กวา บริเวณที่ 2 บริเวณท่ี 1 จงึ มคี ณุ ภาพนาํ้ ดีกวา 3.แหลงนาํ้ บรเิ วณที่ 1 มีคา BOD สูงกวา บรเิ วณที่ 2 บริเวณที่ 1 จงึ มีคุณภาพนาํ้ ตาํ่ กวา 4.แหลงนา้ํ บริเวณที่ 1 แพลงกต อนใชออกซเิ จนมากกวา บริเวณที่ 2 บริเวณที่ 1 จงึ มีคา BOD สูงกวา 5.แหลง นา้ํ บรเิ วณที่ 1 มจี าํ นวนแพลงกต อนนอ ยกวา บริเวณท่ี 2 แสดงวา บรเิ วณท่ี 1 ไดร บั ผลเสียจาก โรงงานมากกวา Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair

ชีววิทยา ครกู าแฟ แบบปรนัยเลือกตอบเชงิ ซอ น 1.ในวันทอ่ี ากาศรอ นและมีฝนตก นักเรยี นคนหน่ึงออกวง่ิ หลังจากฝนตก โดยว่งิ อยางตอ เน่อื งเปนเวลา 1 ชั่วโมง ได ระยะทาง 10 กโิ ลเมตร และไมดมื่ น้ํา ขอความตอไปน้ี อธิบายสภาวะในรา งกายของนักเรยี นคนนี้ทันทีหลังจากท่วี ิง่ เสรจ็ ไดถกู ตอ งใชห รือไม ขอความ ใช หรือ ไมใช 16.1 น้ําในรา งกายมมี ากขึ้น เน่ืองจากเมแทบอลซิ มึ ท่ีสงู ข้นึ ใช / ไมใ ช 16.2 ไตกาํ จัดนา้ํ มากกวา ปกติ เนอื่ งจากมขี องเสยี ปริมาณมากจากกระบวนการเมแทบอ ใช / ไมใ ช ลซิ ึม 16.3 นักเรยี นคนนี้มคี วามเสยี่ งตอการเปนลมแดดมากขึน้ เพราะเหงื่อออกไดนอยลง ใช / ไมใ ช เนื่องจากในอากาศมคี วามชนื้ สงู 2.มลพิษทางน้ําเกดิ จากของเสยี หรือนาํ้ ท้ิงจากชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม หรือการทําเกษตรกรรม น้ําเสียเหลานี้อาจเปนหนึ่งใน สาเหตทุ ่ีทาํ ใหเกิดปรากฎการณน า้ํ ทะเลเปลย่ี นสี (แพลงกต อนบลูม) เนอื่ งจากมีปริมาณธาตุอาหารและสารอินทรียสูง นอกจากนีใ้ น นาํ้ เสยี ยังมีขยะตาง ๆ ปะปนมากมาย โดยเฉพาะขยะพลาสตกิ ทีส่ ดุ ทา ยแลว จะไหลลงสทู ะเล ปจ จบุ นั เร่ิมมีความกงั วลเก่ยี วกับปญหาขยะพลาสติกในทะเล เนื่องจากขยะพลาสตกิ ใชเ วลา หลายรอ ยปใ นการยอยสลายและสะสม เปนแพขยะขนาดใหญในมหาสมทุ ร ขยะพลาสติกเหลา นี้จะคอย ๆ ผพุ ัง และยอยสลายจนมีขนาดเล็กลงเร่ือย ๆ ไปจนถึงระดับนา โนเมตร ซ่งึ พลาสตกิ ขนาดเล็กเหลาน้ีสามารถดูดซับสารปนเปอนจากน้ําทะเล เชน ยาฆาแมลง ดีดีที พีซีบี (PCBs) ซ่ึงสารเหลานี้ เปน พิษตอสิ่งมีชวี ติ ขอความเก่ียวกบั ปญหาสิง่ แวดลอ มตอไปนถี้ กู ตอ งใชห รอื ไม ใช หรือ ไมใช ใช / ไมใช ขอความ ใช / ไมใช 17.1 อัตราการยอยสลายเปนปจจยั หลกั ที่ทาํ ใหข ยะทสี่ ะสมในมหาสมทุ รสวนใหญเปน พลาสติก ใช / ไมใช 17.2 ขยะพลาสติกเปนปจจัยสําคัญของปรากฎการณนํ้าทะเลเปลี่ยนสีเน่ืองจากขยะ พลาสติก ที่ยอ ยสลายจะกลายเปนอาหารของแพลกต อนทาํ ใหแ พลงกตอน เพม่ิ จํานวน อยา งรวดเร็ว 17.3 หากขยะพลาสติกถกู ยอยสลายจนมีขนาดเล็กมาก ๆ อาจเปนสาเหตทุ ีท่ ําใหม นษุ ย ไดร ับสารพิษเขาสรู างกายจากการกินปลาทะเล Amphon Khuanpuck coffee_kafair icecoffeekafair


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook