Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Unit School

Unit School

Published by 003mibnint, 2020-05-13 08:56:45

Description: Unit School

Search

Read the Text Version

Unit School 1. ความหมาย Unit School คอื การจัดการเรยี นการสอนภายในหน่วยงาน เปน็ การถา่ ยทอดความรูโ้ ดยบคุ ลากร ภายในหนว่ ยงานสบู่ คุ ลากรภายในหนว่ ยงาน เพ่ือสร้างองค์ความรู้ข้ึนในหน่วยงาน บุคลากรสามารถนาความรู้ นนั้ ไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านตามภารกจิ จนงานสาเรจ็ ได้ดีกวา่ เดมิ ใชร้ ะยะเวลาสัน้ ๆในการเรียนการสอน และไม่ กระทบตอ่ เวลาปฏบิ ตั ิงาน หลักและไม่ใช้งบประมาณหรอื อาจใช้แต่ไมใ่ ช่งบประมาณสาหรบั ฝกึ อบรมตามแผน ประจาปี 2. ความสาคญั 2.1 วตั ถุประสงคข์ องการจัดทา Unit School เพอ่ื จะตอ้ งพัฒนาบุคลากรให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยี เคร่อื งมอื ความรู้ นวตั กรรม และกระบวนการทางานทเี่ ปล่ียนแปลงไป 2.2 ขอ้ จากัดทางด้านงบประมาณทาใหง้ านการฝึกอบรมตามแผนฝึกอบรมบุคลากรถูกปรับลดลง ซ่งึ จะส่งผลถงึ การพฒั นาบุคลากร และประสิทธิภาพการปฏิบตั ิงาน 2.3 ในการจัดทาแผนการเรียนการสอนภายในหนว่ ยงาน (Unit School) เปน็ ไปตามความคดิ เหน็ ของหน่วยงาน โดยไม่ต้องขอรบั การสนับสนุนงบประมาณเพ่ิมเติมจากกรมฯ 2.4 การฝกึ อบรมตามแผนประจาปไี มส่ ามารถกาหนดให้ครอบคลมุ ไดท้ กุ เร่อื ง ทกุ กล่มุ เปา้ หมาย ดังนัน้ ทุกหนว่ ยงานตอ้ งเพ่มิ พูนความรู้ หรอื พัฒนาความสามารถของบุคลากรในเร่ืองตา่ งๆที่เกยี่ วข้องด้วย Unit School ตามโอกาส และเวลาท่ีเหมาะสม 3. ประโยชน์ 3.1 ทาใหส้ ามารถพฒั นาความรู้ ความสามารถ ให้กับบคุ ลากรของหน่วยงานในเรอ่ื งวิชาการ และ เทคนคิ การปฏิบตั ิ สง่ ผลใหก้ ารปฏบิ ัติงานดีขึ้น 3.2 สนบั สนุนการพฒั นาบคุ ลากรโดยไมใ่ ช้งบประมาณ หรือในสภาวะจากัดงบประมาณ 3.3 ใช้เวลา และทรพั ยากรทมี่ ใี ห้คุม้ ค่า 3.4 ทาให้บุคลากรต่นื ตัว/จงู ใจใหม้ ีการปรับปรงุ ตนเอง แสวงหาความรู้/ฝกึ ฝนตนเอง 3.5 ทาให้เกิดความสมั พันธอ์ นั ดีระหวา่ งผูบ้ งั คบั บัญชากับผ้ใู ตบ้ ังคบั บัญชาทกุ ระดบั 4. เรอื่ งท่จี ะนามาจัดการเรียนการสอนแบบ Unit School 4.1 เปน็ เรอื่ งทเี่ ปน็ ภารกจิ หลักของหน่วยงาน 4.2 เปน็ เรื่องเฉพาะทาง (วิชาการ/เทคนคิ เฉพาะ) 4.3 เป็นเร่ืองเฉพาะหน้า ที่มปี ัญหาหรือมีจุดออ่ น ตอ้ งแก้ไขเพื่อใหม้ คี วามรแู้ ละสามารถทางานต่อได้ 4.4 เปน็ เรื่องเกย่ี วกับกฎระเบยี บท่เี กี่ยวขอ้ งกับการทางาน 4.5 เร่อื งอ่นื ๆ ได้แก่ เร่อื งทม่ี ีความสาคญั และจาเป็นตอ่ การปฏิบตั งิ าน ท้งั น้ี หากในหนว่ ยงานมีการเสนอเรอ่ื งท่สี ามารถเชือ่ มโยงกนั ไดส้ ามารถรวมกลมุ่ กนั และสอน/เรยี นรู้ ในคราวเดียวกนั โดยจดั เปน็ หลกั สตู ร 5. แผนการเรียนการสอนแบบ Unit School ตอ้ งเสนอให้ผ้บู ังคับบัญชาอนมุ ตั ิ 6. ขั้นตอนในการจัดการเรยี นการสอนภายในหนว่ ยงาน Unit School 6.1 กาหนดเรื่องทจี่ ะทาการเรียนการสอนแบบ Unit School 6.2 จัดทาแผนจัดการเรียนการสอนภายในหน่วยงาน 6.3 แบ่งมอบหน้าทีร่ ับผิดชอบในการดาเนนิ งาน

2 6.4 นาแผนการสอนทมี่ ีอยู่มาใช้เป็นพน้ื ฐาน (ถ้ามอี ย่บู า้ งแลว้ ) 6.5 ผูส้ อนจัดทาแผนการสอน เตรียมอปุ กรณช์ ว่ ยสอน/ส่ือการสอน 6.6 ดาเนนิ การสอน 6.7 ประเมนิ ผล/สรุปผลเสนอผู้บังคบั บัญชา 7. แผนการสอน 7.1 แผนการสอน คอื การบันทึกยอ่ ของครูวา่ จะสอนในบทเรียนน้ันอย่างไร แสดงถึงสง่ิ ของ /อปุ กรณ์ การสอน ลาดบั ข้ันการสอน และวธิ กี ารสอนอย่างชัดเจน 7.2 แผนการสอนแต่ละบทเรยี น คือ ส่วนประกอบหน่งึ ของเรือ่ งที่จะสอน 7.3 แผนการสอน เปน็ เคร่อื งช่วยใหส้ าเรจ็ ตามภารกิจการสอน ช่วยใหบ้ ุคลากรผ้เู รยี นเขา้ ใจใน บทเรยี นทุกๆบทเรียน 7.4 องค์ประกอบของแผนการสอน 1) ความมุ่งหมาย (หลักการเหตผุ ล/ความจาเปน็ ) 2) วตั ถปุ ระสงค์ 3) ขอบเขตการสอน (หัวข้อวิชาท่จี ะสอน) 4) ผูเ้ ขา้ รบั การเรยี นการสอน (กล่มุ เปา้ หมาย) พรอ้ มระบุรายละเอยี ด 5) ผู้รบั ผดิ ชอบการจดั การเรียนการสอน 6) ระยะเวลา (ไม่น้อยกว่า 30 นาที และไมค่ วรเกิน 1 สปั ดาห์) 7) วิธกี ารสอน และการประเมินผล (ระบุวิธกี ารสอน เช่น บรรยาย ฝกึ ปฏบิ ัติ ระดมสมอง / ระบุ การประเมนิ ผล เช่น ทาแบบทดสอบ สังเกตพฤตกิ รรม เป็นต้น) 8) เคร่ืองมือช่วยสอน/สอ่ื การสอน/เอกสารอ้างองิ 8. ข้อควรคานงึ ในการจัดการเรยี นการสอนแบบ Unit School 8.1 เร่อื งทจ่ี ะสอนจะต้องเปน็ การเพิม่ พูนความรู้ 8.2 จัดการเรยี นการสอนใหง้ ่ายและสะดวก ทง้ั ต่อผู้เรยี น และผู้สอน - เวลา - สถานท่ี 8.3 ตอ้ งมีการประเมินผล และควรมีผู้ตดิ ตามผล ใหค้ าแนะนา สรปุ บทเรียนจากโครงการสัมมนาเรอ่ื ง “แนวทางการพฒั นาบคุ ลากรโดยใช้แนวคิดของ “Unit School” บรรยายโดย พันเอกชชู าติ คานชุ รองผอ.สกฝ.ยศ.ทบ. เมอ่ื วนั จนั ทร์ท่ี 25 กันยายน 2560 ผสู้ รปุ บทเรยี น นางปวณี า แสงเดอื น และนางสาวชาสิณี สัมฤทธ์ิ