เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานุเบกษา ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วา ดว ยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ โดยทเ่ี ปน การสมควรปรับปรุงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๐๖ เสียใหมใหเหมาะสมย่งิ ขนึ้ คณะรัฐมนตรจี ึงวางระเบียบไว ดงั ตอไปนี้ ขอ ๑ ระเบยี บนี้เรียกวา “ระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖” ขอ ๒ ระเบียบน้ีใหใ ชบ ังคบั ตงั้ แตวนั ที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๒๖ เปน ตน ไป ขอ ๓ ใหยกเลกิ ๓.๑ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรวี าดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๐๖ ๓.๒ ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวาดวยการลงชื่อในหนังสือราชการ พ.ศ. ๒๕๐๗ ๓.๓ ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวาดวยการลงชื่อในหนังสือราชการ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๑๖ บรรดาระเบียบ ขอบังคับ มติของคณะรัฐมนตรี และคําส่ังอ่ืนใด ในสวนที่กําหนดไวแลว ในระเบยี บน้ี หรือซึง่ ขัด หรอื แยง กับระเบยี บน้ี ใหใชร ะเบยี บน้แี ทน เวนแตก รณที ี่กลาวในขอ ๕ ขอ ๔ ระเบียบน้ใี หใชบ ังคับแกสวนราชการ สวนราชการใดมีความจําเปนที่จะตองปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากท่ีไดกําหนดไว ในระเบยี บนใ้ี หข อทาํ ความตกลงกับผูรกั ษาการตามระเบยี บนี้ ขอ ๕ ในกรณีทก่ี ฎหมาย หรอื ระเบียบวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ กําหนดวิธี ปฏบิ ตั เิ กีย่ วกับงานสารบรรณไวเปนอยางอน่ื ใหถ ือปฏิบัตติ ามกฎหมาย หรือระเบยี บวา ดว ยการนนั้ ขอ ๖ ในระเบียบน้ี “งานสารบรรณ” หมายความวา งานที่เก่ียวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแตการจัดทํา การรับ การสง การเกบ็ รกั ษา การยืม จนถงึ การทาํ ลาย “หนังสือ” หมายความวา หนังสือราชการ “สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานกั งาน หรือหนวยงานอน่ื ใดของรัฐ ทัง้ ในราชการบรหิ ารสวนกลาง ราชการบริหารสว นภมู ิภาค ราชการบริหารสวนทองถ่ิน หรือในตางประเทศ และใหหมายความรวมถงึ คณะกรรมการดว ย
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการใหปฏิบัติงาน ในเรือ่ งใด ๆ และใหหมายความรวมถึงคณะอนกุ รรมการ คณะทาํ งาน หรือคณะบุคคลอ่ืนท่ีปฏิบัติงาน ในลกั ษณะเดียวกัน ขอ ๗ คาํ อธิบายซ่งึ กาํ หนดไวทายระเบียบ ใหถ ือวาเปนสว นประกอบท่ีใชในงานสารบรรณ และใหใชเ ปน แนวทางในการปฏบิ ัติ ขอ ๘ ใหปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบน้ี และใหมีอํานาจตีความและ วินิจฉยั ปญ หาเกีย่ วกบั การปฏบิ ัติตามระเบยี บน้ี รวมทง้ั การแกไขเพิ่มเติมภาคผนวกและจัดทําคําอธิบาย กับใหม ีหนา ที่ดาํ เนินการฝก อบรมเกีย่ วกบั งานสารบรรณ การตีความ การวนิ จิ ฉยั ปญหา และการแกไ ขเพ่มิ เตมิ ภาคผนวก และคําอธิบายตามวรรคหนึ่ง ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีจะขอความเห็นจากคณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาระเบียบ สํานกั นายกรฐั มนตรเี พ่ือประกอบการพจิ ารณาก็ได หมวด ๑ ชนดิ ของหนังสือ ขอ ๙ หนังสอื ราชการ คอื เอกสารท่เี ปนหลักฐานในราชการ ไดแก ๙.๑ หนงั สอื ทีม่ ีไปมาระหวางสว นราชการ ๙.๒ หนงั สอื ท่สี วนราชการมีไปถงึ หนวยงานอ่ืนใดซ่ึงมิใชสวนราชการ หรือท่ีมีไปถึง บคุ คลภายนอก ๙.๓ หนังสือท่ีหนวยงานอ่ืนใดซ่ึงมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึง สวนราชการ ๙.๔ เอกสารท่ที างราชการจัดทาํ ขนึ้ เพอื่ เปนหลกั ฐานในราชการ ๙.๕ เอกสารทที่ างราชการจัดทาํ ข้ึนตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอ บังคบั ขอ ๑๐ หนังสือ มี ๖ ชนิด คือ ๑๐.๑ หนังสอื ภายนอก ๑๐.๒ หนงั สอื ภายใน ๑๐.๓ หนังสือประทับตรา
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๓ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานุเบกษา ๑๐.๔ หนังสือส่ังการ ๑๐.๕ หนงั สือประชาสมั พนั ธ ๑๐.๖ หนงั สือที่เจาหนาท่ที ําขึน้ หรอื รบั ไวเปนหลักฐานในราชการ สวนที่ ๑ หนังสอื ภายนอก ขอ ๑๑ หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการท่ีเปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑ เปนหนังสือตดิ ตอระหวา งสวนราชการ หรอื สว นราชการมถี ึงหนวยงานอื่นใดซงึ่ มิใชส วนราชการ หรือ ทมี่ ถี ึงบคุ คลภายนอก ใหจ ัดทาํ ตามแบบท่ี ๑ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอียดดงั นี้ ๑๑.๑ ที่ ใหล งรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจําของเจาของเรื่อง ตามท่ีกําหนดไว ในภาคผนวก ๑ ทับเลขทะเบียนหนังสือสง สําหรับหนังสือของคณะกรรมการใหกําหนดรหัสตัวพยัญชนะ เพ่ิมข้ึนไดต ามความจําเปน ๑๑.๒ สวนราชการเจาของหนังสือ ใหลงช่ือสวนราชการ สถานท่ีราชการ หรือ คณะกรรมการซึ่งเปน เจา ของหนังสือน้ัน และโดยปกติใหล งทีต่ ั้งไวด วย ๑๑.๓ วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันท่ี ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของป พทุ ธศักราชที่ออกหนงั สือ ๑๑.๔ เร่ือง ใหลงเรื่องยอท่ีเปนใจความสั้นที่สุดของหนังสือฉบับนั้น ในกรณีที่ เปน หนงั สือตอ เน่ือง โดยปกติใหล งเร่อื งของหนงั สือฉบบั เดมิ ๑๑.๕ คาํ ข้นึ ตน ใหใชค าํ ข้นึ ตนตามฐานะของผูร ับหนงั สอื ตามตารางการใชคําข้ึนตน สรรพนาม และคาํ ลงทา ย ทกี่ ําหนดไวในภาคผนวก ๒ แลวลงตําแหนงของผูที่หนังสือนั้นมีถึง หรือ ชอ่ื บคุ คลในกรณที มี่ ถี งึ ตัวบุคคลไมเกี่ยวกับตําแหนง หนา ท่ี ๑๑.๖ อางถงึ (ถามี) ใหอ า งถงึ หนังสือท่ีเคยมีติดตอกันเฉพาะหนังสือที่สวนราชการ ผรู ับหนังสือไดรบั มากอนแลว จะจากสวนราชการใดก็ตาม โดยใหลงช่ือสวนราชการเจาของหนังสือ และเลขทีห่ นงั สอื วนั ท่ี เดอื น ปพทุ ธศกั ราช ของหนังสือนนั้ การอางถงึ ใหอ างถึงหนงั สอื ฉบบั สุดทายท่ีติดตอกันเพียงฉบับเดียว เวนแต มีเรื่องอ่นื ทเี่ ปนสาระสําคัญตอ งนาํ มาพิจารณา จึงอางถึงหนังสือฉบับอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวกับเรื่องนั้นโดยเฉพาะ ใหท ราบดว ย
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๔ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา ๑๑.๗ ส่งิ ที่สง มาดวย (ถา มี) ใหล งชอ่ื ส่ิงของ เอกสาร หรอื บรรณสารท่ีสงไปพรอมกับ หนังสือนั้น ในกรณที ่ไี มสามารถสงไปในซองเดียวกันได ใหแ จง ดวยวาสง ไปโดยทางใด ๑๑.๘ ขอความ ใหล งสาระสาํ คัญของเร่อื งใหชัดเจนและเขาใจงาย หากมีความประสงค หลายประการใหแ ยกเปน ขอ ๆ ๑๑.๙ คําลงทา ย ใหใชค ําลงทา ยตามฐานะของผรู ับหนงั สอื ตามตารางการใชคําข้ึนตน สรรพนาม และคาํ ลงทาย ทก่ี ําหนดไวในภาคผนวก ๒ ๑๑.๑๐ ลงช่ือ ใหลงลายมือช่ือเจาของหนังสือ และใหพิมพช่ือเต็มของเจาของ ลายมอื ชื่อไวใ ตล ายมือชื่อ ตามรายละเอียดทก่ี ําหนดไวใ นภาคผนวก ๓ ๑๑.๑๑ ตาํ แหนง ใหลงตําแหนง ของเจา ของหนังสือ ๑๑.๑๒ สวนราชการเจาของเรือ่ ง ใหล งชอื่ สวนราชการเจาของเรื่อง หรือหนวยงาน ท่ีออกหนังสือ ถาสวนราชการที่ออกหนังสืออยูในระดับกระทรวง หรือทบวง ใหลงช่ือสวนราชการ เจา ของเรื่องทง้ั ระดบั กรมและกอง ถา สว นราชการท่ีออกหนังสืออยูในระดับกรมลงมา ใหลงช่ือสวนราชการ เจาของเรื่องเพยี งระดบั กองหรือหนว ยงานทีร่ ับผิดชอบ ๑๑.๑๓ โทร. ใหลงหมายเลขโทรศัพทของสว นราชการเจาของเร่ือง หรือหนวยงาน ทอ่ี อกหนังสือและหมายเลขภายในตูสาขา (ถา มี) ไวด วย ๑๑.๑๔ สําเนาสง (ถามี) ในกรณีท่ีผูสงจัดทําสําเนาสงไปใหสวนราชการ หรือ บคุ คลอนื่ ทราบ และประสงคจะใหผรู บั ทราบวาไดมีสําเนาสงไปใหผูใดแลว ใหพิมพช่ือเต็ม หรือชื่อยอ ของสวนราชการหรือชื่อบุคคลทีส่ งสําเนาไปให เพ่ือใหเ ปนทีเ่ ขาใจระหวางผูสงและผูรับ ถาหากมีรายชื่อ ทีส่ ง มากใหพมิ พว า สง ไปตามรายช่ือทแี่ นบ และแนบรายชื่อไปดว ย สว นท่ี ๒ หนังสือภายใน ขอ ๑๒ หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการท่ีเปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอก เปน หนงั สอื ติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรอื จงั หวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ และ ใหจัดทาํ ตามแบบท่ี ๒ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั น้ี
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๕ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา ๑๒.๑ สวนราชการ ใหลงชอื่ สว นราชการเจาของเร่ือง หรือหนวยงานท่ีออกหนังสือ โดยมีรายละเอียดพอสมควร โดยปกติถาสวนราชการท่ีออกหนังสืออยูในระดับกรมข้ึนไป ใหลงช่ือ สวนราชการเจาของเรอ่ื งทั้งระดับกรมและกอง ถาสวนราชการที่ออกหนังสืออยูในระดับตํ่ากวากรมลงมา ใหลงช่ือสวนราชการเจาของเรื่องเพียงระดับกอง หรือสวนราชการเจาของเร่ืองพรอมท้ังหมายเลข โทรศัพท (ถาม)ี ๑๒.๒ ท่ี ใหล งรหสั ตัวพยัญชนะและเลขประจําของเจาของเร่ือง ตามท่ีกําหนดไว ในภาคผนวก ๑ ทบั เลขทะเบยี นหนงั สือสง สําหรบั หนงั สอื ของคณะกรรมการใหก ําหนดรหัสตวั พยัญชนะ เพม่ิ ข้ึนไดตามความจําเปน ๑๒.๓ วันท่ี ใหลงตัวเลขของวันที่ ชือ่ เต็มของเดือน และตัวเลขของปพุทธศักราช ที่ออกหนังสือ ๑๒.๔ เรื่อง ใหลงเรื่องยอท่ีเปนใจความสั้นที่สุดของหนังสือฉบับน้ัน ในกรณีท่ี เปน หนังสือตอเน่ือง โดยปกตใิ หลงเร่อื งของหนงั สือฉบับเดิม ๑๒.๕ คาํ ขึ้นตน ใหใชค าํ ขึน้ ตน ตามฐานะของผูรบั หนังสอื ตามตารางการใชคําข้ึนตน สรรพนาม และคําลงทาย ทกี่ ําหนดไวในภาคผนวก ๒ แลวลงตําแหนงของผูที่หนังสือน้ันมีถึง หรือ ชอื่ บุคคลในกรณที ี่มีถึงตัวบคุ คลไมเ กีย่ วกบั ตาํ แหนงหนา ท่ี ๑๒.๖ ขอ ความ ใหลงสาระสาํ คัญของเรอื่ งใหชัดเจนและเขาใจงาย หากมีความประสงค หลายประการใหแยกเปนขอ ๆ ในกรณีท่ีมีการอางถึงหนังสือท่ีเคยมีติดตอกันหรือมีส่ิงที่สงมาดวย ใหระบไุ วใ นขอนี้ ๑๒.๗ ลงช่อื และตําแหนง ใหป ฏบิ ัตติ ามขอ ๑๑.๑๐ และขอ ๑๑.๑๑ โดยอนุโลม ในกรณีทกี่ ระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดใดประสงคจะกําหนดแบบการเขียนโดยเฉพาะ เพ่อื ใชตามความเหมาะสมก็ใหกระทาํ ได สว นท่ี ๓ หนังสอื ประทับตรา ขอ ๑๓ หนังสือประทบั ตรา คือ หนังสือทใ่ี ชป ระทบั ตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวนราชการ ระดบั กรมข้ึนไป โดยใหห ัวหนา สว นราชการระดบั กอง หรือผูท่ีไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวนราชการ ระดบั กรมขน้ึ ไป เปนผูรบั ผิดชอบลงช่อื ยอกํากับตรา
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๖ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา หนังสอื ประทบั ตราใหใ ชไ ดท ้ังระหวางสว นราชการกับสว นราชการ และระหวา งสวนราชการ กับบคุ คลภายนอก เฉพาะกรณีทไี่ มใชเรือ่ งสําคัญ ไดแก ๑๓.๑ การขอรายละเอยี ดเพมิ่ เติม ๑๓.๒ การสงสาํ เนาหนังสือ ส่งิ ของ เอกสาร หรือบรรณสาร ๑๓.๓ การตอบรับทราบที่ไมเ กยี่ วกบั ราชการสาํ คัญ หรือการเงนิ ๑๓.๔ การแจง ผลงานทไ่ี ดดําเนินการไปแลวใหสว นราชการทีเ่ ก่ยี วของทราบ ๑๓.๕ การเตือนเรอื่ งท่คี า ง ๑๓.๖ เร่ืองซึ่งหัวหนาสว นราชการระดับกรมขน้ึ ไปกําหนดโดยทําเปนคําส่ัง ใหใช หนังสือประทับตรา ขอ ๑๔ หนังสือประทบั ตรา ใชกระดาษตราครุฑ และใหจัดทําตามแบบที่ ๓ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอยี ดดังน้ี ๑๔.๑ ที่ ใหล งรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจําของเจาของเรื่อง ตามที่กําหนดไว ในภาคผนวก ๑ ทบั เลขทะเบยี นหนังสือสง ๑๔.๒ ถึง ใหลงช่อื สวนราชการ หนวยงาน หรอื บุคคลที่หนังสอื นน้ั มถี ึง ๑๔.๓ ขอ ความ ใหล งสาระสําคัญของเรือ่ งใหชัดเจนและเขา ใจงา ย ๑๔.๔ ช่ือสวนราชการทีส่ ง หนงั สือออก ใหลงชื่อสว นราชการทส่ี ง หนังสอื ออก ๑๔.๕ ตราชอื่ สวนราชการ ใหประทบั ตราช่ือสว นราชการตามขอ ๗๒ ดวยหมึกแดง และใหผูรบั ผิดชอบลงลายมอื ชอื่ ยอ กํากบั ตรา ๑๔.๖ วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันที่ ช่ือเต็มของเดือนและตัวเลขของป พุทธศักราชทอี่ อกหนังสือ ๑๔.๗ สวนราชการเจาของเร่อื ง ใหลงชอ่ื สวนราชการเจาของเร่ือง หรือหนวยงาน ทอี่ อกหนังสือ ๑๔.๘ โทร. หรือท่ีต้ัง ใหล งหมายเลขโทรศพั ทของสวนราชการเจาของเรื่อง และ หมายเลขภายในตูส าขา (ถามี) ดวย ในกรณีที่ไมมีโทรศัพท ใหลงที่ต้ังของสวนราชการเจาของเร่ือง โดยใหลงตาํ บลที่อยตู ามความจําเปน และแขวงไปรษณีย (ถา มี)
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๗ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานุเบกษา สว นที่ ๔ หนังสอื สั่งการ ขอ ๑๕ หนังสือสงั่ การ ใหใ ชต ามแบบทีก่ าํ หนดไวในระเบยี บน้ี เวน แตจ ะมีกฎหมายกําหนดแบบไว โดยเฉพาะ หนงั สือส่งั การมี ๓ ชนดิ ไดแ ก คําส่ัง ระเบียบ และขอ บงั คับ ขอ ๑๖ คําส่ัง คือ บรรดาขอความที่ผูบังคับบัญชาสั่งการใหปฏิบัติโดยชอบดวยกฎหมาย ใชก ระดาษตราครฑุ และใหจ ัดทําตามแบบท่ี ๔ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังน้ี ๑๖.๑ คําสั่ง ใหลงชือ่ สวนราชการ หรอื ตาํ แหนง ของผมู อี ํานาจทีอ่ อกคําสงั่ ๑๖.๒ ท่ี ใหลงเลขที่ที่ออกคําส่ัง โดยเร่ิมฉบับแรกจากเลข ๑ เรียงเปนลําดับไป จนสิ้นปปฏิทนิ ทับเลขปพทุ ธศักราชทอ่ี อกคําส่ัง ๑๖.๓ เรอื่ ง ใหลงชอ่ื เร่อื งทอี่ อกคาํ สงั่ ๑๖.๔ ขอความ ใหอางเหตุที่ออกคําส่ัง และอางถึงอํานาจที่ใหออกคําสั่ง (ถามี) ไวดว ย แลว จงึ ลงขอ ความทส่ี งั่ และวนั ใชบ งั คบั ๑๖.๕ สั่ง ณ วันที่ ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของป พทุ ธศักราชท่อี อกคําส่งั ๑๖.๖ ลงช่ือ ใหลงลายมือช่อื ผูอ อกคําส่ัง และพมิ พช่อื เต็มของเจาของลายมือชื่อไว ใตลายมือชอ่ื ๑๖.๗ ตาํ แหนง ใหลงตาํ แหนง ของผูออกคําสงั่ ขอ ๑๗ ระเบยี บ คอื บรรดาขอความท่ผี มู ีอาํ นาจหนาที่ไดวางไว โดยจะอาศัยอํานาจของกฎหมาย หรือไมก ็ได เพ่อื ถอื เปน หลักปฏิบัติงานเปนการประจํา ใชกระดาษตราครุฑ และใหจัดทําตามแบบท่ี ๕ ทายระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดังนี้ ๑๗.๑ ระเบยี บ ใหลงช่อื สวนราชการท่ีออกระเบียบ ๑๗.๒ วาดว ย ใหล งชอ่ื ของระเบียบ ๑๗.๓ ฉบับท่ี ถาเปนระเบียบที่กลาวถึงเปนคร้ังแรกในเรื่องนั้น ไมตองลงวา เปนฉบบั ทเ่ี ทา ใด แตถาเปน ระเบยี บเรอ่ื งเดยี วกนั ทมี่ ีการแกไ ขเพม่ิ เตมิ ใหล งเปน ฉบับท่ี ๒ และท่ีถัด ๆ ไปตามลาํ ดับ
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๘ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ๑๗.๔ พ.ศ. ใหล งตวั เลขของปพทุ ธศกั ราชท่ีออกระเบียบ ๑๗.๕ ขอ ความ ใหอางเหตุผลโดยยอ เพื่อแสดงถึงความมุงหมายท่ีตองออกระเบียบ และอางถึงกฎหมายทใี่ หอ าํ นาจออกระเบยี บ (ถาม)ี ๑๗.๖ ขอ ใหเรียงขอความทจ่ี ะใชเ ปนระเบียบเปนขอ ๆ โดยใหขอ ๑ เปนช่ือระเบียบ ขอ ๒ เปนวนั ใชบ งั คับกาํ หนดวาใหใ ชบงั คับตั้งแตเมือ่ ใด และขอ สุดทาย เปนขอผูรักษาการ ระเบียบใด ถา มมี ากขอหรือหลายเร่อื ง จะแบง เปน หมวดกไ็ ด โดยใหยา ยขอ ผูรักษาการไปเปนขอสุดทายกอนที่จะข้ึน หมวด ๑ ๑๗.๗ ประกาศ ณ วนั ที่ ใหล งตัวเลขของวนั ที่ ชอ่ื เตม็ ของเดอื น และตัวเลขของป พทุ ธศักราชทอี่ อกระเบียบ ๑๗.๘ ลงชื่อ ใหลงลายมือช่อื ผูออกระเบียบ และพมิ พช ่อื เต็มของเจา ของลายมือช่ือไว ใตล ายมือชือ่ ๑๗.๙ ตําแหนง ใหล งตําแหนงของผูออกระเบียบ ขอ ๑๘ ขอบงั คบั คอื บรรดาขอความทีผ่ มู อี าํ นาจหนาท่ีกําหนดใหใชโดยอาศัยอํานาจของกฎหมาย ท่บี ัญญตั ิใหกระทาํ ได ใชกระดาษตราครฑุ และใหจดั ทาํ ตามแบบท่ี ๖ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั น้ี ๑๘.๑ ขอ บงั คบั ใหล งชอื่ สวนราชการทอ่ี อกขอบงั คบั ๑๘.๒ วา ดวย ใหลงช่ือของขอ บงั คบั ๑๘.๓ ฉบับท่ี ถาเปนขอบังคับท่ีกลาวถึงเปนครั้งแรกในเร่ืองนั้น ไมตองลงวา เปน ฉบบั ท่ีเทา ใด แตถา เปนขอ บังคบั เรอ่ื งเดยี วกันท่ีมีการแกไขเพ่มิ เติมใหล งเปน ฉบบั ที่ ๒ และทถี่ ดั ๆ ไป ตามลําดับ ๑๘.๔ พ.ศ. ใหลงตัวเลขของปพทุ ธศักราชท่อี อกขอบังคับ ๑๘.๕ ขอ ความ ใหอา งเหตุผลโดยยอ เพื่อแสดงถงึ ความมงุ หมายทีต่ องออกขอบังคับ และอา งถึงกฎหมายท่ีใหอ าํ นาจออกขอบงั คบั ๑๘.๖ ขอ ใหเรียงขอ ความทจี่ ะใชบ ังคบั เปน ขอ ๆ โดยให ขอ ๑ เปนชื่อขอบังคับ ขอ ๒ เปนวนั ใชบงั คับกําหนดวา ใหใ ชบงั คับต้งั แตเ ม่ือใด และขอ สุดทายเปนขอผูรักษาการ ขอบังคับใด ถา มมี ากขอ หรือหลายเรอื่ งจะแบงเปนหมวดก็ได โดยใหยายขอผูรักษาการไปเปนขอสุดทายกอนที่จะข้ึน หมวด ๑
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๙ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานุเบกษา ๑๘.๗ ประกาศ ณ วนั ที่ ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของ ปพุทธศักราช ท่อี อกขอ บงั คบั ๑๘.๘ ลงชอื่ ใหลงลายมอื ชื่อผูอ อกขอ บังคับ และพิมพช่ือเต็มของเจาของลายมือชื่อไว ใตล ายมอื ชื่อ ๑๘.๙ ตําแหนง ใหล งตาํ แหนง ของผอู อกขอ บงั คับ สวนที่ ๕ หนังสอื ประชาสมั พนั ธ ขอ ๑๙ หนงั สอื ประชาสัมพันธ ใหใชตามแบบที่กําหนดไวในระเบียบนี้ เวนแตจะมีกฎหมาย กาํ หนดแบบไวโ ดยเฉพาะ หนงั สอื ประชาสมั พนั ธมี ๓ ชนิด ไดแก ประกาศ แถลงการณ และขา ว ขอ ๒๐ ประกาศ คือ บรรดาขอความท่ีทางราชการประกาศหรือชี้แจงใหทราบ หรือแนะแนว ทางปฏบิ ตั ิ ใชก ระดาษตราครฑุ และใหจ ดั ทําตามแบบท่ี ๗ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอยี ดดังนี้ ๒๐.๑ ประกาศ ใหล งช่อื สวนราชการท่ีออกประกาศ ๒๐.๒ เรอ่ื ง ใหล งช่อื เร่อื งทปี่ ระกาศ ๒๐.๓ ขอความ ใหอางเหตผุ ลท่ตี อ งออกประกาศและขอความท่ีประกาศ ๒๐.๔ ประกาศ ณ วนั ที่ ใหลงตัวเลขของวันท่ี ช่ือเต็มของเดือน และตัวเลขของ ปพ ทุ ธศักราชท่ีออกประกาศ ๒๐.๕ ลงชื่อ ใหลงลายมอื ชอ่ื ผอู อกประกาศ และพมิ พช อื่ เต็มของเจา ของลายมือช่ือ ไวใตล ายมอื ชื่อ ๒๐.๖ ตําแหนง ใหลงตําแหนง ของผอู อกประกาศ ในกรณีทก่ี ฎหมายกําหนดใหทาํ เปนแจงความ ใหเปลยี่ นคาํ วา ประกาศ เปน แจง ความ ขอ ๒๑ แถลงการณ คือ บรรดาขอความที่ทางราชการแถลงเพ่ือทําความเขาใจในกิจการ ของทางราชการ หรือเหตุการณหรือกรณีใด ๆ ใหทราบชัดเจนโดยท่ัวกัน ใชกระดาษตราครุฑ และ ใหจัดทาํ ตามแบบท่ี ๘ ทา ยระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดงั น้ี
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๐ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ๒๑.๑ แถลงการณ ใหล งชอื่ สวนราชการทอี่ อกแถลงการณ ๒๑.๒ เรื่อง ใหล งชื่อเรื่องทอ่ี อกแถลงการณ ๒๑.๓ ฉบับที่ ใชในกรณีที่จะตองออกแถลงการณหลายฉบับในเรื่องเดียว ท่ีตอ เนอื่ งกนั ใหลงฉบับที่เรียงตามลาํ ดับไวดว ย ๒๑.๔ ขอ ความ ใหอา งเหตุผลทตี่ องออกแถลงการณและขอ ความที่แถลงการณ ๒๑.๕ สว นราชการทีอ่ อกแถลงการณ ใหล งชือ่ สวนราชการทีอ่ อกแถลงการณ ๒๑.๖ วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันท่ี ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของ ปพุทธศกั ราชท่ีออกแถลงการณ ขอ ๒๒ ขาว คือ บรรดาขอความที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพรใหทราบ ใหจัดทํา ตามแบบท่ี ๙ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั น้ี ๒๒.๑ ขาว ใหล งชื่อสว นราชการท่อี อกขาว ๒๒.๒ เรื่อง ใหล งช่ือเร่ืองที่ออกขา ว ๒๒.๓ ฉบับท่ี ใชในกรณีที่จะตองออกขาวหลายฉบับในเรื่องเดียวท่ีตอเน่ืองกัน ใหลงฉบบั ที่เรยี งตามลาํ ดบั ไวดว ย ๒๒.๔ ขอ ความ ใหล งรายละเอียดเกีย่ วกับเรอ่ื งของขา ว ๒๒.๕ สวนราชการทีอ่ อกขา ว ใหล งชอื่ สว นราชการท่ีออกขาว ๒๒.๖ วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันท่ี ช่ือเต็มของเดือน และตัวเลขของ ปพ ทุ ธศกั ราชที่ออกขา ว สวนที่ ๖ หนงั สอื ทเี่ จาหนา ทท่ี าํ ขึ้นหรอื รบั ไวเ ปน หลักฐานในราชการ ขอ ๒๓ หนงั สือทเ่ี จา หนาทีท่ ําขึน้ หรอื รบั ไวเ ปนหลกั ฐานในราชการ คือ หนังสือที่ทางราชการ ทําขึ้นนอกจากที่กลาวมาแลวขางตน หรือหนังสือท่ีหนวยงานอื่นใดซ่ึงมิใชสวนราชการ หรือ บุคคลภายนอกมีมาถึงสว นราชการ และสวนราชการรับไวเปนหลักฐานของทางราชการ มี ๔ ชนิด คือ หนงั สอื รบั รอง รายงานการประชมุ บนั ทึก และหนังสอื อ่ืน
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๑ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ขอ ๒๔ หนังสือรบั รอง คือ หนงั สอื ทส่ี วนราชการออกใหเ พ่อื รบั รองแก บุคคล นิติบุคคล หรือหนว ยงาน เพือ่ วัตถุประสงคอยางหนึง่ อยางใดใหป รากฏแกบุคคลโดยท่ัวไปไมจ าํ เพาะเจาะจง ใชกระดาษ ตราครฑุ และใหจ ัดทําตามแบบที่ ๑๐ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดงั น้ี ๒๔.๑ เลขท่ี ใหล งเลขทีข่ องหนงั สือรับรองโดยเฉพาะ เริ่มตั้งแตเลข ๑ เรียงเปน ลําดับไปจนถงึ ส้ินปปฏทิ นิ ทบั เลขปพุทธศักราชทอ่ี อกหนังสือรับรอง หรือลงเลขท่ีของหนังสือท่ัวไป ตามแบบหนังสือภายนอกอยางหน่ึงอยางใด ๒๔.๒ สวนราชการเจาของหนังสือ ใหลงชื่อของสวนราชการซึ่งเปนเจาของ หนังสอื นั้น และจะลงสถานท่ตี ้งั ของสว นราชการเจา ของหนังสอื ดว ยกไ็ ด ๒๔.๓ ขอความ ใหลงขอความข้ึนตนวา หนังสือฉบับนี้ใหไวเพ่ือรับรองวา แลวตอดวยชอื่ บุคคล นิตบิ คุ คล หรือหนว ยงานท่ีทางราชการรับรอง ในกรณีเปนบุคคลใหพิมพช่ือเต็ม โดยมีคํานําหนา นาม ช่อื นามสกุล ตําแหนง หนาที่ และสังกัดหนวยงานท่ีผูนั้นทํางานอยูอยางชัดแจง แลวจงึ ลงขอ ความที่รบั รอง ๒๔.๔ ใหไว ณ วันที่ ใหลงตัวเลขของวันท่ี ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของ ปพุทธศกั ราชทอี่ อกหนังสือรบั รอง ๒๔.๕ ลงช่ือ ใหลงลายมือชื่อหัวหนาสวนราชการผอู อกหนังสือ หรือผูท ่ีไดร บั มอบหมาย และพิมพชอ่ื เตม็ ของเจาของลายมอื ช่อื ไวใตล ายมือช่ือ ๒๔.๖ ตาํ แหนง ใหล งตําแหนง ของผลู งลายมือชื่อในหนงั สอื ๒๔.๗ รปู ถา ยและลายมอื ช่ือผไู ดรบั การรบั รอง ในกรณีที่การรับรองเปนเร่ืองสําคัญ ท่อี อกใหแกบ คุ คลใหต ิดรปู ถายของผูท่ีไดร ับการรับรอง ขนาด ๔ × ๖ เซนตเิ มตร หนาตรง ไมส วมหมวก ประทับตราชื่อสวนราชการท่ีออกหนังสือบนขอบลางดานขวาของรูปถายคาบตอลงบนแผนกระดาษ และใหผูนั้นลงลายมอื ชือ่ ไวใตร ปู ถา ยพรอ มทั้งพิมพช ่ือเตม็ ของเจาของลายมือช่ือไวใตลายมือช่ือดว ย ขอ ๒๕ รายงานการประชุม คือ การบนั ทกึ ความคดิ เหน็ ของผูมาประชุม ผูเขารวมประชุม และมติของทป่ี ระชุมไวเปน หลักฐาน ใหจัดทําตามแบบท่ี ๑๑ ทายระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดังนี้ ๒๕.๑ รายงานการประชุม ใหลงช่อื คณะที่ประชุม หรือช่อื การประชมุ น้นั ๒๕.๒ ครั้งที่ ใหล งครง้ั ท่ีประชมุ ๒๕.๓ เมอื่ ใหล งวนั เดือน ปท่ีประชุม
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๒ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา ๒๕.๔ ณ ใหล งสถานท่ีที่ประชุม ๒๕.๕ ผมู าประชมุ ใหล งช่อื และหรอื ตาํ แหนง ของผไู ดรับแตงต้ังเปนคณะท่ีประชุม ซง่ึ มาประชุม ในกรณที ี่มผี มู าประชุมแทนใหลงช่ือผมู าประชมุ แทน และลงวามาประชุมแทนผูใดหรือ ตําแหนง ใด ๒๕.๖ ผูไมมาประชุม ใหลงช่ือและหรือตําแหนงของผูที่ไดรับแตงต้ังเปนคณะ ที่ประชุม ซงึ่ มิไดม าประชุมพรอมทั้งเหตผุ ล (ถามี) ๒๕.๗ ผูเขารวมประชุม ใหลงช่ือและหรือตําแหนงของผูที่มิไดรับการแตงตั้ง เปน คณะทีป่ ระชมุ ซึ่งไดเขา รวมประชุม (ถา ม)ี ๒๕.๘ เร่มิ ประชุมเวลา ใหลงเวลาท่ีเรมิ่ ประชุม ๒๕.๙ ขอความ ใหบันทึกขอความท่ีประชุม โดยปกติใหเร่ิมตนดวยประธาน กลา วเปด ประชมุ และเรือ่ งทปี่ ระชมุ กบั มติ หรอื ขอสรุปของที่ประชมุ ในแตล ะเร่อื งตามลําดบั ๒๕.๑๐ เลกิ ประชุมเวลา ใหล งเวลาทเี่ ลิกประชมุ ๒๕.๑๑ ผจู ดรายงานการประชุม ใหล งชือ่ ผูจดรายงานการประชุมคร้งั นน้ั ขอ ๒๖ บันทกึ คือ ขอความซ่งึ ผูใตบังคบั บัญชาเสนอตอผูบังคับบัญชา หรือผูบังคับบัญชา สงั่ การแกผูใตบ ังคับบัญชา หรือขอความท่ีเจาหนา ท่ี หรือหนวยงานระดับตํ่ากวา สวนราชการระดับกรม ตดิ ตอกนั ในการปฏบิ ตั ริ าชการ โดยปกติใหใ ชกระดาษบันทกึ ขอความ และใหมหี ัวขอ ดงั ตอ ไปน้ี ๒๖.๑ ชอื่ หรือตําแหนงที่บันทกึ ถงึ โดยใชค าํ ขน้ึ ตน ตามท่กี ําหนดไวในภาคผนวก ๒ ๒๖.๒ สาระสาํ คัญของเร่อื ง ใหลงใจความของเรอ่ื งท่ีบันทกึ ถามีเอกสารประกอบ ก็ใหระบุไวดวย ๒๖.๓ ช่อื และตาํ แหนง ใหลงลายมือช่ือและตําแหนงของผูบันทึก และในกรณีท่ี ไมใชกระดาษบนั ทึกขอ ความ ใหลงวนั เดอื น ปท ีบ่ ันทึกไวดวย การบันทึกตอเนื่อง โดยปกติใหผูบ นั ทึกระบคุ าํ ข้นึ ตน ใจความบันทึก และลงชื่อเชนเดียวกับ ท่ีไดกลาวไวข า งตน และใหลงวัน เดือน ป กํากบั ใตลายมอื ช่อื ผูบันทึก หากไมมีความเห็นใดเพ่ิมเติม ใหล งชอ่ื และวนั เดอื น ป กาํ กบั เทานน้ั ขอ ๒๗ หนังสอื อื่น คอื หนังสอื หรือเอกสารอ่ืนใดท่ีเกิดข้ึนเนื่องจากการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ี เพอื่ เปนหลักฐานในทางราชการ ซ่ึงรวมถงึ ภาพถา ย ฟลม แถบบันทึกเสยี ง แถบบนั ทกึ ภาพดวย หรือ
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๓ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานุเบกษา หนงั สอื ของบุคคลภายนอก ทย่ี ื่นตอ เจาหนาที่และเจา หนาท่ีไดรับเขาทะเบียนรับหนังสือของทางราชการแลว มีรูปแบบตามท่ีกระทรวง ทบวง กรมจะกําหนดขึ้นใชตามความเหมาะสม เวนแตมีแบบตามกฎหมาย เฉพาะเร่อื งใหทาํ ตามแบบ เชน โฉนด แผนท่ี แบบ แผนผัง สัญญา หลักฐานการสืบสวนและสอบสวน และคํารอ ง เปน ตน สวนท่ี ๗ บทเบด็ เตลด็ ขอ ๒๘ หนังสือท่ีตองปฏิบัติใหเร็วกวาปกติ เปนหนังสือท่ีตองจัดสงและดําเนินการ ทางสารบรรณดวยความรวดเรว็ เปนพเิ ศษ แบงเปน ๓ ประเภท คือ ๒๘.๑ ดวนที่สดุ ใหเ จา หนา ที่ปฏบิ ัติในทนั ทีท่ีไดรับหนงั สือนน้ั ๒๘.๒ ดวนมาก ใหเจา หนา ท่ีปฏบิ ตั ิโดยเร็ว ๒๘.๓ ดวน ใหเ จา หนา ทีป่ ฏบิ ตั ิเร็วกวา ปกติ เทา ท่จี ะทําได ใหระบชุ น้ั ความเร็วดวยตัวอักษรสีแดงขนาดไมเ ลก็ กวา ตัวพมิ พโปง ๓๒ พอยท ใหเ หน็ ไดชัด บนหนงั สือและบนซอง ตามทก่ี าํ หนดไวใ นแบบท่ี ๑ แบบที่ ๒ แบบท่ี ๓ และแบบท่ี ๑๕ ทายระเบียบ โดยใหร ะบุคาํ วา ดวนท่ีสุด ดวนมาก หรอื ดวน สาํ หรับหนังสือตามขอ ๒๘.๑ ขอ ๒๘.๒ และขอ ๒๘.๓ แลว แตกรณี ในกรณที ีต่ องการใหห นงั สือสงถึงผรู ับภายในเวลาทีก่ าํ หนด ใหร ะบคุ ําวา ดว นภายใน แลวลงวนั เดอื น ป และกาํ หนดเวลาทีต่ อ งการใหหนงั สือนั้นไปถึงผูรับ กับใหเจาหนาท่ีสงถึงผูรับซ่ึงระบุบนหนาซอง ภายในเวลาทกี่ าํ หนด ขอ ๒๙ เร่ืองราชการที่จะดําเนินการหรือสั่งการดวยหนังสือไดไมทัน ใหสงขอความ ทางเคร่ืองมือส่ือสาร เชน โทรเลข วิทยุโทรเลข โทรพิมพ โทรศัพท วิทยุสื่อสาร วิทยุกระจายเสียง หรอื วิทยุโทรทัศน เปนตน และใหผูรับปฏิบัติเชนเดียวกับไดรับหนังสือ ในกรณีท่ีจําเปนตองยืนยัน เปนหนังสอื ใหทาํ หนงั สือยืนยันตามไปทันที การสง ขอความทางเคร่อื งมอื สอ่ื สารซึง่ ไมม ีหลกั ฐานปรากฏชดั แจง เชน ทางโทรศัพท วิทยุสื่อสาร วทิ ยกุ ระจายเสยี ง หรอื วิทยุโทรทศั น เปนตน ใหผ สู งและผูรบั บันทึกขอ ความไวเปน หลักฐาน
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๔ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ขอ ๓๐ หนงั สือท่ีจดั ทําข้นึ โดยปกติใหม สี ําเนาคฉู บับเก็บไวท ่ตี นเรื่อง ๑ ฉบบั และใหม สี าํ เนา เก็บไวท ีห่ นว ยงานสารบรรณกลาง ๑ ฉบับ สําเนาคูฉบับใหผูลงชื่อลงลายมือชื่อ หรือลายมือช่ือยอ และใหผูราง ผูพิมพ และผูตรวจ ลงลายมือชือ่ หรอื ลายมอื ช่อื ยอไวทีข่ า งทายขอบลา งดานขวาของหนงั สือ ขอ ๓๑ หนังสือที่เจาของหนังสือเห็นวามีสวนราชการอ่ืนที่เก่ียวของควรไดรับทราบดวย โดยปกติใหสงสาํ เนาไปใหทราบโดยทาํ เปนหนงั สือประทบั ตรา สําเนาหนังสอื นี้ใหมีคาํ รับรองวา สาํ เนาถูกตอง โดยใหเจาหนาที่ตั้งแตระดับ ๒ หรือเทียบเทาข้ึนไป ซึ่งเปน เจาของเรอ่ื งลงลายมอื ช่ือรับรอง พรอ มทั้งลงชอ่ื ตวั บรรจง และตําแหนงทีข่ อบลางของหนงั สือ ขอ ๓๒ หนังสือเวียน คอื หนงั สอื ทีม่ ถี ึงผูร ับเปน จํานวนมาก มีใจความอยางเดีวยกัน ใหเพ่ิมรหัส ตวั พยญั ชนะ ว หนา เลขทะเบยี นหนังสอื สง ซงึ่ กาํ หนดเปน เลขทหี่ นังสือเวยี นโดยเฉพาะ เร่ิมตั้งแตเลข ๑ เรียงเปน ลาํ ดับไปจนถงึ ส้ินปปฏทิ ิน หรือใชเลขที่ของหนงั สือท่วั ไปตามแบบหนังสอื ภายนอกอยางหนึ่งอยา งใด เมื่อผรู บั ไดรบั หนังสือเวียนแลว เห็นวาเร่ืองนัน้ จะตอ งใหห นวยงาน หรือบคุ คลในบังคับบัญชา ในระดบั ตางๆ ไดรบั ทราบดว ย ก็ใหมหี นาที่จดั ทําสาํ เนา หรอื จัดสงใหห นว ยงาน หรือบุคคลเหลานนั้ โดยเร็ว ขอ ๓๓ สรรพนามท่ีใชในหนังสือ ใหใชตามฐานะแหงความสัมพันธระหวางเจาของ หนังสอื และผูรบั หนังสอื ตามภาคผนวก ๒ ขอ ๓๔ หนังสอื ภาษาตา งประเทศ ใหใ ชก ระดาษตราครุฑ หนงั สือทีเ่ ปนภาษาอังกฤษ ใหทําตามแบบทีก่ ําหนดไวในภาคผนวก ๔ สําหรบั หนงั สือท่ีเปนภาษาอ่นื ๆ ซึ่งมิใชภาษาองั กฤษ ใหเ ปนไปตามประเพณนี ิยม หมวด ๒ การรบั และสงหนังสือ สวนที่ ๑ การรับหนงั สอื ขอ ๓๕ หนังสือรับ คือ หนังสือที่ไดรับเขามาจากภายนอก ใหเจาหนาที่ของหนวยงาน สารบรรณกลางปฏิบัติตามทกี่ ําหนดไวใ นสว นน้ี
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๕ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานุเบกษา ขอ ๓๖ จัดลําดับความสําคัญและความเรงดว นของหนงั สอื เพ่อื ดําเนินการกอนหลัง และให ผเู ปดซองตรวจเอกสาร หากไมถูกตอ งใหต ิดตอสว นราชการเจาของเร่ือง หรือหนวยงานที่ออกหนังสือ เพ่ือดําเนนิ การใหถ ูกตอ ง หรือบันทึกขอบกพรอ งไวเปนหลักฐาน แลว จงึ ดาํ เนินการเรอ่ื งนน้ั ตอ ไป ขอ ๓๗ ประทบั ตรารับหนงั สอื ตามแบบท่ี ๑๒ ทายระเบียบ ท่ีมุมบนดานขวาของหนังสือ โดยกรอกรายละเอียดดังน้ี ๓๗.๑ เลขรับ ใหล งเลขที่รับตามเลขทร่ี บั ในทะเบียน ๓๗.๒ วันท่ี ใหลงวนั เดอื น ปทีร่ บั หนังสือ ๓๗.๓ เวลา ใหล งเวลาที่รับหนงั สอื ขอ ๓๘ ลงทะเบียนรับหนังสือในทะเบียนหนังสือรับตามแบบท่ี ๑๓ ทายระเบียบ โดยกรอก รายละเอียดดังนี้ ๓๘.๑ ทะเบียนหนงั สอื รับ วันท่ี เดอื น พ.ศ. ใหลงวัน เดอื น ปท ่ีลงทะเบียน ๓๘.๒ เลขทะเบียนรับ ใหลงเลขลําดับของทะเบยี นหนงั สอื รบั เรยี งลําดบั ตดิ ตอ กนั ไป ตลอดปปฏทิ ิน เลขทะเบยี นของหนังสือรบั จะตอ งตรงกบั เลขที่ในตรารับหนังสือ ๓๘.๓ ท่ี ใหล งเลขทข่ี องหนังสือทร่ี บั เขามา ๓๘.๔ ลงวันที่ ใหล งวัน เดอื น ปของหนงั สอื ทีร่ ับเขามา ๓๘.๕ จาก ใหลงตําแหนงเจาของหนังสือ หรือช่ือสวนราชการ หรือชื่อบุคคล ในกรณีท่ไี มมีตาํ แหนง ๓๘.๖ ถงึ ใหล งตาํ แหนงของผทู ี่หนังสอื นน้ั มีถงึ หรอื ชอื่ สว นราชการ หรือช่ือบุคคล ในกรณีท่ไี มม ีตาํ แหนง ๓๘.๗ เรือ่ ง ใหลงช่อื เรอื่ งของหนงั สือฉบบั น้ัน ในกรณีที่ไมมีชอ่ื เร่ืองใหล งสรุปเร่ืองยอ ๓๘.๘ การปฏบิ ัติ ใหบันทกึ การปฏิบัติเก่ียวกบั หนงั สือฉบบั นน้ั ๓๘.๙ หมายเหตุ ใหบ ันทึกขอความอน่ื ใด (ถามี) ขอ ๓๙ จัดแยกหนังสือท่ีลงทะเบยี นรบั แลว สง ใหสวนราชการที่เก่ียวของดําเนินการ โดยใหลงชื่อ หนว ยงานทีร่ ับหนังสอื น้นั ในชอง การปฏิบตั ิ ถา มีชอ่ื บุคคล หรือตําแหนงท่ีเกี่ยวขอ งกับการรับหนังสือ ใหลงชือ่ หรือตาํ แหนง ไวด วย
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๖ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานุเบกษา การสงหนังสือที่ลงทะเบียนรับแลวไปใหสวนราชการที่เกี่ยวของดําเนินการตามวรรคหน่ึง จะสงโดยใชสมุดสงหนังสือตามขอ ๔๘ หรือใหผูรับหนังสือลงชื่อและวัน เดือน ปที่รับหนังสือ ไวเปนหลกั ฐานในทะเบียนรับหนังสือกไ็ ด การดําเนินการตามขัน้ ตอนน้ี จะเสนอผา นผบู งั คบั บญั ชาผใู ดหรอื ไม ใหเปนไปตามท่ีหัวหนา สวนราชการกาํ หนด ถาหนังสือรับนั้นจะตองดําเนินเร่ืองในหนวยงานน้ันเองจนถึงขั้นไดตอบหนังสือไปแลว ใหลงทะเบยี นวาไดส ง ออกไปโดยหนงั สือท่เี ทา ใด วนั เดือน ปใด ขอ ๔๐ การรับหนังสือภายในสวนราชการเดียวกัน เมื่อผูรับไดรับหนังสือจากหนวยงาน สารบรรณกลางแลว ใหป ฏบิ ัตติ ามวิธีการท่กี ลา วขางตน โดยอนโุ ลม สวนที่ ๒ การสง หนงั สอื ขอ ๔๑ หนังสือสง คอื หนังสือท่ีสง ออกไปภายนอก ใหป ฏบิ ัตติ ามทก่ี าํ หนดไวใ นสวนน้ี ขอ ๔๒ ใหเ จาของเรอ่ื งตรวจความเรยี บรอยของหนังสือ รวมทง้ั สิ่งท่จี ะสงไปดวยใหครบถวน แลวสง เรื่องใหเ จา หนา ท่ขี องหนวยงานสารบรรณกลางเพ่อื สง ออก ขอ ๔๓ เมือ่ เจา หนา ท่ขี องหนวยงานสารบรรณกลางไดรบั เร่อื งแลว ใหป ฏบิ ตั ดิ ังนี้ ๔๓.๑ ลงทะเบยี นสง หนงั สอื ในทะเบียนหนังสือสงตามแบบที่ ๑๔ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั นี้ ๔๓.๑.๑ ทะเบียนหนังสือสง วันท่ี เดือน พ.ศ. ใหลงวัน เดือน ป ท่ีลงทะเบียน ๔๓.๑.๒ เลขทะเบียนสง ใหลงเลขลําดับของทะเบียนหนังสือสงเรียงลําดับ ติดตอกนั ไปตลอดปป ฏทิ ิน ๔๓.๑.๓ ที่ ใหลงรหสั ตัวพยัญชนะ และเลขประจําของสวนราชการเจาของเรื่อง ในหนังสอื ทจ่ี ะสงออก ถา ไมม ที ่ีดังกลา ว ชองนี้จะวาง ๔๓.๑.๔ ลงวนั ท่ี ใหล งวัน เดอื น ปท ่จี ะสง หนังสือนัน้ ออก
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๗ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา ๔๓.๑.๕ จาก ใหลงตาํ แหนงเจาของหนังสือ หรือชื่อสวนราชการ หรือ ช่ือบุคคลในกรณีท่ไี มม ตี าํ แหนง ๔๓.๑.๖ ถงึ ใหล งตําแหนงของผูท ่หี นังสอื นั้นมถี งึ หรือช่ือสวนราชการ หรอื ชอ่ื บคุ คลในกรณที ไี่ มมีตําแหนง ๔๓.๑.๗ เร่ือง ใหล งชอื่ เรอื่ งของหนังสือฉบับน้ัน ในกรณีท่ีไมมีช่ือเร่ือง ใหล งสรปุ เรอ่ื งยอ ๔๓.๑.๘ การปฏบิ ตั ิ ใหบ นั ทกึ การปฏบิ ัตเิ กีย่ วกบั หนังสอื ฉบบั นน้ั ๔๓.๑.๙ หมายเหตุ ใหบ นั ทึกขอความอ่ืนใด (ถาม)ี ๔๓.๒ ลงเลขท่ี และวนั เดือน ปใ นหนงั สอื ที่จะสง ออกทงั้ ในตน ฉบับ และสําเนาคูฉบับ ใหต รงกับเลขทะเบียนสง และวัน เดอื น ปในทะเบียนหนังสอื สง ตามขอ ๔๓.๑.๒ และขอ ๔๓.๑.๔ ขอ ๔๔ กอนบรรจุซอง ใหเจาหนาท่ีของหนวยงานสารบรรณกลางตรวจความเรียบรอย ของหนงั สอื ตลอดจนสงิ่ ที่สงไปดว ยอีกครง้ั หนงึ่ แลวปดผนกึ หนังสือทไี่ มม คี วามสําคัญมากนกั อาจสงไปโดยวิธีพับยึดติดดวยแถบกาว กาว เย็บดวยลวด หรอื วิธีอื่นแทนการบรรจุซอง ขอ ๔๕ การจา หนาซอง ใหปฏบิ ตั ติ ามแบบท่ี ๑๕ ทา ยระเบยี บ สาํ หรบั หนังสอื ทต่ี อ งปฏิบตั ิใหเรว็ กวาปกติ ใหปฏบิ ัติตามขอ ๒๘ ในกรณีไมใชสมดุ สงหนงั สอื ใหมีใบรบั หนังสอื ตามขอ ๔๙ แนบตดิ ซองไปดว ย ขอ ๔๖ การสง หนงั สือโดยทางไปรษณยี ใหถือปฏิบัติตามระเบียบ หรือวิธีการท่ีการสื่อสาร แหง ประเทศไทยกาํ หนด การสงหนงั สอื ซง่ึ มใิ ชเปน การสงโดยทางไปรษณีย เมอ่ื สงหนังสือใหผูรับแลว ผูสงตองใหผูรับ ลงชอื่ รบั ในสมุดสงหนงั สอื หรอื ใบรบั แลว แตก รณี ถา เปน ใบรบั ใหนาํ ใบรับนัน้ มาผนึกติดไวทีส่ าํ เนาคฉู บับ ขอ ๔๗ หนังสือท่ีไดลงทะเบียนสง ในกรณีที่เปนการตอบหนังสือซึ่งรับเขามาใหลงทะเบียน วา หนังสือนนั้ ไดต อบตามหนังสอื รับทีเ่ ทา ใด วัน เดอื น ปใด ขอ ๔๘ สมุดสงหนังสือ ใหจัดทําตามแบบท่ี ๑๖ ทา ยระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ ๔๘.๑ เลขทะเบียน ใหลงเลขทะเบียนหนังสือสง ๔๘.๒ จาก ใหลงตําแหนง หรอื ชอ่ื สวนราชการ หรือชื่อบุคคลท่ีเปนเจาของหนงั สอื
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๘ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ๔๘.๓ ถึง ใหล งตาํ แหนง ของผูทีห่ นังสือนน้ั มีถงึ หรือชื่อสวนราชการ หรือช่ือบุคคล ในกรณีที่ไมมตี าํ แหนง ๔๘.๔ หนวยรบั ใหลงชอื่ สว นราชการทร่ี บั หนงั สอื ๔๘.๕ ผูร ับ ใหผูรบั หนงั สอื ลงช่ือท่ีสามารถอานออกได ๔๘.๖ วันและเวลา ใหผ ูรับหนังสอื ลงวนั เดอื น ป และเวลาท่ีรบั หนังสือ ๔๘.๗ หมายเหตุ ใหบันทกึ ขอความอ่ืนใด (ถา มี) ขอ ๔๙ ใบรบั หนงั สือ ใหจ ดั ทาํ ตามแบบที่ ๑๗ ทายระเบยี บ โดยกรอกรายละเอียดดงั น้ี ๔๙.๑ ที่ ใหล งเลขที่ของหนังสือฉบับนั้น ๔๙.๒ ถงึ ใหลงตาํ แหนงของผทู ห่ี นังสอื นัน้ มีถงึ หรือชื่อสวนราชการ หรือชื่อบุคคล ในกรณที ่ไี มม ีตําแหนง ๔๙.๓ เรอ่ื ง ใหล งชอื่ เร่อื งของหนงั สือฉบบั น้นั ในกรณที ี่ไมม ชี ือ่ เรื่องใหลงสรุปเร่ืองยอ ๔๙.๔ รับวนั ท่ี ใหผ รู บั หนงั สอื ลงวนั เดือน ปทร่ี ับหนังสือ ๔๙.๕ เวลา ใหผ ูรับหนงั สอื ลงเวลาทร่ี บั หนงั สอื ๔๙.๖ ผรู บั ใหผูร ับหนังสือลงชื่อที่สามารถอา นออกได สวนท่ี ๓ บทเบด็ เตล็ด ขอ ๕๐ เพื่อใหก ารรับและสง หนงั สอื ดาํ เนินไปโดยสะดวกเรียบรอ ยและรวดเร็ว สวนราชการ จะกําหนดหนา ท่ขี องผูป ฏิบตั ิตลอดจนแนวทางปฏบิ ตั นิ ั้นไวด ว ยกไ็ ด ทั้งน้ี ใหมกี ารสํารวจทะเบียนหนงั สอื รับเปนประจําวาหนงั สือตามทะเบียนรบั นัน้ ไดมกี ารปฏิบัติไปแลว เพยี งใด และใหม กี ารตดิ ตามเรื่องดวย ในการนส้ี ว นราชการใดเหน็ สมควรจะจัดใหม ีบัตรตรวจคนสําหรับหนังสอื รับและหนังสือสงเพ่ือความสะดวก ในการคนหากไ็ ดตามความเหมาะสม ขอ ๕๑ บัตรตรวจคน ใหจัดทําตามแบบท่ี ๑๘ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั นี้ ๕๑.๑ เรอ่ื ง รหัส ใหล งเรอ่ื งและรหสั ตามหมวดหมูของหนงั สอื ๕๑.๒ เลขทะเบยี นรบั ใหล งเลขทะเบียนตามท่ีปรากฏในทะเบียนหนงั สือรบั
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๙ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานเุ บกษา เรอ่ื งอะไร ๕๑.๓ ท่ี ใหลงเลขที่ของหนงั สือ เมอ่ื ใด ๕๑.๔ ลงวันท่ี ใหล งวนั เดอื น ป ของหนงั สอื ๕๑.๕ รายการ ใหลงเรื่องยอของหนังสือเพ่ือใหทราบวา หนังสือนั้นมาจากท่ีใด ๕๑.๖ การปฏิบัติ ใหบนั ทกึ การปฏิบตั เิ ก่ียวกับหนังสอื นั้นเพ่อื ใหท ราบวาสง ไปที่ใด หมวด ๓ การเก็บรกั ษา ยืม และทาํ ลายหนังสอื สว นท่ี ๑ การเกบ็ รักษา ขอ ๕๒ การเกบ็ หนังสอื แบง ออกเปน การเก็บระหวางปฏิบัติ การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแลว และการเก็บไวเพ่อื ใชใ นการตรวจสอบ ขอ ๕๓ การเก็บระหวางปฏบิ ตั ิ คอื การเกบ็ หนงั สอื ท่ีปฏิบตั ิยงั ไมเ สรจ็ ใหอ ยูในความรับผิดชอบ ของเจาของเรอื่ งโดยใหก ําหนดวธิ ีการเกบ็ ใหเ หมาะสมตามขนั้ ตอนของการปฏบิ ัติงาน ขอ ๕๔ การเกบ็ เมอื่ ปฏิบตั ิเสร็จแลว คือ การเก็บหนังสือท่ีปฏิบัติเสร็จเรียบรอยแลว และ ไมม ีอะไรทจ่ี ะตองปฏิบัติตอ ไปอีก ใหเ จาหนาที่ของเจา ของเร่ืองปฏบิ ัติดังนี้ ๕๔.๑ จดั ทาํ บัญชีหนงั สือสงเกบ็ ตามแบบที่ ๑๙ ทายระเบียบ อยางนอยใหมีตนฉบับ และสาํ เนาคูฉบับสาํ หรบั เจา ของเรอื่ งและหนวยเก็บ เก็บไวอยา งละฉบบั โดยกรอกรายละเอยี ดดงั น้ี ๕๔.๑.๑ ลําดบั ที่ ใหลงเลขลําดบั เรือ่ งของหนงั สอื ที่เกบ็ ๕๔.๑.๒ ที่ ใหลงเลขที่ของหนงั สอื แตล ะฉบบั ๕๔.๑.๓ ลงวนั ที่ ใหลงวนั เดือน ปข องหนังสือแตล ะฉบบั ๕๔.๑.๔ เรือ่ ง ใหล งชื่อเรื่องของหนังสือแตล ะฉบับ ในกรณีท่ีไมมีชื่อเร่ือง ใหล งสรุปเร่อื งยอ
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๐ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานุเบกษา ๕๔.๑.๕ อายุการเกบ็ หนงั สือ ใหลงวัน เดือน ปท่ีจะเก็บถึง ในกรณีใหเก็บไว ตลอดไป ใหลงคําวา หามทําลาย ๕๔.๑.๖ หมายเหตุ ใหบ นั ทกึ ขอ ความอ่นื ใด (ถามี) ๕๔.๒ สงหนังสือและเรอ่ื งปฏบิ ตั ิทัง้ ปวงทีเ่ กยี่ วขอ งกบั หนังสือนัน้ พรอมท้ังบัญชี หนงั สอื สง เก็บไปใหหนว ยเกบ็ ท่สี วนราชการนั้น ๆ กําหนด ขอ ๕๕ เมอ่ื ไดร ับเร่อื งจากเจาของเร่ืองตามขอ ๕๔ แลว ใหเ จา หนา ท่ีผูรับผิดชอบในการเก็บ หนงั สือปฏิบตั ดิ ังนี้ ๕๕.๑ ประทบั ตรากําหนดเกบ็ หนังสือตามขอ ๗๓ ไวทมี่ ุมลา งดา นขวาของกระดาษ แผน แรกของหนังสอื ฉบบั น้ัน และลงลายมือชอื่ ยอ กาํ กบั ตรา ๕๕.๑.๑ หนงั สือทต่ี องเกบ็ ไวตลอดไป ใหประทับตราคําวา หามทําลาย ดว ยหมกึ สีแดง ๕๕.๑.๒ หนังสือที่เก็บโดยมีกําหนดเวลา ใหประทับตราคําวา เก็บถึง พ.ศ. .... ดวยหมึกสีนาํ้ เงนิ และลงเลขของปพ ทุ ธศักราชทใี่ หเ กบ็ ถงึ ๕๕.๒ ลงทะเบียนหนังสอื เกบ็ ไวเ ปนหลกั ฐานตามแบบท่ี ๒๐ ทายระเบียบ โดยกรอก รายละเอียดดงั น้ี ๕๕.๒.๑ ลาํ ดบั ท่ี ใหล งเลขลําดับเร่ืองของหนังสอื ท่ีเกบ็ ๕๕.๒.๒ วนั เก็บ ใหล งวนั เดือน ปที่นําหนงั สือนั้นเขาทะเบียนเก็บ ๕๕.๒.๓ เลขทะเบียนรับ ใหลงเลขทะเบียนรบั ของหนังสอื แตล ะฉบับ ๕๕.๒.๔ ท่ี ใหลงเลขท่ีของหนังสอื แตล ะฉบับ ๕๕.๒.๕ เรือ่ ง ใหลงช่อื เรอื่ งของหนังสือแตละฉบบั ในกรณีท่ีไมมีช่ือเร่ือง ใหล งสรุปเรื่องยอ ๕๕.๒.๖ รหัสแฟม ใหล งหมายเลขลําดับหมูของการจดั แฟมเกบ็ หนังสอื ๕๕.๒.๗ กําหนดเวลาเก็บ ใหลงระยะเวลาการเก็บตามท่ีกําหนดในตรา กาํ หนดเก็บหนังสือตามขอ ๕๕.๑ ๕๕.๒.๘ หมายเหตุ ใหบ ันทึกขอความอ่ืนใด (ถา มี)
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๑ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา ขอ ๕๖ การเก็บไวเ พื่อใชในการตรวจสอบ คือ การเกบ็ หนังสอื ทป่ี ฏิบัติเสร็จเรียบรอยแลว แตจําเปน จะตองใชใ นการตรวจสอบเปนประจาํ ไมสะดวกในการสงไปเก็บยังหนวยเก็บของสวนราชการ ตามขอ ๕๔ ใหเ จา ของเรื่องเกบ็ เปนเอกเทศ โดยแตงตัง้ เจา หนา ท่ีข้นึ รับผิดชอบกไ็ ด เมื่อหมดความจําเปน ทจี่ ะตอ งใชในการตรวจสอบแลว ใหจัดสง หนงั สอื นัน้ ไปยังหนวยเก็บของสวนราชการโดยใหถือปฏิบัติ ตามขอ ๕๔ และขอ ๕๕ โดยอนโุ ลม ขอ ๕๗ อายุการเก็บหนงั สอื โดยปกตใิ หเกบ็ ไวไมนอยกวา ๑๐ ป เวน แตหนังสือดังตอ ไปนี้ ๕๗.๑ หนังสือท่ีตองสงวนเปนความลับ ใหปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบ วาดวยการรักษาความปลอดภยั แหง ชาติ ๕๗.๒ หนังสือที่เปนหลกั ฐานทางอรรถคดี สํานวนของศาลหรือของพนักงานสอบสวน หรือหนังสืออ่ืนใดท่ีไดมีกฎหมายหรือระเบียบแบบแผนกําหนดไวเปนพิเศษแลว การเก็บใหเปนไป ตามกฎหมายและระเบยี บแบบแผนวาดวยการน้ัน ๕๗.๓ หนังสือท่ีเกี่ยวกับประวัติศาสตร ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี สถิติ หลักฐาน หรอื เรือ่ งทีต่ อ งใชสาํ หรบั ศกึ ษาคน ควา หรือหนงั สืออน่ื ในลักษณะเดยี วกัน ใหเ ก็บไวเปนหลักฐาน ทางราชการตลอดไปหรือตามทก่ี องจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร กาํ หนด ๕๗.๔ หนงั สือท่ไี ดป ฏิบตั งิ านเสร็จส้ินแลว และเปนคูสําเนาท่ีมีตนเรื่องจะคนได จากท่ีอืน่ ใหเก็บไวไมน อ ยกวา ๕ ป ๕๗.๕ หนังสือท่ีเปนเร่ืองธรรมดาสามัญซึ่งไมมีความสําคัญ และเปนเรื่องที่เกิดขึ้น เปนประจําเมือ่ ดําเนนิ การแลว เสรจ็ ใหเกบ็ ไวไ มนอยกวา ๑ ป ในกรณีหนังสือท่ีเกี่ยวกับการเงิน ซึ่งมิใชเปนเอกสารสิทธิ หากเห็นวาไมมีความจําเปน ตองเกบ็ ไวถ งึ ๑๐ ป ใหท าํ ความตกลงกับกระทรวงการคลงั เพ่อื ขอทําลายได ขอ ๕๘ ทุกปปฏิทนิ ใหสว นราชการจดั สงหนงั สือท่ีมอี ายุครบ ๒๕ ป นับจากวันที่ไดจัดทําขึ้น ที่เกบ็ ไว ณ สวนราชการใด พรอมทง้ั บญั ชสี งมอบหนงั สือครบ ๒๕ ป ใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศลิ ปากร ภายในวันที่ ๓๑ มกราคม ของปถ ัดไป เวนแตหนงั สอื ดังตอ ไปนี้ ๕๘.๑ หนังสือที่ตองสงวนเปนความลับใหปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบ วา ดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ ๕๘.๒ หนังสือท่ีมีกฎหมาย ขอบังคับ หรือระเบียบท่ีออกใชเปนการทั่วไป กําหนดไวเ ปน อยา งอื่น
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๒ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานุเบกษา ๕๘.๓ หนงั สือทส่ี วนราชการมคี วามจําเปน ตองเกบ็ ไวทสี่ วนราชการน้ัน ใหจัดทํา บัญชีหนงั สือครบ ๒๕ ป ท่ีขอเกบ็ เองสง มอบใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศลิ ปากร ขอ ๕๙ บัญชีสงมอบหนังสือครบ ๒๕ ป และบัญชีหนังสือครบ ๒๕ ปที่ขอเก็บเอง อยางนอยใหมีตนฉบับและสําเนาคูฉบับ เพ่ือใหสวนราชการผูมอบและกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศลิ ปากร ผรู ับมอบยึดถอื ไวเ ปน หลักฐานฝายละฉบับ ๕๙.๑ บญั ชสี งมอบหนงั สือครบ ๒๕ ป ใหจัดทําตามแบบที่ ๒๑ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดงั นี้ ๕๙.๑.๑ ช่ือบัญชีสงมอบหนังสือครบ ๒๙ ป ประจําป ใหลงตัวเลข ของปพทุ ธศกั ราชท่ีจัดทําบญั ชี ๕๙.๑.๒ กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหลงชือ่ สวนราชการทีจ่ ดั ทําบญั ชี ๕๙.๑.๓ วนั ที่ ใหลงวัน เดือน ปท่จี ัดทําบญั ชี ๕๙.๑.๔ แผนท่ี ใหล งเลขลําดบั ของแผน บญั ชี ๕๙.๑.๕ ลาํ ดับที่ ใหล งเลขลาํ ดบั เร่อื งของหนงั สอื ท่ีสงมอบ ๕๙.๑.๖ รหสั แฟม ใหลงหมายเลขลําดบั หมูข องการจัดแฟม เกบ็ หนงั สือ ๕๙.๑.๗ ท่ี ใหล งเลขทขี่ องหนงั สือแตละฉบับ ๕๙.๑.๘ ลงวันที่ ใหลงวนั เดอื น ปข องหนังสือแตละฉบับ ๕๙.๑.๙ เลขทะเบยี นรับ ใหลงเลขทะเบยี นรบั ของหนงั สอื แตล ะฉบับ ๕๙.๑.๑๐ เรอ่ื ง ใหล งช่ือเรอ่ื งของหนงั สอื แตละฉบบั ในกรณีท่ีไมมีช่ือเรื่อง ใหล งสรปุ เร่ืองยอ ๕๙.๑.๑๑ หมายเหตุ ใหบ ันทกึ ขอความอ่ืนใด (ถาม)ี ๕๙.๑.๑๒ ลงชื่อผูมอบ ใหผมู อบลงลายมือชื่อและวงเล็บช่ือและนามสกุล ดว ยตัวบรรจงพรอ มทั้งลงตาํ แหนง ของผมู อบ ๕๙.๑.๑๓ ลงชื่อผูรับมอบ ใหผูรับมอบลงลายมือช่ือและวงเล็บช่ือและ นามสกลุ ดวยตัวบรรจงพรอมท้ังลงตาํ แหนง ของผรู ับมอบ ๕๙.๒ บญั ชหี นงั สือครบ ๒๕ ป ทข่ี อเก็บเอง ใหจ ัดทําตามแบบที่ ๒๒ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอยี ดดังน้ี
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๓ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ๕๙.๒.๑ ชือ่ บัญชีหนงั สอื ครบ ๒๕ ป ท่ีขอเก็บเองประจําป ใหลงตัวเลข ของปพ ทุ ธศักราชทจ่ี ัดทาํ บญั ชี ๕๙.๒.๒ กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหลงชอื่ สวนราชการทีจ่ ดั ทําบญั ชี ๕๙.๒.๓ วนั ท่ี ใหล งวนั เดอื น ปท ี่จดั ทําบัญชี ๕๙.๒.๔ แผน ท่ี ใหล งเลขลําดบั ของแผนบญั ชี ๕๙.๒.๕ ลําดบั ท่ี ใหล งเลขลาํ ดบั เรื่องของหนงั สอื ท่ีขอเกบ็ เอง ๕๙.๒.๖ รหสั แฟม ใหลงหมายเลขลาํ ดับหมูของการจดั แฟม เก็บหนงั สอื ๕๙.๒.๗ ที่ ใหลงเลขที่ของหนงั สือแตล ะฉบบั ๕๙.๒.๘ ลงวันท่ี ใหล งวัน เดือน ปของหนังสือแตละฉบบั ๕๙.๒.๙ เรอ่ื ง ใหลงชอื่ เรอ่ื งของหนังสอื แตละฉบบั ในกรณีท่ีไมมีช่ือเรื่อง ใหล งสรปุ เรื่องยอ ๕๙.๒.๑๐ หมายเหตุ ใหบ นั ทึกขอความอืน่ ใด (ถา ม)ี ขอ ๖๐ หนังสือทีย่ ังไมถ ึงกาํ หนดทําลาย ซ่ึงสวนราชการเห็นวาเปนหนังสือที่มีความสําคัญ และประสงคจ ะฝากใหก องจดหมายเหตแุ หงชาติ กรมศลิ ปากร เกบ็ ไว ใหปฏบิ ตั ดิ งั นี้ ๖๐.๑ จัดทําบญั ชฝี ากหนังสือตามแบบที่ ๒๓ ทา ยระเบียบ อยางนอยใหมีตนฉบับ และสาํ เนาคฉู บบั โดยกรอกรายละเอียดดงั น้ี ๖๐.๑.๑ ชื่อบัญชีฝากหนังสือ ประจําป ใหลงตัวเลขของปพุทธศักราช ที่จัดทําบญั ชี ๖๐.๑.๒ กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหล งชือ่ สว นราชการที่จดั ทาํ บัญชี ๖๐.๑.๓ วนั ท่ี ใหลงวัน เดอื น ปท ่จี ัดทําบัญชี ๖๐.๑.๔ แผน ที่ ใหลงเลขลําดบั ของแผน บัญชี ๖๐.๑.๕ ลาํ ดับท่ี ใหล งเลขลําดบั เร่อื งของหนังสือ ๖๐.๑.๖ รหสั แฟม ใหล งหมายเลขลําดับหมขู องการจัดแฟม เกบ็ หนังสือ ๖๐.๑.๗ ท่ี ใหล งเลขทขี่ องหนงั สือแตล ะฉบบั ๖๐.๑.๘ ลงวนั ท่ี ใหลงวนั เดอื น ปของหนงั สอื แตละฉบับ ๖๐.๑.๙ เลขทะเบยี นรับ ใหล งเลขทะเบยี นรับของหนังสอื แตล ะฉบบั
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๔ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ๖๐.๑.๑๐ เรอื่ ง ใหลงชื่อเร่ืองของหนงั สือแตล ะฉบบั ในกรณีท่ีไมมีช่ือเรื่อง ใหลงสรปุ เร่อื งยอ ๖๐.๑.๑๑ หมายเหตุ ใหบ นั ทกึ ขอ ความอืน่ ใด (ถา ม)ี ๖๐.๑.๑๒ ลงชื่อผูฝาก ใหผูฝากลงลายมือช่ือและวงเล็บช่ือและนามสกุล ดวยตัวบรรจงพรอ มท้งั ลงตาํ แหนง ของผฝู าก ๖๐.๑.๑๓ ลงชื่อผูรับฝาก ใหผูรับฝากลงลายมือช่ือและวงเล็บชื่อและ นามสกุลดวยตัวบรรจงพรอ มทงั้ ลงตําแหนงของผรู ับฝาก ๖๐.๒ สงตนฉบับและสําเนาคูฉบับบัญชีฝากหนังสือพรอมกับหนังสือท่ีจะฝาก ใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ๖๐.๓ เม่ือกองจดหมายเหตุแหง ชาติ กรมศิลปากร ตรวจหนังสือและรับฝากหนังสือแลว ใหลงนามในบญั ชฝี ากหนังสือ แลว คนื ตนฉบบั ใหสวนราชการผูฝ ากเกบ็ ไวเ ปนหลักฐาน หนังสอื ท่ีฝากเกบ็ ไวทกี่ องจดหมายเหตุแหง ชาติ กรมศิลปากร ใหถ อื วา เปน หนังสอื ของสวนราชการ ผูฝาก หากสวนราชการผฝู ากตองการใชห นังสอื หรอื ขอคนื ใหทาํ ไดโดยจัดทาํ หลักฐานตอกนั ไวใ หชดั แจง เม่ือถึงกาํ หนดการทําลายแลว ใหสวนราชการผฝู ากดําเนนิ การตามขอ ๖๖ ขอ ๖๑ การรักษาหนังสือ ใหเจาหนาที่ระมัดระวังรักษาหนังสือใหอยูในสภาพใชราชการ ไดทุกโอกาส หากชาํ รุดเสยี หายตองรีบซอ มใหใชราชการไดเ หมอื นเดมิ หากสูญหายตองหาสําเนามาแทน ถาชํารุดเสียหายจนไมสามารถซอมแซมใหคงสภาพเดิมได ใหรายงานผูบังคับบัญชาทราบและให หมายเหตุไวในทะเบียนเกบ็ ดวย ถา หนงั สือที่สญู หายเปน เอกสารสทิ ธิตามกฎหมายหรอื หนังสือสาํ คญั ทีเ่ ปน การแสดงเอกสารสิทธิ ก็ใหดาํ เนินการแจงความตอ พนักงานสอบสวน สวนที่ ๒ การยืม ขอ ๖๒ การยมื หนังสือที่สงเกบ็ แลว ใหป ฏบิ ตั ิดังนี้ ๖๒.๑ ผูย มื จะตอ งแจงใหทราบวา เร่ืองท่ยี ืมน้ันจะนาํ ไปใชใ นราชการใด
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๕ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ๖๒.๒ ผูยืมจะตอ งมอบหลกั ฐานการยืมใหเ จาหนา ท่ีเก็บ แลว ลงชอ่ื รับเร่ืองที่ยืมไว ในบตั รยืมหนังสือและใหเ จา หนาที่เก็บรวบรวมหลักฐานการยืม เรียงลําดับวัน เดือน ปไวเพื่อติดตาม ทวงถาม สว นบตั รยมื หนงั สือนน้ั ใหเก็บไวแทนท่หี นังสอื ที่ถูกยืมไป ๖๒.๓ การยืมหนงั สอื ระหวางสว นราชการ ผยู มื และผูอ นุญาตใหยืมตองเปนหัวหนา สว นราชการระดับกองข้ึนไป หรอื ผูทไ่ี ดรับมอบหมาย ๖๒.๔ การยืมหนังสอื ภายในสวนราชการเดยี วกัน ผูยืมและผูอนุญาตใหยืมตองเปน หัวหนา สวนราชการระดับแผนกข้ึนไป หรอื ผูท่ไี ดรับมอบหมาย ขอ ๖๓ บตั รยมื หนงั สือ ใหจ ัดทาํ ตามแบบที่ ๒๔ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ ๖๓.๑ รายการ ใหล งชือ่ เรื่องหนงั สือที่ขอยืมไปพรอมดวยรหัสของหนงั สอื นั้น ๖๓.๒ ผยู ืม ใหล งชอ่ื บุคคล ตาํ แหนง หรอื สวนราชการที่ยมื หนังสอื นนั้ ๖๓.๓ ผูรบั ใหผ รู ับหนังสือนัน้ ลงลายมือชื่อ และวงเล็บชอ่ื กาํ กับพรอ มดว ยตาํ แหนง ในบรรทดั ถัดไป ๖๓.๔ วันยมื ใหล งวัน เดอื น ปท่ยี ืมหนงั สือน้นั ๖๓.๕ กาํ หนดสง คืน ใหล งวัน เดือน ปท ่ีจะสง หนังสอื นนั้ คืน ๖๓.๖ ผูสง คนื ใหผ สู งคืนลงลายมอื ชื่อ ๖๓.๗ วนั สงคนื ใหล งวัน เดือน ปท ีส่ งหนังสือคืน ขอ ๖๔ การยืมหนังสือที่ปฏิบัติยังไมเสร็จหรือหนังสือท่ีเก็บไวเพื่อใชในการตรวจสอบ ใหถอื ปฏบิ ตั ติ ามขอ ๖๒ โดยอนโุ ลม ขอ ๖๕ การใหบุคคลภายนอกยมื หนงั สือจะกระทํามิได เวนแตจะใหดูหรือคัดลอกหนังสือ ทัง้ น้ี จะตอ งไดร ับอนญุ าตจากหัวหนา สว นราชการระดบั กองขนึ้ ไป หรือผูท่ีไดร บั มอบหมายกอ น สว นท่ี ๓ การทาํ ลาย ขอ ๖๖ ภายใน ๖๐ วนั หลงั จากวันสิ้นปปฏทิ นิ ใหเ จาหนาท่ีผูรับผิดชอบในการเก็บหนังสือ สํารวจหนังสือที่ครบกําหนดอายุการเก็บในปนั้น ไมวาจะเปนหนังสือท่ีเก็บไวเองหรือที่ฝากเก็บไว
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๖ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา ที่กองจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศลิ ปากร แลวจัดทําบัญชีหนังสือขอทําลายเสนอหัวหนาสวนราชการ ระดับกรมเพอ่ื พิจารณาแตงตัง้ คณะกรรมการทําลายหนังสอื บัญชีหนังสือขอทําลาย ใหจัดทําตามแบบท่ี ๒๕ ทายระเบียบ อยางนอยใหมีตนฉบับและ สําเนาคฉู บบั โดยกรอกรายละเอียดดังน้ี ๖๖.๑ ชือ่ บญั ชีหนงั สอื ขอทําลาย ประจาํ ป ใหล งตวั เลขของปพ ุทธศกั ราชท่จี ัดทําบัญชี ๖๖.๒ กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหล งชือ่ สว นราชการที่จัดทําบัญชี ๖๖.๓ วนั ท่ี ใหลงวนั เดอื น ปท ่จี ัดทาํ บญั ชี ๖๖.๔ แผน ที่ ใหลงเลขลําดบั ของแผนบญั ชี ๖๖.๕ ลําดบั ท่ี ใหล งเลขลาํ ดับเรื่องของหนังสือ ๖๖.๖ รหัสแฟม ใหล งหมายเลขลาํ ดับหมูข องการจัดแฟม เกบ็ หนังสอื ๖๖.๗ ที่ ใหลงเลขที่ของหนงั สอื แตล ะฉบับ ๖๖.๘ ลงวนั ที่ ใหลงวนั เดอื น ปของหนงั สอื แตล ะฉบบั ๖๖.๙ เลขทะเบียนรบั ใหลงเลขทะเบียนรบั ของหนังสือแตล ะฉบบั ๖๖.๑๐ เร่อื ง ใหลงชอ่ื เรอื่ งของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีที่ไมมีชื่อเร่ืองใหลงสรุป เร่ืองยอ ๖๖.๑๑ การพิจารณา ใหค ณะกรรมการทาํ ลายหนังสือเปน ผกู รอก ๖๖.๑๒ หมายเหตุ ใหบนั ทึกขอความอ่นื ใด (ถาม)ี ขอ ๖๗ ใหห วั หนาสว นราชการระดับกรมแตงตง้ั คณะกรรมการทาํ ลายหนังสือประกอบดวย ประธานกรรมการและกรรมการอกี อยางนอ ยสองคน โดยปกติใหแตงตั้งจากขาราชการตั้งแตระดับ ๓ หรอื เทยี บเทา ขึ้นไป ถาประธานกรรมการไมส ามารถปฏิบัติหนาท่ีไดใหกรรมการท่ีมาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่ง ทําหนา ทปี่ ระธาน มติของคณะกรรมการใหถ อื เสยี งขางมาก ถากรรมการผใู ดไมเ ห็นดวยใหทาํ บันทกึ ความเห็นแยงไว ขอ ๖๘ คณะกรรมการทําลายหนงั สือ มีหนา ที่ดังน้ี ๖๘.๑ พิจารณาหนงั สือท่จี ะขอทําลายตามบญั ชหี นงั สอื ขอทําลาย
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๗ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานุเบกษา ๖๘.๒ ในกรณีท่ีคณะกรรมการมีความเห็นวาหนังสือฉบับใดไมควรทําลาย และ ควรจะขยายเวลาการเก็บไว ใหลงความเห็นวาจะขยายเวลาการเก็บไวถึงเม่ือใด ในชอง การพิจารณา ตามขอ ๖๖.๑๑ ของบัญชีหนังสือขอทําลาย แลวใหแกไขอายุการเก็บหนังสือในตรากําหนดเก็บหนังสือ โดยใหประธานกรรมการทําลายหนังสอื ลงลายมอื ชอ่ื กาํ กบั การแกไ ข ๖๘.๓ ในกรณีทีค่ ณะกรรมการมีความเห็นวา หนงั สือเรอื่ งใดควรใหท าํ ลาย ใหกรอก เครอื่ งหมายกากบาท (×) ลงในชอง การพจิ ารณา ตามขอ ๖๖.๑๑ ของบัญชหี นังสือขอทาํ ลาย ๖๘.๔ เสนอรายงานผลการพิจารณาพรอมทงั้ บนั ทึกความเหน็ แยงของคณะกรรมการ (ถา ม)ี ตอ หวั หนาสว นราชการระดบั กรมเพ่ือพิจารณาส่ังการตามขอ ๖๙ ๖๘.๕ ควบคมุ การทําลายหนังสอื ซง่ึ ผูมีอํานาจอนมุ ตั ิใหทาํ ลายไดแลว โดยการเผา หรือวิธีอ่ืนใดท่ีจะไมใหหนังสือนั้นอานเปนเร่ืองได และเม่ือทําลายเรียบรอยแลวใหทําบันทึกลงนาม รวมกนั เสนอผมู อี าํ นาจอนมุ ัตทิ ราบ ขอ ๖๙ เมื่อหัวหนา สวนราชการระดับกรมไดรับรายงานตามขอ ๖๘.๔ แลว ใหพิจารณา สั่งการดังนี้ ๖๙.๑ ถาเห็นวาหนังสือเรื่องใดยังไมควรทําลาย ใหสั่งการใหเก็บหนังสือน้ันไว จนถงึ เวลาการทาํ ลายงวดตอไป ๖๙.๒ ถาเห็นวาหนังสือเร่ืองใดควรทําลาย ใหสงบัญชีหนังสือขอทําลาย ใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร พิจารณากอน เวนแตหนังสือประเภทท่ีสวนราชการน้ัน ไดขอทาํ ความตกลงกบั กรมศิลปากรแลว ไมต อ งสงไปใหพ จิ ารณา ขอ ๗๐ ใหก องจดหมายเหตแุ หงชาติ กรมศลิ ปากร พจิ ารณารายการในบัญชีหนังสือขอทําลายแลว แจง ใหส ว นราชการทสี่ ง บญั ชีหนังสอื ทาํ ลายทราบดังนี้ ๗๐.๑ ถา กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร เห็นชอบดว ย ใหแจง ใหส ว นราชการนนั้ ดาํ เนินการทําลายหนงั สอื ตอ ไปได หากกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ไมแจงใหทราบอยางใด ภายในกําหนดเวลา ๖๐ วัน นับแตวันที่สวนราชการนั้นไดสงเร่ืองใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศลิ ปากร ใหถ ือวา กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ไดใ หความเห็นชอบแลว และใหสวนราชการ ทาํ ลายหนังสอื ได
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๘ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ๗๐.๒ ถากองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร เห็นวาหนังสือฉบับใดควรจะ ขยายเวลาการเกบ็ ไวอยา งใดหรอื ใหเ กบ็ ไวต ลอดไป ใหแ จง ใหส ว นราชการน้ันทราบ และใหสวนราชการนน้ั ๆ ทําการแกไ ขตามท่ีกองจดหมายเหตแุ หงชาติ กรมศลิ ปากร แจง มา หากหนังสือใดกองจดหมายเหตุแหง ชาติ กรมศลิ ปากร เห็นควรใหสงไปเกบ็ ไวท กี่ องจดหมายเหตแุ หงชาติ กรมศลิ ปากร ก็ใหสว นราชการน้ัน ๆ ปฏิบัตติ าม เพอื่ ประโยชนในการน้ี กองจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศิลปากร จะสง เจา หนา ที่มารว มตรวจสอบ หนังสือของสว นราชการนนั้ กไ็ ด หมวด ๔ มาตรฐานตรา แบบพมิ พ และซอง ขอ ๗๑ ตราครฑุ สาํ หรบั แบบพิมพ ใหใ ชตามแบบที่ ๒๖ ทา ยระเบียบ มี ๒ ขนาด คอื ๗๑.๑ ขนาดตัวครุฑสงู ๓ เซนตเิ มตร ๗๑.๒ ขนาดตัวครฑุ สงู ๑.๕ เซนตเิ มตร ขอ ๗๒ ตราช่ือสวนราชการใหใ ชต ามแบบท่ี ๒๗ ทายระเบียบ มีลักษณะเปนรูปวงกลมสองวง ซอนกันเสนผาศูนยกลางวงนอก ๔.๕ เซนติเมตร วงใน ๓.๕ เซนติเมตร ลอมครุฑตามขอ ๗๑.๑ ระหวางวงนอกและวงในมีอักษรไทยช่ือกระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอื่น ท่ีมฐี านะเปน กรมหรือจังหวดั อยขู อบลา งของตรา สวนราชการใดที่มีการติดตอกับตางประเทศ จะใหมีชื่อภาษาตางประเทศเพ่ิมขึ้นดวยก็ได โดยใหอกั ษรไทยอยูขอบบนและอักษรโรมนั อยขู อบลา งของตรา ขอ ๗๓ ตรากาํ หนดเก็บหนงั สอื คอื ตราทีใ่ ชประทบั บนหนังสือเก็บ เพื่อใหทราบกําหนด ระยะเวลาการเกบ็ หนงั สือนน้ั มคี ําวา เกบ็ ถึง พ.ศ. .... หรอื คาํ วา หามทําลาย ขนาดไมเล็กกวาตัวพิมพ ๒๔ พอยท
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๙ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานเุ บกษา ขอ ๗๔ มาตรฐานกระดาษและซอง ๗๔.๑ มาตรฐานกระดาษโดยปกติใหใชกระดาษปอนดขาว น้ําหนัก ๖๐ กรัม ตอตารางเมตร มี ๓ ขนาด คอื ๗๔.๑.๑ ขนาดเอ ๔ หมายความวา ขนาด ๒๑๐ มิลลิเมตร ×๒๙๗ มิลลเิ มตร ๗๔.๑.๒ ขนาดเอ ๕ หมายความวา ขนาด ๑๔๘ มิลลเิ มตร×๒๑๐ มลิ ลเิ มตร ๗๔.๑.๓ ขนาดเอ ๘ หมายความวา ขนาด ๕๒ มลิ ลิเมตร × ๗๔ มิลลิเมตร ๗๔.๒ มาตรฐานซอง โดยปกติใหใ ชก ระดาษสขี าวหรือสีนํา้ ตาล นํ้าหนัก ๘๐ กรัม ตอตารางเมตร เวนแตซ องขนาดซี ๔ ใหใ ชก ระดาษน้าํ หนัก ๑๒๐ กรมั ตอตารางเมตร มี ๔ ขนาด คือ ๗๔.๒.๑ ขนาดซี ๔ หมายความวา ขนาด ๒๒๙ มิลลเิ มตร×๓๒๔ มิลลเิ มตร ๗๔.๒.๒ ขนาดซี ๕ หมายความวา ขนาด ๑๖๒ มลิ ลิเมตร× ๒๒๙ มิลลิเมตร ๗๔.๒.๓ ขนาดซี ๖ หมายความวา ขนาด ๑๑๔ มลิ ลิเมตร × ๑๖๒ มิลลเิ มตร ๗๔.๒.๔ ขนาดดีแอล หมายความวา ขนาด ๑๑๐ มิลลิเมตร ×๒๒๐ มลิ ลิเมตร ขอ ๗๕ กระดาษตราครฑุ ใหใชกระดาษขนาดเอ ๔ พิมพครุฑตามขอ ๗๑.๑ ดวยหมึกสีดํา หรอื ทําเปนครุฑดุน ท่ีก่งึ กลางสว นบนของกระดาษ ตามแบบท่ี ๒๘ ทายระเบยี บ ขอ ๗๖ กระดาษบันทึกขอความ ใหใชกระดาษขนาดเอ ๔ หรือขนาดเอ ๕ พิมพครุฑ ตามขอ ๗๑.๒ ดว ยหมึกสดี าํ ทม่ี มุ บนดา นซาย ตามแบบที่ ๒๙ ทายระเบยี บ ขอ ๗๗ ซองหนงั สือ ใหพิมพค รุฑตามขอ ๗๑.๒ ดว ยหมึกสดี ําท่ีมุมบนดานซา ยของซอง ๗๗.๑ ขนาดซี ๔ ใหส ําหรบั บรรจุหนงั สอื กระดาษตราครุฑ โดยไมตองพับ มีชนิด ธรรมดาและขยายขาง ๗๗.๒ ขนาดซี ๕ ใชส ําหรับบรรจุหนังสอื กระดาษตราครุฑพบั ๒ ๗๗.๓ ขนาดซี ๖ ใชส าํ หรบั บรรจหุ นังสอื กระดาษตราครุฑพับ ๔ ๗๗.๔ ขนาดดแี อล ใชสําหรับบรรจหุ นงั สอื กระดาษตราครฑุ พับ ๓ สวนราชการใดมีความจําเปนตองใชซองสําหรับสงทางไปรษณียอากาศโดยเฉพาะ อาจใช ซองพิเศษสําหรบั สงทางไปรษณยี อ ากาศและพมิ พต ราครฑุ ตามทก่ี ลา วขางตนไดโ ดยอนโุ ลม
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๓๐ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานเุ บกษา ขอ ๗๘ ตรารับหนังสือ คือ ตราท่ีใชประทับบนหนังสือ เพ่ือลงเลขทะเบียนรับหนังสือ ตามแบบท่ี ๑๒ ทายระเบียบ มีลกั ษณะเปน รปู ส่ีเหลี่ยมผืนผา ขนาด ๒.๕ เซนตเิ มตร × ๕ เซนตเิ มตร มชี ่อื สว นราชการอยตู อนบน ขอ ๗๙ ทะเบยี นหนงั สือรบั ใชสาํ หรบั ลงรายการหนังสือที่ไดรับเขาเปนประจําวัน โดยเรียงลําดับ ลงมาตามเวลาท่ไี ดรบั หนังสือ มขี นาดเอ ๔ พมิ พสองหนา มสี องชนิด คอื ชนิดเปน เลม และชนดิ เปน แผน ตามแบบที่ ๑๓ ทายระเบยี บ ขอ ๘๐ ทะเบยี นหนังสอื สง ใชสาํ หรับลงรายการหนังสอื ท่ีไดสงออกเปน ประจําวัน โดยเรียงลําดับ ลงมาตามเวลาทไ่ี ดสง หนังสือ มขี นาดเอ ๔ พมิ พสองหนา มีสองชนดิ คอื ชนิดเปนเลม และชนดิ เปน แผน ตามแบบท่ี ๑๔ ทายระเบียบ ขอ ๘๑ สมดุ สงหนงั สอื และใบรับหนงั สอื ใชส ําหรบั ลงรายการละเอียดเก่ยี วกบั การสงหนังสอื โดยใหผนู ําสง ถอื กํากับไปกบั หนงั สอื เพือ่ ใหผ ูร ับเซน็ รับแลว รับกลบั คนื มา ๘๑.๑ สมุดสงหนังสือ เปนสมุดสําหรับใชลงรายการสงหนังสือ มีขนาดเอ ๕ พิมพส องหนา ตามแบบที่ ๑๖ ทายระเบียบ ๘๑.๒ ใบรบั หนังสอื ใชส ําหรบั กํากบั ไปกับหนังสอื ที่นําสงโดยใหผูรับเซ็นชื่อรับ แลว รบั กลบั คนื มา มีขนาดเอ ๘ พิมพห นา เดียว ตามแบบที่ ๑๗ ทา ยระเบียบ ขอ ๘๒ บัตรตรวจคน เปนบัตรกํากับหนังสือแตละรายการเพื่อใหทราบวาหนังสือน้ัน ๆ ไดมกี ารดาํ เนินการตามลาํ ดบั ขน้ั ตอนอยา งใด จนกระทั่งเสรจ็ ส้ิน บัตรน้ีเก็บเรียงลําดับกันเปนชุดในท่ีเก็บ โดยมีกระดาษติดเปนบัตรดรรชนี ซึ่งแบงออกเปนตอน ๆ เพื่อสะดวกแกการตรวจคน มีขนาดเอ ๕ พมิ พสองหนา ตามแบบท่ี ๑๘ ทายระเบยี บ ขอ ๘๓ บญั ชีหนงั สอื สงเก็บ ใชสําหรับลงรายการหนงั สือท่จี ะสงเกบ็ มีขนาดเอ ๔ พมิ พหนาเดียว ตามแบบที่ ๑๙ ทา ยระเบยี บ ขอ ๘๔ ทะเบียนหนังสอื เกบ็ เปนทะเบียนทใี่ ชลงรายการหนังสือเก็บ มีขนาดเอ ๔ พิมพสองหนา มสี องชนิด คือ ชนดิ เปนเลม และชนดิ เปนแผน ตามแบบที่ ๒๐ ทายระเบียบ ขอ ๘๕ บญั ชสี งมอบหนงั สือครบ ๒๕ ป เปนบัญชีท่ใี ชลงรายการหนังสอื ท่ีมีอายุครบ ๒๕ ป สงมอบเก็บไวท ีก่ องจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศลิ ปากร มลี ักษณะเปนแผนขนาดเอ ๔ พิมพสองหนา ตามแบบที่ ๒๑ ทายระเบยี บ
เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๓๑ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ขอ ๘๖ บญั ชหี นังสอื ครบ ๒๕ ป ทีข่ อเกบ็ เอง เปนบัญชีท่ีใชลงรายการหนังสือที่มีอายุครบ ๒๕ ป ซง่ึ สวนราชการนนั้ มีความประสงคจะเก็บไวเอง มีลกั ษณะเปนแผนขนาดเอ ๔ พิมพสองหนา ตามแบบท่ี ๒๒ ทายระเบยี บ ขอ ๘๗ บัญชีฝากหนังสือ เปนบัญชีที่ใชลงรายการหนังสือท่ีสวนราชการนําฝากไวกับ กองจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศิลปากร มีลักษณะเปนแผนขนาดเอ ๔ พิมพสองหนา ตามแบบที่ ๒๓ ทายระเบยี บ ขอ ๘๘ บัตรยืมหนังสือ ใชสําหรับเปนหลักฐานแทนหนังสือที่ใหยืมไป มีขนาดเอ ๔ พิมพห นาเดียว ตามแบบที่ ๒๔ ทายระเบียบ ขอ ๘๙ บัญชีหนังสอื ขอทําลาย เปน บัญชีทใ่ี ชล งรายการหนังสือท่ีครบกําหนดเวลาการเก็บ มลี ักษณะเปน แผน ขนาดเอ ๔ พมิ พสองหนา ตามแบบที่ ๒๕ ทา ยระเบยี บ บทเฉพาะกาล ขอ ๙๐ แบบพิมพ และซอง ซึ่งมีอยูก อ นวนั ทรี่ ะเบียบน้ีใชบังคบั ใหใ ชไดต อ ไปจนกวาจะหมด ประกาศ ณ วันท่ี ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๖ พลเอก เปรม ติณสลู านนท นายกรฐั มนตรี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114