Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์

Published by vrw.tum3121, 2020-05-01 05:21:09

Description: วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

ววิ ัฒนาการของคอมพวิ เตอร์ แบบทดสอบก่อนเรียน ประวัติคอมพวิ เตอร์ ประวัตซิ อฟแวร์ บุคคลสาคัญ AI และหุ่นยนต์ ผ้จู ัดทา นายสฏรัฏฐ์ ทองกา่ ตาแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย โรงเรยี นวดั ตาหนกั ใต้ (วลิ าศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

วิววฒั วิ ฒันานกาากราขรอขงอคงอคมอพมวพิ เวิตเอตรอ์ ร์ ยคุ ของคอมพิวเตอร์ compute แปลวา่ คานวณ นับ หากจะเล่าถึงประวัติการคานวณกต็ ้องเร่มิ ต้นต้ังแตม่ นษุ ย์ร้จู กั การนบั กาหนดจานวณ 0 ขึน้ และกวา่ 3000 ปมี าแล้ว ท่มี ีเครื่องคดิ เลขของจีนโบราณท่ชี ่วยให้มนุษย์ คานวณไดร้ วดเร็วและแม่นยากค็ ือลูกคดิ (abacus) เครอ่ื งทอผ้าของ Jacquard loom (1805) และ เครอื่ งวิเคราะห์ analytical engine (1834) ของ Charles Babbage จากนนั้ ประมาณปลายทตวรรษ ที่ 1960 ก็มีเครื่องคดิ เลขแบบเครือ่ งกลใช้กนั อย่างกว้างขวางทัง้ สาหรบั พอ่ ค้า นกั วทิ ยาศาสตร์และ วิศวกร และมีการสรา้ งคอมพิวเตอรแ์ บบแอนะล็อก (analog computer) ต่อจากนน้ั จงึ มกี ารพฒั นา คอมพวิ เตอร์แบบดิจิทัลขน้ึ ซ่ึงทางานไดร้ วดเรว็ และเช่อื ถอื ไดก้ วา่ คอมพิวเตอร์แบบแอนะลอ็ ก จึงทา เปน็ ท่ีรจู้ ักและใช้กนั อย่างแพรห่ ลายอยา่ งรวดเร็ว นายสฏรัฏฐ์ ทองก่า ตาแหนง่ ครูผู้ชว่ ย โรงเรยี นวดั ตาหนักใต้ (วลิ าศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สังกดั สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

วิวฒั นาการของคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์เป็นเคร่ืองมอื ทมี่ นุษยป์ ระดิษฐ์ข้ึนเพอื่ ชว่ ยในการคดิ เลขและแกป้ ญั หาตา่ งๆ แตก่ ว่าจะมา เปน็ คอมพวิ เตอรไ์ ด้นน้ั ไดผ้ ่านขน้ั ตอนของการพัฒนามาหลายขน้ั ตอน การทางานของ คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย หน่วยสาคญั 5 หนว่ ย ได้แก่ หนว่ ยรับเขา้ หน่วยประมวลผลกลาง หนว่ ยความจา หลัก หน่วยความจารอง และหนว่ ยสง่ ออกคอมพวิ เตอร์ไดผ้ า่ นการพฒั นามาหลายยคุ เราอาจแบง่ ยคุ ของ พัฒนาการของคอมพวิ เตอรไ์ ด้ดังน้ีดว้ ยการแบ่งตามพฒั นาการดา้ นฮารด์ แวร์ แบ่งไดเ้ ป็น 5 ยคุ คือ นายสฏรัฏฐ์ ทองกา่ ตาแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย โรงเรยี นวดั ตาหนกั ใต้ (วิลาศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

ยุคท่ี 1 ยุคหลอดสญุ ญากาศ เรม่ิ ขึน้ ในสมัยสงครามโลกครงั้ ที่ 2 ประเทศสหรฐั อเมริกาได้ประดษิ ฐเ์ ครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ชอ่ื ENIAC ขึน้ ใช้ เพือ่ ใชป้ ระมวลผลในสงคราม เปน็ คอมพิวเตอรท์ ใ่ี ชห้ ลอดสญุ ญากาศซง่ึ มีขนาดใหญโ่ ต มาก และมีความรอ้ นสงู มากในระหวา่ งการทางานซ่งึ ทาให้เกิดชารดุ เสยี หายได้ง่าย นายสฏรัฏฐ์ ทองกา่ ตาแหนง่ ครูผู้ช่วย โรงเรยี นวัดตาหนักใต้ (วิลาศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สงั กัดสานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

ยคุ ที่ 2 ยุคทรานซิสเตอร์ เป็นคอมพวิ เตอร์ท่เี รมิ่ มกี ารใช้งานในเชิงพาณิชย์อย่างจรงิ จงั คอมพิวเตอรย์ คุ นเ้ี ป็นคอมพวิ เตอร์แบบ เมนเฟรม (main frame computer) สาหรบั ใชใ้ นองค์กรขนาดใหญ่ การโปรแกรมและการป้อนข้อมลู ใชเ้ ทป กระดาษเจาะรู ส่วนผลลพั ธข์ องการประมวลผลจะพมิ พ์ออกทางเคร่ืองพิมพไ์ ลนพ์ รนิ เตอร์ (line printer) บน กระดาษตอ่ เนอ่ื ง นายสฏรัฏฐ์ ทองก่า ตาแหน่งครูผู้ช่วย โรงเรยี นวัดตาหนกั ใต้ (วลิ าศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

ยุคที่ 3 ยุควงจรรวม หรอื ไอซี เป็นคอมพิวเตอร์ท่มี ขี นาดเลก็ ลงและมสี มรรถนะสงู ขึ้นมาก ในขณะเดยี วกนั กม็ ีการพฒั นาอุปกรณ์ นาเขา้ และสง่ ออกทใี่ ช้ง่าย มปี ระสิทธิภาพสูงข้ึน จอภาพแสดงผลแบบซอี ารท์ ใี ช้เทปแมเ่ หลก็ ในการบนั ทึก ขอ้ มูล และมกี ารพฒั นาระบบผูใ้ ชห้ ลายคน (multiuser) ทสี่ ามารถใชเ้ ครือ่ งพร้อมกนั ได้ คอมพิวเตอร์ในยคุ นี้มที ้ัง แบบเมนเฟรมและแบบมนิ ิ คอมพวิ เตอร์ นายสฏรัฏฐ์ ทองก่า ตาแหนง่ ครูผู้ชว่ ย โรงเรยี นวัดตาหนักใต้ (วิลาศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สังกดั สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

ยคุ ที่ 4 ยคุ ไมโครโพรเซสเซอร์ เป็นยคุ ล่าสดุ ในลาดับพฒั นาการของคอมพิวเตอร์ ไมโครโพรเซสเซอรเ์ ปน็ วงจรรวมชนิดพิเศษ ทยี่ ่อส่วน ย่อส่วนสาคญั ทส่ี ดุ ของคอมพิวเตอรค์ ือ หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit : CPU) ลงอย่ใู น ไอซีซปิ เพียงตวั เดยี ว โดยใชเ้ ทคโนโลยีทเี่ รียกวา่ VLSI คือการนาวงจรทีป่ ระกอบด้วยทรานซสิ เตอรห์ ลายลา้ นตวั มาย่อส่วนลงในซปิ เดียว และในยุคน้ไี ด้มีการกาเนิดคอมพวิ เตอรป์ ระเภทใหมข่ ้นึ เรียกวา่ คอมพวิ เตอร์สว่ น บุคคล หรอื พซี ี (personal computer: PC) เป็นคอมพวิ เตอรข์ นาดเล็กทมี่ สี มรรถนะสงู นายสฏรัฏฐ์ ทองก่า ตาแหน่งครูผ้ชู ว่ ย โรงเรยี นวัดตาหนกั ใต้ (วิลาศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สังกดั สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

ยุคท่ี 5 ในยคุ นี้ ไดม้ ุง่ เนน้ การพฒั นา ความสามารถในการทางานของระบบคอมพวิ เตอร์ และ ความ สะดวกสบายในการใช้งานเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ อยา่ งชดั เจน มีการพฒั นาสรา้ งเครอ่ื งคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาด เลก็ ขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใช้งานในยุคนีโ้ ครงการพฒั นาอปุ กรณ์ VLSI ให้ใช้งานงา่ ย และมี ความสามารถสูงขึ้น รวมทงั้ โครงการวจิ ัยและพฒั นาเก่ียวกบั ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็น หัวใจของการพฒั นาระบบคอมพวิ เตอร์ในยุคนี้ โดยหวังใหร้ ะบบคอมพิวเตอร์มีความรู้ สามารถวเิ คราะหป์ ญั หาด้วย เหตผุ ล นายสฏรัฏฐ์ ทองกา่ ตาแหน่งครูผู้ช่วย โรงเรยี นวัดตาหนกั ใต้ (วลิ าศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สังกัดสานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

คอมพวิ เตอรท์ ีใ่ นอดตี คอมพวิ เตอรเ์ ม่อื 20-30 ปกี ่อน มคี วามหลากหลายมาก เนอื่ งจากสถาปตั ยกรรมและเทคโนโลยที ี่ใชส้ รา้ ง คอมพิวเตอรน์ ั้นแตกต่างกนั ในแต่ละบริษทั สมยั นน้ั บริษัททพ่ี ฒั นาคอมพิวเตอร์กม็ ีหลายบริษัท พยายามแข่งขนั กนั ตีตลาด ซึง่ แตกต่างจากปจั จบุ นั ทมี่ ีคอมพวิ เตอรเ์ พยี งไมก่ ี่ยห่ี อ้ ทค่ี รองตลาด ความหลากหลายนีเ้ องท่ที าให้ คอมพิวเตอร์ในสมัยกอ่ นมีความนา่ สนใจ ผมจงึ ได้รวบรวมคอมพวิ เตอรเ์ กา่ เหลา่ น้ีไวใ้ ห้ศกึ ษา นายสฏรัฏฐ์ ทองกา่ ตาแหน่งครูผู้ช่วย โรงเรยี นวัดตาหนักใต้ (วิลาศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สังกดั สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

ซอฟต์แวร์ ซอฟตแ์ วร์ เปน็ คาสั่งให้คอมพิวเตอรท์ างานตามท่ไี ดห้ นดไว้ในโปรแกรม เราอาจใช้เคยใช้ซอฟต์แวรห์ ลาย ๆ รปู แบบโดยไมร่ ตู้ ัว แตล่ ะวนั เราแทบจะหลกี เลี่ยงทจี่ ะไม่ใช้ซอฟตแ์ วร์ไม่ไดเ้ ลย วันนี้ มาดูกนั ว่าซอฟต์แวร์ท่ีเรา เคยใช้ ทง้ั ทางตรงและทางอ้อมแบง่ ตามลกั ษณะการใช้งานได้ 8 กลุม่ ดงั น้ี System software เปน็ กลุม่ ของโปรแกรมทเี่ ขียนข้นึ มาเพื่อให้บริการหรอื ช่วยซอฟตแ์ วรต์ วั อืน่ ทางานไดง้ ่าย เชน่ คอมไพเลอร์ ตวั แก้ไขโปรแกรม editor โปรแกรมจดั การไฟล์ ระบบปฏบิ ตั กิ าร ไดร์เวอร์ ซอฟตแ์ วรเ์ พอ่ื การตดิ ต่อส่ือสารใน เครอื ขา่ ย เปน็ ต้น Real-time software เปน็ โปรแกรมท่คี อยตรวจ วเิ คราะห์ หรือควบคมุ สถานการณ์ท่เี กิดขน้ึ จรงิ ทเ่ี ราเรยี กวา่ real-time เพราะ เหตกุ ารณน์ น้ั ๆ เกิดในขณะนั้นจริง เช่น โปรแกรมควบคมุ การทางานของเครอื่ งจกั ร หนุ่ ยนต์ ระบบนาทางของ รถยนต์ เปน็ ต้น โปรแกรมพวกนีจ้ ะเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากสง่ิ แวดล้อมที่กาหนดไว้ แลว้ ทาการวเิ คราะห์ และแปลง ไปสูร่ ปู แบบข้อมลู ที่นาไปประมวลผลต่อได้ หลังจากประมวลผลแลว้ โปรแกรมจะโต้ตอบสิง่ แวดลอ้ มภายนอกตาม คาสง่ั ควบคมุ ทไ่ี ด้จากการประมวลผล การโตต้ อบกลบั นตี้ ้องเปน็ แบบ real-time (ปกติเวลาท่ถี อื วา่ เป็น real – time อย่ใู นช่วง 1 มลิ ลวิ นิ าที ถึง 1 วินาที ) Business software เป็นซอฟต์แวรท์ ป่ี ระมวลผลกบั ขอ้ มูลจานวนมากทางธุรกจิ เช่น โปรแกรมประมวลผลการซอ้ื ขายPOS – (point of sale transaction processing- เครื่องนเ้ี ราจะเหน็ ไดท้ ว่ั ไปตามหา้ งสรรพสินค้าในการคิดราคาสนิ ค้า จาก barcode และพิมพ์ใบเสร็จ) โปรแกรมบญั ชเี งนิ เดอื น (payroll), บัญชีรบั จา่ ย โปรแกรมการลงทนุ หุ้น โปรแกรมการทาเหมอื งขอ้ มลู (data mining) ซึ่งเก่ยี วข้องกบั ระบบการจัดการสารสนเทศ (Management นายสฏรัฏฐ์ ทองก่า ตาแหน่งครูผ้ชู ว่ ย โรงเรยี นวดั ตาหนักใต้ (วลิ าศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

information system) มักจะเป็นการจดั การกบั ฐานข้อมลู ขนาดใหญ่หลาย ๆ ฐานขอ้ มลู โปรแกรมเหล่านจี้ ะ จดั การกบั ขอ้ มลู ใหอ้ ยูใ่ นโครงสรา้ งหรือรปู แบบทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจในธรุ กจิ Engineering and Scientific software โปรแกรมทีท่ างานดา้ นวิศวกรรมและวิทยาศาสตร์ มกั จะมีวิธีการจัดการกับตวั เลขจามาก โปรแกรมพวกน้ี ไดแ้ กโ่ ปรแกรมทป่ี ระมวลผลสง่ิ ทอี่ ยสู่ ูง คอื ดวงดาวและอวกาศ จนถึงโปรแกรมทคี่ านวณส่ิงทอ่ี ยใู่ ต้ดินคือคานวณ การเกิดภเู ขาไฟ คานวณการเคล่ือนทข่ี องยานอวกาศ จนถึงกระบวนการทางานของชวี โมเลกลุ เลยทเี ดียว แต่ใน ปัจจบุ นั นีซ้ อฟตแ์ วร์ในด้านวศิ วกรรมและวทิ ยาศาสตรม์ ักจะเป็นโปรแกรมช่วยในการออกแบบการทดลอง โปรแกรมจาลองการทางานของระบบ และเปน็ Real-time มากขึน้ Embedded software ปจั จบุ ันนผี้ ลติ ภณั ฑ์อัตโนมัตติ ่างๆ มีใชก้ นั ทว่ั ไปท้ังในกลมุ่ ผบู้ รโิ ภคและตลาดอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ จาพวกน้ีมีโปรแกรมฝังอยู่ในหนว่ ยความจาแบบอา่ นได้อยา่ งเดยี ว read only memory เพอื่ ควบคุมการทางาน ของอปุ กรณ์น้ัน ๆ จงึ ทาใหอ้ ปุ กรณเ์ หล่านนั้ ทางานไดจ้ ากดั เชน่ โปรแกรมทม่ี ีในเครอ่ื งซกั ผา้ สามารถควบคุมเวลา และขั้นตอนการซักอัตโนมัติ เตาไมโครเวฟทีต่ งั้ เวลาในการทาอาหารได้ รถยนตม์ โี ปรแกรมควบคุมระบบเบรค ระบบนา้ มนั เชือ้ เพลงิ เปน็ ต้น Personal Computer software ซอฟต์แวรส์ าหรับคอมพวิ เตอรส์ ่วนบคุ คลใ ช้ในเคร่อื งไมโครคอมพวิ เตอรท์ ัว่ ๆ ไปตามวตั ถุประสงค์ของ ผใู้ ช้ ท่ีพวกเราคนุ้ เคยกนั ดที ีไ่ ดแ้ กโ่ ปรแกรมประมวลผลคา โปรแกรมคานวณแบบตาราง โปรแกรมทางานกบั รปู ภาพ บันเทงิ ตา่ ง ๆ การจดั การฐานข้อมลู โปรแกรมเครือขา่ ย โปนแกรมธุรกิจ เป็นต้น Web-based software นายสฏรัฏฐ์ ทองกา่ ตาแหนง่ ครูผู้ชว่ ย โรงเรยี นวัดตาหนกั ใต้ (วลิ าศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สงั กัดสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

เว็บเปน็ ซอฟต์แวรท์ สี่ ามารถนาไปแสดงผลไดโ้ ดยโปรแกรมทเี่ รยี กวา่ browser ในเวบ็ มีคาสั่งตา่ ง ๆ ทใี่ ช้ จดั รูปแบบการแสดงผลขอ้ ความ รูปภาพ ภาพเคล่อื นไหว ตา่ ง ๆ และภายในเวบ็ เองกส็ ามารถบรรจุขอ้ มลู ท่ี สามารถนาไปประมวลผลตอ่ ไดด้ ้วย ขอ้ มลู บนเวบ็ มีแนวโนม้ เพิ่มมากขน้ึ ทง้ั ในปจั จุบนั และในอนาคตเนอ่ื งจากเป็น แหล่งส่อื สารแลกเปลีย่ นข้อมลู Artificial software โปรแกรมด้านปัญญาประดษิ ฐ์ เปน็ โปรแกรมทจ่ี ัดการกบั ปญั หาซบั ซ้อน ไมส่ ามารถคิดหาคาตอบจากการ คานวณอยา่ งตรงไปตรงมาได้ ต้องใช้เความรเู้ พ่มิ เติมจากการคานวณ นนั่ คอื ความรเู้ ชงิ ฮิวรสิ ติก (Heuristics) ทง้ั นี้ เพราะการทจี่ ะใช้ วธิ กี ารท่ีใหไ้ ด้ผลสมบรู ณ์จริง ๆ นนั้ จาเปน็ ตอ้ งอาศัยความรู้ที่ไดจ้ ากประสบการณข์ อง ผเู้ ชย่ี วชาญทีเ่ คยใชว้ ิธกี ารนั้น ๆ ในการปฏบิ ัตจิ ริง ตัวอย่างโปรแกรมดา้ นปญั ญาประดษิ ฐ์ เช่น ระบบผเู้ ช่ียวชาญ โปรแกรมประมวลผลภาษาธรรมชาติ (โปรแกรมแปลภาษา ตรวจสอบไวยากรณ์ ฯลฯ) โปรแกรมรจู้ าเสียง การรจู้ า ภาพ โปรแกรมพสิ จู นท์ ฤษฎี เกม นายสฏรัฏฐ์ ทองก่า ตาแหนง่ ครูผู้ช่วย โรงเรยี นวดั ตาหนักใต้ (วลิ าศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สังกัดสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

ประวตั ิของซอฟตแ์ วร์ \"คอมพวิ เตอรท์ างานไดเ้ พราะมซี อฟต์แวรเ์ ซง่ึ เป็นชดุ ของคาสงั่ สัง่ ใหค้ อมพิวเตอรท์ างานตามทเ่ี รา ต้องการ และมนษุ ย์นเี่ องทเ่ี ปน็ ผูส้ รา้ งชุดของคาสง่ั เหล่านัน้ โดยการเขียนโปรแกรม (programming)ขน้ึ มา ในการ เขียนโปรแกรมก็ตอ้ งมีภาษาเฉพาะ และผ้ทู ม่ี คี วามเชีย่ วชาญในการเขยี นโปรแกรมเราเรียกว่านกั เขยี นโปรแกรม หรือโปรแกรมเมอรน์ ่ันเองในบทน้จี ะเลา่ ถงึ ประวตั กิ ารพฒั นาซอฟตแ์ วร์และภาษาสาหรับเขยี นโปรแกรม (programming language) สามารถคลิกทปี่ ี หรอื ผลงานในตารางดา้ นล่างเพื่อดรู ายละเอียดในแตล่ ะป\"ี ปี ค.ศ. ผลงาน 1948 ทฤษฎีการสอ่ื สาร (Theory of Communication) 1953 โปรแกรมช่วยให้โปรแกรมได้เร็วขน้ึ speedcoding 1955 โปรแกรม Logic Theorist 1956 การประมวลผลแบบกลมุ่ (batch processing) 1956 แปน้ พมิ พ์ 1957 ตวั แปลภาษาระดบั สูงไปเป็นภาษาเครอ่ื ง (compilers) 1957 ภาษาฟอร์แทรน (Fortran) 1959 ระบบเออร์มา (ERMA) 1960 ภาษาโคบอล COBOL 1960 ภาษาลสิ พ์ LISP 1962 เกมคอมพวิ เตอรแ์ บบโต้ตอบ 1963 โปรแกรมวาดภาพ Sketchpad 1963 รหสั แอสกี (ASCII code) 1964 ภาษาเบสกิ (BASIC) 1965 ภาษาเขียนโปรแกรมเชงิ วัตถุซมิ ูลา (Simula) นายสฏรัฏฐ์ ทองก่า ตาแหนง่ ครูผ้ชู ่วย โรงเรยี นวัดตาหนกั ใต้ (วลิ าศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

1967 ภาษาโลโก้ (LOGO) สาหรบั เดก็ 1968 เอกสารวชิ าการ: ผลร้ายของการเขียนโปรแกรมดว้ ยคาสงั่ GOTO 1969 มาตรฐาน RS-232-C 1969 ระบบปฏบิ ัตกิ ารยนู กิ ส์ UNIX 1972 วิดโี อเกม 1976 ระบบปฏิบตั กิ าร CP/M 1977 มาตรฐานการเข้ารหัสขอ้ มูลของ IBM 1979 โปรแกรมวสิ ิแคลค์ (VisiCalc) 1981 ระบบปฏบิ ัตกิ าร MS-DOS 1982 โปรแกรมสเปรดชีต Lotus 1-2-3 1983 โปรแกรมประมวลผลข้อความ (word processing) 1985 โปรแกรมเพจเมคเกอร์ (PageMaker) 1985 ภาษาซี พลสั พลสั (C++ ) 1987 โปรแกรมไฮเปอร์การ์ด (HyperCard) 1989 เกมซมิ ซติ ี้ (Simcity) 1989 การมองเห็นเสมือยจรงิ วีอาร์ (VR- virtual reality) 1990 ระบบปฏบิ ตั ิการวนิ โดวส์ 3.0 (Windows 3.0 ) นายสฏรัฏฐ์ ทองกา่ ตาแหนง่ ครูผู้ชว่ ย โรงเรยี นวดั ตาหนักใต้ (วิลาศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

บุคคลสาคัญในวงการคอมพวิ เตอร์ Charles Babbage ชารล์ ส์ แบบเบจ บดิ าแห่งคอมพวิ เตอร์ (1791-1871) ประวัติ : Charles Babbage (26 ธันวาคม 1791 – 18 ตุลาคม 1871) เขาเป็นนักคณิตศาสตร์ นักปรัชญา วิเคราะห์ และเป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพวิ เตอร์ เนื่องจากเขาเป็นคนแรก ที่มแี นวคิดเรื่องเคร่ืองคานวณที่สามารถ โปรแกรมหรอื ส่ังใหท้ างานได้ เครอ่ื งในจนิ ตนาการของเขายงั ไมเ่ สร็จสมบูรณ์ เขาก็เสยี ชวี ติ ก่อนท่จี ะได้เห็นความฝนั ของเขาเป็นจริง ปัจจุบันนี้ผลงานของเขาไว้ถูกเก็บและแสดงไว้ที่พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ลอนดอน ผลงานนั้นคือ เครือ่ งคานวณหาผลตา่ ง (Difference Engine) และเมื่อปี 1991 นเ้ี องท่ีเคร่อื งหาผลต่างน้ีถกู สร้างใหเ้ สร็จสมบรู ณ์ ตามแบบท่ี Babbage ไดอ้ อกแบบไว้ แสดงใหเ้ หน็ ว่าเคร่ืองจักรจากแนวคิดของเขาทางานได้จริงแล้ว ผลงาน : เครื่องคานวณหาผลต่าง differential machine และเคร่ืองวิเคราะห์ analytical machine นายสฏรัฏฐ์ ทองกา่ ตาแหนง่ ครูผู้ชว่ ย โรงเรยี นวดั ตาหนักใต้ (วลิ าศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

Lady Augusta Ada Byron เอดา ไบรอน เลิฟเลซ โปรแกรมเมอรค์ นแรกของโลก (1816-1852) ประวัติ : เอดา เลิฟเลซ เปน็ หน่ึงในบคุ คลสาคญั ของประวตั ิศาสตร์คอมพวิ เตอร์ท่นี ่าเรยี นรู้ชีวประวตั ิท่านเปน็ อยา่ ง ย่ิง ทา่ นเป็นผู้หญิงที่เก่งทง้ั ในด้านกาพย์กลอนและคณติ ศาสตร์ และได้รับยกยอ่ งให้เป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรก ของโลกจากผลงานที่ท่านช่วยให้เครื่องจักร analytical engine ที่ออกแบบโดย ชาร์ลส์ แบบเบจ สามารถรับ โปรแกรมและทางานตามคาสั่งในโปรแกรมได้ โดยท่านได้เสนอเทคนิคการเขียนโปรแกรมแบบวนรอบซ้า ๆ ที่ เรยี กว่า loop การเขียนโปรแกรมแบบวนรอบบนส้ี าคัญมาก เพราะถ้าหากไมใ่ ช้แนวคดิ นีแ้ ลว้ โปรแกรมทเี่ ขยี นจะมี ความยาวมาก และผิดพลาดได้ง่ายและการใช้โปรแกรมย่อย (subroutine) เพ่ือคานวณฟังก์ชันก์ย่อยท่ีได้ใช้งาน บอ่ ย ๆ ฝังอยู่ในโปรแกรมหลัก โปรแกรมหลักสามารถเรยี กใชโ้ ปรแกรมยอ่ ยทางานไดเ้ ลยโดยไม่ต้องเขียนโปรแกรม ใหม่ ซง่ึ ในปจั จับุ นน้ีทกุ ภาษาตา่ งก็มีความสามารถในการวนซ้า และการใชโ้ ปรแกรมย่อย ผลงาน : แนวความคิดการเขียนโปรแกรม เรื่องการโปรแกรมแบบวนซ้า (loop) และการใช้โปรแกรมย่อย (subroutine) นายสฏรัฏฐ์ ทองกา่ ตาแหน่งครูผู้ชว่ ย โรงเรยี นวดั ตาหนักใต้ (วิลาศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สงั กดั สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

ERMAN HOLLERITH เฮอรม์ าน ฮอลเลอรธิ (29 Feb 1860 - 17 Nov 1929) ประวตั ิ : เฮอรแ์ มน ฮอลเลอรธิ (Dr Herman Hollerith) ค.ศ. 1880 นกั สถิติชาวอเมรกิ ัน ไดป้ ระดษิ ฐเ์ คร่ืองมอื ที่ ช่วยในการทางานดา้ นสถติ เิ คร่ืองแรกขน้ึ โดยใชก้ บั บัตรเจาะรูทีบ่ นั ทกึ ไดท้ ้งั ตัวเลข ตัวอกั ษรและสญั ญลักษณพ์ ิเศษ เครอื่ งนไ้ี ดร้ ับการปรงั ปรงุ เรอ่ื ยมา และใชป้ ระโยชนค์ รง้ั แรกในปี 1890 โดยใชใ้ น งานประมวลผลด้านสามะโน ประชากรของสหรฐั เครือ่ งนสี้ ามารถอา่ นบตั รได้ 250 บัตรตอ่ นาที และชว่ ยให้งานประมวลผลนีเ้ สร็จในเวลา 2 ปี ครึ่ง จากเดิมท่ีใชเ้ วลา 7 ปีครึง่ (ใช้เวลาเพียง 1 ใน 3 เทา่ น้ัน) บตั รทเ่ี ฮอรแ์ มนคิดขึ้นมานเ้ี รยี กวา่ บตั รฮอลเลอร์ริท และรหสั ท่เี ฮอร์แมนคดิ ข้ึนมาเรียกว่า รหสั ฮอลเลอรร์ ทิ บตั รของฮอลเลอรทิ ยงั คงใช้กันอยจู่ นจงึ ปจั จบุ นั และช่อื อน่ื ๆ ท่ีใชเ้ รียกบัตรนก้ี ็คอื บตั ร IBM หรือบตั ร 80 คอลมั น์ เพราะบัตรดังกลา่ วมี 80 คอลัมนแ์ ละบริษทั IBM เป็น ผูผ้ ลิตนงั่ เอง ในปี ค.ศ.1896 เขาไดต้ ้งั บรษิ ัทนไ้ี ดร้ ่วมกบั บริษทั อน่ื ๆ จัดตั้งเปน็ บรษิ ทั ใหมเ่ รยี กว่า International Business Machine Cor ผลงาน : ได้ประดษิ ฐเ์ ครอ่ื งมือท่ีช่วยในการทางานดา้ นสถติ ิเครอื่ งแรกข้นึ นายสฏรัฏฐ์ ทองก่า ตาแหน่งครูผ้ชู ่วย โรงเรยี นวดั ตาหนกั ใต้ (วลิ าศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สังกัดสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

Alan Mathison Turing อลัน มาธิสัน ทวั รงิ ประวตั ิ : อลัน ทวั ริง (Alan Turing) เกดิ วันท่ี 23 ม.ิ ย. 1912 ท่กี รุงลอนดอน องั กฤษ เสยี ชวี ิต วนั ที่ 7 ม.ิ ย. 1954 ที่ เมืองวิล์มสโล อังกฤษ เขาได้คิดค้นเครื่องจักรทัวริง (Turing machine) เครื่องมือในฝันที่สามารถทาอะไรได้ทุก อย่าง ถ้าเพียงแต่เราจะใส่วิธีทาลงไป ซ่ึงกลายเป็นต้นแบบแรกเร่ิมของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ทัวริงแมชชีนเป็น เครื่องมือมหัศจรรย์ เพราะเป็นครั้งแรกที่เราแยก \"อุปกรณ์\" ออกจาก \"ความสามารถของอุปกรณ์\" นั้นได้ การ ทางานของเคร่ืองไม่ไดถ้ กู กาหนดมาลว่ งหน้า แต่ข้ึนอยกู่ ับวิธีทาหรืออลั กอรทิ มึ ทแ่ี นบมาดว้ ย ผลงาน : ทฤษฎีความสามารถคานวณได้ของคอมพิวเตอร์ (Computability) , การทดสอบความฉลาดของ คอมพิวเตอร์ (Turing test), เคร่ืองจกั รทวั ริง (universal Turing machine) นายสฏรัฏฐ์ ทองกา่ ตาแหนง่ ครูผ้ชู ่วย โรงเรยี นวดั ตาหนักใต้ (วลิ าศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สังกัดสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

ปัญญาประดษิ ฐ์ AI : Artificial Intelligence หรอื ปญั ญาประดษิ ฐเ์ ป็นศาสตรแ์ ขนงหนงึ่ ของวทิ ยาศาสตร์คอมพวิ เตอร์ ที่ เกี่ยวขอ้ งกบั วิธีการทาให้คอมพิวเตอรม์ ีความสามารถคลา้ ยมนษุ ยห์ รอื เลียนแบบพฤตกิ รรมมนุษย์ โดยเฉพาะ ความสามารถในการคดิ เองได้ หรอื มปี ญั ญาน่นั เอง ปญั ญานมี้ นุษย์เป็นผสู้ ร้างใหค้ อมพวิ เตอร์ จงึ เรียกวา่ ปัญญาประดษิ ฐ์ มมุ มองต่อ AI ทแ่ี ตล่ ะคนมอี าจไมเ่ หมอื นกนั ขนึ้ อยูก่ ับว่า เราตอ้ งการความฉลาดโดย คานงึ ถงึ พฤติกรรมทีม่ ตี อ่ สง่ิ แวดล้อมหรอื คานงึ การคดิ ไดข้ องผลผลติ AI ดงั น้ันจึงมคี านยิ าม AI ตามความสามารถที่มนษุ ย์ ตอ้ งการให้มนั แบง่ ได้ 4 กลุ่ม ดงั น้ี Acting Humanly : การกระทาคล้ายมนษุ ย์ เชน่ - สื่อสารกบั มนษุ ยไ์ ด้ด้วยภาษาทีม่ นุษยใ์ ช้ เช่น ภาษาอังกฤษ เป็นการประมวลผลภาษาธรรมชาติ (natural language processing) อย่างหน่ึง เชน่ เพื่อน ๆ ใช้เสยี งสง่ั ให้คอมพิวเตอรพ์ มิ พ์เอกสารให้ - มปี ระสาทรับสมั ผสั คล้ายมนษุ ย์ เชน่ คอมพิวเตอรว์ ิทศั น์ (computer vision) คอมพวิ เตอรม์ องเห็น รบั ภาพ ได้โดยใชอ้ ปุ กรณ์รบั สญั ญาณภาพ (sensor) - ห่นุ ยนตช์ ่วยงานตา่ ง ๆ เชน่ ดดู ฝุน่ เคลอื่ นย้ายสิ่งของ - machine learning หรือคอมพวิ เตอรเ์ กิดการเรียนรไู้ ด้ โดยสามาถตรวจจบั รปู แบบการเกิดของเหตกุ ารณ์ใด ใด ๆ แลว้ ปรบั ตวั สสู่ ่ิงแวดล้อมที่เปล่ยี นไปได้ Thinking Humanly : การคดิ คล้ายมนุษย์ กอ่ นทจี่ ะทาใหเ้ คร่ืองคดิ อย่างมนุษยไ์ ด้ ต้องร้กู อ่ นว่ามนษุ ย์มี กระบวนการคิดอย่างไร ซงึ่ การวิเคราะหล์ กั ษณะการคดิ ของมนุษย์เปน็ ศาสตร์ด้าน cognitive science เช่น ศกึ ษา โครงสร้างสามมติ ิของเซลลส์ มอง การแลกเปลีย่ นประจไุ ฟฟา้ ระหว่างเซลลส์ มอง วเิ คราะห์การเปลีย่ นแปลงทาง เคมีไฟฟ้าในร่างกายระหวา่ งการคดิ ซงึ่ จนถงึ ปจั จบุ ันเราก็ยังไม่ร้แู นช่ ดั ว่า มนุษย์เรา คดิ ไดอ้ ย่างไร Thinking rationally : คิดอยา่ งมีเหตผุ ล หรอื คิดถูกตอ้ ง โดยใช้หลกั ตรรกศาสตร์ในการคดิ หาคาตอบอยา่ งมี เหตผุ ล เช่น ระบบผู้เชย่ี วชาญ Acting rationally : กระทาอยา่ งมเี หตผุ ล เชน่ agent (agent เป็นโปรแกรมท่มี คี วามสามารถในการกระทา หรอื เป็นตัวแทนในระบบอัตโนมตั ติ ่าง ๆ ) สามารถกระทาอย่างมเี หตุผลคอื agent ทกี่ ระทาการเพือ่ บรรลุ เปา้ หมายทไ่ี ด้ต้ังไว้ เชน่ agent ในระบบขับรถอตั โนมตั ทิ มี่ ีเปา้ หมายวา่ ต้องไปถงึ เป้าหมายในระยะทางทส่ี ้ันทส่ี ุด นายสฏรัฏฐ์ ทองก่า ตาแหน่งครูผู้ช่วย โรงเรยี นวดั ตาหนกั ใต้ (วลิ าศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สังกัดสานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

ตอ้ งเลอื กเสน้ ทางทไ่ี ปยงั เปา้ หมายทส่ี ้ันทส่ี ุดทเ่ี ป็นไปไดจ้ งึ จะเรยี กได้ว่า agent กระทาอย่างมเี หตผุ ล อีก ตวั อยา่ งเช่น agent ในเกมหมากรกุ มเี ป้าหมายวา่ ต้องเอาชนะคูต่ อ่ สู้ ตอ้ งเลือกเดนิ หมากทจ่ี ะทาให้คตู่ อ่ สูแ้ พ้ใหไ้ ด้ เป็นตน้ ปัญญาประดษิ ฐ์งานดา้ น AI มีอะไรบ้าง? ในปจั จบุ ันนี้ความสามารถของ AI มอี ะำารบา้ ง ? คาถามนต้ี อบไดย้ ากเพราะมกี ารนา AI ไปประยกุ ตใ์ ช้กบั งานตา่ ง ๆ มากมาย อยา่ งไรกต็ าม ก็อาจแบ่งกลุ่มของงานทางด้าน AI ได้ดงั น้ี 1. งานด้านการวางแผนและการจดั ตารางเวลาอัตโนมตั ิ (autonomous planning and scheduling ตัวอย่างทีส่ าคญั คอื โปรแกรมควบคมุ ยานอวกาศระยะไกลขององคก์ ารนาซา (NASA) 2. เกม (game playing) เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ดพี บลู (Deep Blue) ของบรษิ ทั ไอบเี อ็ม เป็น โปรแกรมเล่นเกมหมากรกุ สามารถเอาชนะคนท่ีเลน่ หมากรกุ ได้เกง่ ทสี่ ดุ คอื Garry Kasparov ดว้ ยคะแนน 3.5 ตอ่ 2.5 ในเกมการแขง่ ขนั หาผู้ชนะระดับโลก เมื่อปี ค.ศ. 1997 3. การควบคมุ อตั โนมตั ิ (autonomous control) เช่นระบบ ALVINN (Autonomous Land Vehicle In a Neural Network ) เป็นระบบโปรแกรมท่ีทางานดา้ นการมองเหน็ หรอื คอมพวิ เตอรว์ ิทัศน์ (computer vision system) โปรแกรมนจี้ ะไดร้ ับการสอนใหค้ วบคมุ พวงมาลัยใหร้ ถแล่นอย่ใู นชอ่ งทางอตั โนมัติ 4. การวนิ ิจฉยั (diagnosis) เป็นการศึกษาเรอื่ งสรา้ งระบบความรู้ของปญั หาเฉพาะอยา่ ง เชน่ การแพทย์ หรอื วิทยาศาสตร์ จุดประสงค์ของระบบนคี้ อื ทาให้เสมอื นมีมนุษย์ผเู้ ช่ียวชาญคอยใหค้ าปรกึ ษาและคาตอบเก่ยี วกบั ปัญหาตา่ ง ๆ งานวจิ ยั ด้านนีม้ จี ดุ ประสงคห์ ลกั วา่ เราไมต่ ้องพ่งึ มนษุ ยใ์ นการแก้ปญั หา แต่อยา่ งไรกต็ ามในทางปฏิบตั ิแลว้ ระบบผเู้ ช่ียวชาญยังตอ้ งพง่ึ มนษุ ย์เพอ่ื ใหค้ วามรพู้ ้ืนฐานในชว่ งแรก การจะทางานวจิ ยั เรื่องนีต้ ้องอาศัยความรู้ พื้นฐานหลายเร่อื ง ไมว่ ่าจะเป็น การแทนความร,ู้ การใหเ้ หตผุ ล และ การเรียนร้ขู องเคร่ือง ตวั อยา่ งของงานประภท ประภทนี้คือ โปรแกรมการวินจิ ฉัยโรคหรือระบบผเู้ ช่ยี วชาญ MYCIN สาหรับโรคทีต่ ิดเชือ้ ทางเลอื ด 5. การวางแผนปญั หาท่ีซับซอ้ น (logistics planning) ตวั อยา่ งคือ ในปี ค.ศ. 1991 ประเทศสหรฐั อเมริกา ได้ประสบภาวะวิกฤตที่เรยี กวา่ Persian Gulf รัฐบาลจงึ ใช้โปรแกรม DART ในการวางแผน 6. หนุ่ ยนต์ (robotics) เช่น หุน่ ยนตอ์ าสโิ ม (ASIMO) หนุ่ ยนตจ์ ๋ิวชว่ ยในการผ่าตัด นายสฏรัฏฐ์ ทองกา่ ตาแหนง่ ครูผู้ช่วย โรงเรยี นวัดตาหนกั ใต้ (วลิ าศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สงั กดั สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

7. ความเขา้ ใจในภาษามนุษย์ (language understanding) เช่น โปรแกรม ALICE ผูเ้ รยี นสามารถลองคยุ กับอลิซไดท้ เ่ี ว็บไซต์ http://alicebot.org/ 8. การแกโ้ จทย์ปญั หา (problem solving) เช่นโปรแกรม PROVERB ทแี่ กป้ ัญหาเกมปริศนาอกั ษรไขว้ ซ่งึ ทาไดด้ กี วา่ มนษุ ย์ นายสฏรัฏฐ์ ทองกา่ ตาแหนง่ ครูผ้ชู ่วย โรงเรยี นวดั ตาหนกั ใต้ (วิลาศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สังกดั สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑

ผู้จดั ทา นายสฏรัฏฐ์ ทองกา่ ตาแหน่งครูผ้ชู ่วย โรงเรียนวดั ตาหนักใต้ (วลิ าศโอสถานนท์นุเคราะห์) นายสฏรัฏฐ์ ทองก่า ตาแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย โรงเรยี นวดั ตาหนักใต้ (วิลาศโอสถานนทนื เุ คราะห์) สังกัดสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต ๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook