ทำเนียบภมู ปิ ญั ญำทอ้ งถน่ิ ประจำเดอื นกมุ ภำพันธ์ 2563 กศน.ตำบลหัวโพ ศนู ย์กำรศึกษำนอกระบบ และกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั อำเภอบำงแพ สำนกั งำนส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยจงั หวัดรำชบรุ ี สำนักงำนสง่ เสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั สำนกั งำนปลดั กระทรวงศกึ ษำธิกำร กระทรวงศกึ ษำธิกำร
คำนำ ภูมิปัญญาชาวบ้าน หรอื ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในชีวิตของคนเรา ผ่านกระบวนการศึกษา สังเกตคิดวิเคราะห์จนเกิดปัญญา และตกผลึกมาเป็นองค์ความรู้ที่ประกอบกันข้ึนมา จากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง ความรู้ดังกล่าวไม่ได้แยกย่อยออกมาเป็นศาสตร์ เฉพาะสาขาวิชาต่าง ๆ อาจกล่าวไว้ว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นจัดเป็นพื้นฐานขององค์ความรู้สมัยใหม่ท่ีจะช่วยในการเรียนรู้ การแก้ปัญหา การจัดการ และการปรับตัวในการดาเนินชีวิตของคนเรา ภูมิปัญญาท้องถ่ินเป็นความรู้ท่ีมีอยู่ทั่วไปในสังคม ชุมชนและในตัวของผู้รู้เอง หากมีการสืบค้นหาเพื่อศึกษา และนามาใช้ก็จะเป็นที่รู้จักกันเกิดการยอมรับ ถา่ ยทอด และพฒั นาไปสู่คนรุ่นใหม่ตามยุคตามสมัยได้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตาบลหัวโพได้จัดทาข้อมูล เรื่องทาเนียบ ภูมิปัญญาท้องถิ่นฉบับน้ีขึ้น เพื่อรวบรวมประวัติ และผลงานของบุคคลในสาขาต่าง ๆ ที่เป็นผู้ท่ีสืบทอดมรดก ทางศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของชุมชน ในตาบลหัวโพ เพ่ือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาหรับผู้ที่ศึกษาค้นคว้า และสนใจอันจะเป็นประโยชน์และตระหนักถึงความสาคัญ ในคุณ ค่าของมรดกทางด้านศิลปวัฒ นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ และมสี ว่ นร่วมในการจรรโลงและรกั ษาไวส้ ืบตอ่ ไป กศน.ตาบลหวั โพ กมุ ภาพันธ์ 2563
สำรบญั หนำ้ คำนำ 1 สำรบญั 4 7 กศน. ตาบลหวั โพ ภูมิปัญญา บายศรี: นางรชั นี ปน่ิ เทีย่ ง ภูมิปัญญา ผักตบชวา: นายสาราญ สนู ยก์ ลาง ภูมปิ ญั ญา เกษตรผสมผสาน: นายจรญู ตัณฑ์เจรญิ คณะผจู้ ดั ทา
1 แบบบนั ทกึ ชุดข้อมูลคลังปญั ญำ-ภมู ิปญั ญำท้องถนิ่ ตำบลหวั โพ อำเภอบำงแพ จงั หวัดรำชบรุ ี ชอื่ ภมู ปิ ัญญำ: บายศรี ข้อมูลพ้นื ฐำนรำยบุคคล เจ้ำของภูมิปญั ญำทอ้ งถิน่ /บคุ คลคลังปัญญำ ชื่อนางรชั นี นำมสกลุ ปิ่นเท่ียง วันเดือนปเี กิด22มกรามพ.ศ. 2501 ที่อยู่ปัจจุบัน(ทสี่ ำมำรถตดิ ต่อได)้ : บา้ นเลขท่ี 58หมทู่ ่ี1ตาบล/แขวง หัวโพ อาเภอ/เขต บางแพ จงั หวัดราชบรุ ี รหัสไปรษณยี ์ 70160 โทรศพั ท์0946138496 โทรสำร- Line ID: 0946138496 E-mailaddress:- Facebook:รัชนี ป่นิ เทยี่ งแม่มา้ ย ควำมเปน็ มำของภูมิปญั ญำ นางรัชนี ป่ินเท่ียง เม่ือพูดถึง “บายศรี” เชื่อว่าคนส่วนใหญ่จะรู้จักและคุ้นเคยเพราะพบเห็นบ่อยใน พิธกี รรมตา่ งๆ แทบทุกภาคของไทย เชน่ การทาขวัญคน การทาขวัญขา้ ว การบวงสรวงส่ิงศกั ด์สิ ิทธ์ิ การไหวค้ รู นาฏศิลป์ดนตรี เป็นต้น ซึ่งพิธีกรรมเหล่านี้ล้วนต้องใช้บายศรีเป็นเครื่องประกอบทั้งหมด จงึ เป็นแรงบันดาลใจ ให้อยากหดั อยากเรยี นจึงฝกึ ฝนศึกษาจนกระท้ังสามารถทาเป็นอาชพี ได้ จุดเดน่ ของภูมิปัญญำ จดุ เดน่ ของการทาบายศรีของ นางรัชนี ป่ินเท่ยี ง คือ ใบตอง ตอ้ งสดความประณีตเอาใจใส กับช้นิ งาน ว่าจะต้องออกมาสสวยงาม ราคาไมแ่ พง จะทาตามเม่อื มีคนสง่ั ทา วัตถุดบิ ท่ใี ช้ประโยชนใ์ นผลติ ภัณฑ์ท่ีเกิดจำกภูมิปัญญำ ซึง่ พ้ืนที่อนื่ ไมม่ ี - วตั ถุดบิ ทมี่ ีในชุมชนปลอดสารเคมี เช่น ดอกไมท้ ี่ใช้ประดบั - .ใบตองตานี รำยละเอยี ดของภูมปิ ัญญำทอ้ งถิ่น รูปแบบในการถ่ายทอดความรู้ ด้านการอบรมให้ความรู้ ฝึกปฏิบัติในพ้ืนที่จริงประโยชน์ที่ได้จากภูมิ ปัญญาคอื สามารถนา ไปปฏิบัติจริงได้ รูปแบบและลักษณะกำรถ่ำยทอด กำรประชำสมั พันธ์ เผยแพร่ภูมิปญั ญำทอ้ งถนิ่ ยงั ไมเ่ คยมกี ารเผยแพร/่ ใชเ้ ฉพาะบคุ คล เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน มีการเผยแพรผ่ า่ นส่ือมวลชนและส่อื อ่นื อยา่ งแพร่หลาย มีการดูงานจากบุคคลภายนอกจานวน .......คร้งั จานวน............คน มกี ารนาไปใช้ อน่ื ๆ (ระบ)ุ
2 ลักษณะของภูมิปัญญำท้องถ่ิน กำรพัฒนำต่อยอดภูมิปัญญำให้เป็นนวัตกรรม คุณค่ำ (มูลค่ำ) และ ควำม ภำคภูมใิ จ ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ /นวัตกรรมทคี่ ดิ คน้ ข้นึ มาใหม่ ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ดั้งเดมิ ไดร้ บั การถา่ ยทอดมาจากบรรพบรุ ษุ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่นทีไ่ ด้พัฒนาและต่อยอด แบบเดมิ คอื เดิมการทาบายศรีจะเป็นแค่การทาบายศรีปากชามอย่างเดียวที่ใช้ในพิธีกรรม แบบที่ยากหรือที่ทา ปัจจบุ นั ไมม่ ี กำรพัฒนำต่อยอดคอื - ได้เรยี นร้จู ากแหล่งต่างๆโดยการลกั จาเม่ือเห็นแบบแล้วกลับมาฝึกฝนพัฒนาดว้ ยตนเองทาใหเ้ กดิ ทกั ษะและประยุตแบบตา่ งๆได้ และสามารถเปน็ ภมู ปิ ัญญาให้กับชมุ ชนได้เปน็ วยิ ากรใหก้ ลบั โรงเรียนในตาบล ได้
3 รูปภำพเจ้ำของภมู ิปัญญำ นางรชั นี ปนิ่ เทย่ี ง ภมู ิปัญญา บายศรี บายศรี
4 แบบบนั ทึกชดุ ขอ้ มูลคลงั ปัญญำ-ภมู ปิ ัญญำทอ้ งถนิ่ ตำบลหวั โพ อำเภอ บำงแพ จังหวัดรำชบุรี ชือ่ ภมู ิปัญญำ:ผักตบชวา ขอ้ มูลพน้ื ฐำน รำยบุคคล เจำ้ ของภูมิปัญญำทอ้ งถน่ิ /บุคคลคลังปญั ญำ ชอื่ นายสาราญ นำมสกุลสูนยก์ ลาง วนั เดอื นปีเกดิ 9มิถุนายน พ.ศ. 2484 ท่ีอยู่ปจั จบุ นั (ที่สำมำรถตดิ ต่อได)้ : บา้ นเลขที่ 117 หมูท่ ่ี 3 ตาบล/แขวง หวั โพ อาเภอ/เขตบางแพ จงั หวัด ราชบรุ ี รหัสไปรษณีย์70160 โทรศัพท์-โทรสำร- .Line ID:- E-mail address:- Facebook:จนิ ตนา นาควเิ ชียร ควำมเปน็ มำของภมู ิปญั ญำ ปัญหาใหญ่ของผักตบชวา คือ ทาลายระบบนิเวศ หากบริเวณไหนมีผักตบชวาขึ้นหนาแน่น จะทาให้ แสงสอ่ งลงไปในน้าไม่ได้ เป็นผลทาให้พืชนา้ ท่ีเปน็ อาหารของสัตวน์ ้าลดน้อยลง ลุงสาราญเลยคิดวา่ น่าจะนามา ทาให้เกิดประโยชน์ โดยการนามาทาเป็นเชื่อไว้มัดเถา เครือผลไม้ประกอบกับในตาบลหัวโพ เป็นชาวไร ชาวสวนปลกู ต้องใชเ้ ชอื กมนั เถาเครอื ผกั ผลไม้ เช่น องุ่น มะระ บวบ เปน็ ต้น จุดเดน่ ของภูมปิ ัญญำ - การนาผักตบชวา มาทาให้เกิดประโยชน์โดยการเพม่ิ คุณค่า และเปน็ การลดระบบนเิ วศ ผักตบชวา สามารถช่วยบาบัดน้าเสยี โดยการทาหนา้ ท่กี รองน้าทีไ่ หลผ่านกอผกั ตบชวาอย่างชา้ ๆ - นาตบชวามาแปรรูปทาเป็นผลติ ภณั ฑจ์ ักสานหรอื สินค้าอื่น ๆ ผลิตภณั ฑจ์ ากผักตบชวากเ็ ชน่ กล่อง กลอ่ งใส่กระดาษทิชชู ตะกรา้ ผักตบชวา กระดาษจากผกั ตบชวา วัตถดุ บิ ทใ่ี ชป้ ระโยชนใ์ นผลติ ภัณฑ์ท่เี กิดจำกภูมิปัญญำ ซง่ึ พ้นื ท่อี นื่ ไม่มี - วัตถุดบิ เกดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติ รำยละเอียดของภมู ิปัญญำทอ้ งถ่นิ รูปแบบในการถ่ายทอดความรู้ ด้านการอบรมให้ความรู้ ฝึกปฏิบัติในพื้นที่จริงประโยชน์ท่ีได้จากภูมิ ปญั ญาคอื สามารถนา ไปปฏิบัติจรงิ ได้ รูปแบบและลักษณะกำรถ่ำยทอด กำรประชำสมั พนั ธ์ เผยแพรภ่ ูมิปัญญำท้องถิน่ ยังไม่เคยมกี ารเผยแพร่/ใช้เฉพาะบุคคล เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชมุ ชน มีการเผยแพรผ่ า่ นสือ่ มวลชนและสอ่ื อนื่ อยา่ งแพรห่ ลาย มีการดงู านจากบุคคลภายนอกจานวน .......คร้งั จานวน............คน มกี ารนาไปใช้ อื่นๆ (ระบ)ุ
56 ลักษณะของภูมิปัญญำท้องถ่ิน กำรพัฒนำต่อยอดภูมิปัญญำให้เป็นนวัตกรรม คุณค่ำ (มูลค่ำ) และ ควำม ภำคภมู ิใจ ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ /นวตั กรรมทค่ี ดิ ค้นขึน้ มาใหม่ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินดัง้ เดมิ ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ ภูมิปัญญาท้องถนิ่ ท่ีได้พัฒนาและต่อยอด แบบเดมิ คือ - เดมิ ก็นาผกั ตบชวามาจกั เปน็ เชือกมดั องนุ่ อยา่ งเดยี ว ทามาเป็น 5-6 ปี จะไมม่ รี ูปแบบอน่ื เลย กำรพฒั นำตอ่ ยอดคอื - ได้รับการอบรมเร่องการแปรรูปผักตบชวาเปน็ เร่ืองอื่นๆมากมาย เชน่ สานกระเปา๋ ถักเปน็ เชือก ราก นามาทาปุ๋ยหมกั ผักตบ ปุย๋ น้า เป็นตน้
6 รูปภำพเจ้ำของภมู ปิ ัญญำ นายสาราญ สนู ยก์ ลาง ภูมิปญั ญา ผักตบชวา การแปรรปู ผกั บชวา
7 แบบบันทึกชุดข้อมูลคลังปญั ญำ-ภมู ปิ ัญญำท้องถ่นิ ตำบลหวั โพ อำเภอบำงแพ จงั หวัดราชบุรี ชอ่ื ภูมปิ ัญญำ:เกษตรผสมผสาน ข้อมูลพ้นื ฐำน รำยบคุ คล เจำ้ ของภูมิปญั ญำท้องถิ่น/บุคคลคลงั ปัญญำ ช่อื นายจรญู นำมสกุล ตัณฑ์เจรญิ วนั เดือนปเี กิด- เดอื น -พ.ศ. 2488 ทอ่ี ยู่ปจั จุบัน(ท่ีสำมำรถตดิ ต่อได)้ :บ้านเลขที่ 145หมู่ท3ี่ ตาบล/แขวง หวั โพ อาเภอ/เขต บางแพ จงั หวัดราชบรุ ี รหัสไปรษณยี ์ 70160 โทรศพั ท์- โทรสำร.- Line ID:- E-mail address:- Facebook:- ควำมเป็นมำของภมู ิปัญญำ นายจรูญ ตันฑเ์ จริญ เดมิ ทาการเกษตรแบบปลกู พืชพ่ึงพาสารเคมีเป็นหลกั โดยใชค้ วามรู้ที่ได้จากการ ไปศกึ ษาดงู านในโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ การทาเกษตรอินทรยี ์ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง จึงได้มโี อกาส เดนิ ทางไปอบรมสัมมนาในพ้ืนที่ โดยใช้เวลาศกึ ษาเรยี นรู้และตัดสินใจนาน 2-3 ปี เพ่อื เปลย่ี นมาทาการเกษตร อินทรยี ต์ ามแนวเศรษฐกจิ พอเพียงโดยไม่พ่งึ พาสารเคมี และทาให้ร้วู า่ “เศรษฐกิจพอเพยี ง ถ้าลงมอื ทาจรงิ ๆ สามารถทาให้รวยได้ ไม่ใช่การรวยเงนิ ทอง แต่รวยปจั จยั สี่ ทอ่ี ยู่ในสวนในบ้านของเรา” จุดเด่นของภูมปิ ัญญำ - ปลกู พืช ทาการเกษตรแบบผสมผสาน ใช้พนื้ ที่ใหเ้ กิดประโยชนใ์ ห้มากที่สดุ ผลผลิตเหลือจาก รับประทานกข็ ายเป็นการเพิ่มรายได้ วตั ถดุ บิ ทีใ่ ชป้ ระโยชนใ์ นผลิตภัณฑท์ ่เี กดิ จำกภูมิปญั ญำ ซึง่ พื้นที่อ่ืนไม่มี - ใชว้ ตั ถุดบิ ทีม่ อี ยูใ่ นบา้ นมาทาให้เกดิ ประโยชน์ รำยละเอียดของภมู ิปัญญำท้องถิน่ รูปแบบในการถ่ายทอดความรู้ ด้านการอบรมให้ความรู้ ฝึกปฏิบัติในพื้นที่จริงประโยชน์ท่ีได้จากภูมิ ปญั ญาคือสามารถนา ไปปฏิบัติจริงได้ รูปแบบและลกั ษณะกำรถ่ำยทอด กำรประชำสมั พันธ์ เผยแพรภ่ มู ปิ ัญญำท้องถิ่น ยังไมเ่ คยมีการเผยแพร/่ ใช้เฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชมุ ชน มีการเผยแพร่ผา่ นสื่อมวลชนและสอ่ื อ่นื อยา่ งแพร่หลาย มีการดูงานจากบคุ คลภายนอกจานวน .......ครัง้ จานวน............คน มกี ารนาไปใช้ อนื่ ๆ (ระบุ)
8 ลักษณะของภูมิปัญญำท้องถ่ิน กำรพัฒนำต่อยอดภูมิปัญญำให้เป็นนวัตกรรม คุณค่ำ (มูลค่ำ) และ ควำม ภำคภูมใิ จ ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น/นวตั กรรมท่คี ดิ ค้นข้นึ มาใหม่ ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ดัง้ เดิมไดร้ บั การถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่นทไี่ ด้พัฒนาและต่อยอด แบบเดิมคอื - การพืชจะปลูกตามกฤดกู าร และเฉพาะที่ตลาดต้องการการเท่าน้นั กำรพัฒนำต่อยอดคือ - ศกึ ษาคน้ คว้าเรียนรู้ ตามศนู ย์เรียนรนู้ ากลบั มาพัฒนา กับการปลกู พืชผักของต้นเองโดยมีการปลูก พืชแบบผสมผสาน ใช้ปุ๋ยท่ีทาขน้ึ เองเปน็ ป๋ยุ ท่ีปลอดสารเคมี - พัฒนาไรส่ วนให้เป็นพชื ปลอดสารเคมี
9 รปู ภำพเจ้ำของภมู ิปญั ญำ นายจรญู ตัณฑ์เจริญ ภมู ิปัญญา เกษตรผสมผสาน การทาน้าหมกั ชีวภาพและผลผลติ ทางการเกษตร
10 คณะผู้จัดทำ ที่ปรึกษำ ครูชานาญการพิเศษผู้ รักษาการในตาแหนง่ ผอู้ านวยการ นางอรพร ผลกจิ กศน.อาเภอบางแพ ผจู้ ัดทำ ครู กศน.ตาบลหัวโพ นางศศินา ตะละศักด์ิ บรรณารกั ษช์ านาญการพเิ ศษ บรรณำธิกำร/จดั ทำรปู เลม่ บรรณารกั ษ์อัตราจ้าง นางมิง่ ขวัญ คอยชน่ื นางสาวทฤฒมน ชนิ ณบดี
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: