Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 21171-Article Text-45553-1-10-20140825 (1)

21171-Article Text-45553-1-10-20140825 (1)

Published by Sakeenah Dueruemo, 2018-10-17 03:13:49

Description: 21171-Article Text-45553-1-10-20140825 (1)

Search

Read the Text Version

16 Vol.27 No.2 May - August 2013 การเรยี นร้อู ย่างมคี วามสขุ และปัจจยั ที่เกีย่ วข้องของนิสิตพยาบาล Happy Learning and Its Associated Factors Among Nursing Students พรพรรณ ศรีโสภา, พยม. (Pornpan Srisopa, MSN.)* ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย,์ Ph.D. (Pornpat Hengudomsub, Ph.D.)** กง่ิ ดาว การะเกต, พยม. (Kingdao Karaket, MSN.)***Abstract status, emotional quotient, and adjustment to The purpose of the predictive correlational the university environment were .73, .83, andstudy were: 1) to describe and compare happy .93, respectively, 2) students’ external factorslearning between the 1st and 4th year nursing including characteristics of university friends,students 2) to investigate the correlation teachers, educational institutions, father/motherbetween students’ internal factors including or parent were .79, .94, .92, and 92, respectively.,students’ health status, emotional quotient, 3) Its reliability of happy leaning was .92.and adjustment to the university environment, Frequency, percentage, mean and standardstudents’ external factors including characteristics deviation, One-way ANOVA, Pearson’sof university friends, teachers, educational correlation coefficient, and stepwise multipleinstitutions, father/mother or parent and happy regression were employed to analyze the data.learning among undergraduate nursing students Results were: 1) An average score of happyand 3) to examine the predictors of happy learning in the high level (Mean=3.02; S.D.=leaning among these nursing students. Samples 0.26). Happy learning was significantly differentof 300 nursing students of the university between students in the 3rd and 4th years (p<.05),located in the Eastern part of Thailand were 2) Emotional quotient, students’ adjustment toused by Stratified random sampling. Self-report the university environment, characteristics ofquestionnaires assessing general data, students’ university friends, teachers, nursing institution,internal factors and students’ external factors and father/mother or parent had a moderatewere used. The reliabilities regarding 1) students’ positive correlation with happy learning in ainternal factors including students’ health significant difference (p <.05, r = .623, .618, * Corresponding author, อาจารยป์ ระจำกลุ่มวชิ าการพยาบาลสุขภาพจติ และจติ เวช คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา E-mail: [email protected]** ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ กลุม่ วิชาการพยาบาลสุขภาพจติ และจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา** อาจารย์ประจำกลุ่มวชิ าบริหารทางการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา_13-1209(016-029)P4.indd 16 6/16/14 2:55:58 PM

ปที ี่ 27 ฉบบั ที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2556 17.514, .522, .447, and .411, respectively), ความสามารถในการปรับตัวในมหาวิทยาลัย ได้whereas students’ health status had a negative ค่าความเที่ยงของเคร่ืองมือเท่ากับ .73, .83, .93correlation with happy learning in the low ตามลำดับ 3) แบบสอบถามปัจจัยภายนอกตัวlevel (p<.05, r = .198), 3) emotional quotient, นิสิต ได้แก่ ลักษณะเพื่อนร่วมมหาวิทยาลัยcharacteristics of teachers, nursing institution, ลักษณะอาจารย์ ลักษณะคณะพยาบาลศาสตร์university friends, and students’ adjustment to และลักษณะบิดามารดา/ผู้ปกครอง ได้ค่าความthe university environment could moderately เที่ยงของเครื่องมือเท่ากับ .79, .94, .92 และ .92explain variance of happy learning for 57.1% ตามลำดับ และ 4) แบบสอบถามการเรียนรู้อย่าง(R2= 0.57, p<.05) มีความสุขของนิสิตพยาบาลได้ค่าความเท่ียงของKEY WORDS: Nursing students; Happy เครื่องมือเท่ากับ .92 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์learning; Internal factors; External factors ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉล่ยี ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแปรบทคดั ยอ่ ปรวนแบบทางเดียว สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ การวิจัยเชิงความสัมพันธ์แบบทำนายน้ีมี ของเพียร์สัน และสมการถดถอยพหุคูณแบบวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบ ขั้นตอนการเรียนรู้อย่างมีความสุขระหว่างช้ันปีที่ 1 ถึง ผลการศึกษา 1) ระดับคะแนนเฉล่ียการช้ันปีที่ 4 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง เรียนรู้อย่างมีความสุขอยู่ในระดับสูง (Mean =ปัจจัยภายในตัวนิสิตได้แก่ ภาวะสขุ ภาพของนสิ ติ 3.02; S.D. = 0.26) คะแนนเฉลี่ยการเรียนรู้พยาบาล ความฉลาดทางอารมณ์ ความสามารถใน อย่างมีความสุขของนิสิตช้ันปีท่ี 3 และชั้นปีท่ี 4 การปรับตัวในมหาวิทยาลัย ปัจจัยภายนอกตัว แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) นิสิต ได้แก่ ลักษณะเพ่ือนร่วมมหาวิทยาลัย 2) ความฉลาดทางอารมณ์ ความสามารถในการลักษณะอาจารย์ ลักษณะคณะพยาบาลศาสตร์ ปรับตัวในมหาวิทยาลัย ลักษณะของ เพื่อนร่วมลกั ษณะบดิ า มารดา/ผปู้ กครอง กบั การเรยี นรอู้ ยา่ ง มหาวิทยาลัย อาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ และมคี วามสขุ ของนสิ ติ พยาบาล 3) เพื่อศึกษาปจั จยั ที่ ลักษณะบิดา มารดา/ผู้ปกครอง มีความสัมพันธ์สามารถพยากรณ์การเรียนรู้อย่างมีความสุขของ ทางบวกในระดับปานกลางกับการเรียนรู้อย่างมีนิสิตพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือนิสิตพยาบาลของ ความสุขของนิสิตพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางมหาวิทยาลัยแห่งหน่ึงในภาคตะวันออกจำนวน สถิติ, p<.05 (r = .623, .618, 514, .522, .447,300 คน ซงึ่ ไดจ้ ากการสมุ่ แบบแบง่ ชนั้ ตามสดั สว่ น และ .411, ตามลำดับ), และภาวะสุขภาพมีความเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสอบถาม สัมพันธ์ทางลบในระดับต่ำกับ การเรียนรู้อย่างมีข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสอบถามปัจจัยภายใน ความสุขของนิสิตพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางตัวนิสิต ได้แก่ ภาวะสุขภาพท่ัวไปฉบับย่อ แบบ สถติ ิ (p<.05; r = .198) 3) ความฉลาดทางอารมณ,์ประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบสอบถาม ลักษณะอาจารย์, ลักษณะคณะพยาบาลศาสตร์,_13-1209(016-029)P4.indd 17 6/16/14 2:55:59 PM

18 Vol.27 No.2 May - August 2013ลกั ษณะเพอ่ื นรว่ มมหาวทิ ยาลยั และความสามารถ จะพักการเรียน ลาออกกลางคัน หรือท่ีรุนแรงในการปรับตัวในมหาวิทยาลัย สามารถร่วมกัน ทีส่ ุดคือการทำร้ายตนเอง พยากรณ์ การเรียนรู้อย่างมีความสุขของนิสิต การก่อให้เกิดความสุขในการเรียนนั้น ในพยาบาลได้รอ้ ยละ 57.1% (R2= 0.57, p< .05) ทางพระพุทธศาสนาได้กล่าวไว้ว่า คนเราจะคำสำคัญ: นิสิตพยาบาล การเรียนรู้อย่างมี ประสบความสำเร็จในการเรียนนั้น ต้องเร่ิมจากความสุข ปจั จัยภายใน ปจั จยั ภายนอก ฉันทะคือมีความรัก ความเข้าใจในวิชาที่เรียน แล้วจึงมีวิริยะหรือความขยันตามมา (พระมหาความสำคัญของปัญหา กิตติศักด์ิ โคตมสิสโส, 2554) เช่นเดียวกับการ จากสภาวะการเปล่ียนแปลงของสภาพ ค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ ที่พบว่าเมือ่ ผู้เรยี นเรยี นรู้เศรษฐกิจ สังคมและส่ิงแวดล้อมที่รวดเร็ว ทำให้ อย่างมีความสุขจะเกิดการหล่ังของสารเคมีในระบบการศึกษาในระดับอุดมศึกษามีการพัฒนา สมอง เช่น โดปามีน นอร์เอพิเนฟริน ที่ทำให้มีและปรับตัวเพ่ือรองรับกับสภาพการแข่งขันที่ ความสุข ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความพอใจ สนใจเกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าสู่ประชาคม ไขว่คว้าอยากท่ีจะรู้ เกิดความสนุกและมีพลังที่อาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 วิชาชีพพยาบาลเป็น เรียนรู้สิ่งต่างๆ ทำให้มีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้นวิชาชีพหน่ึงท่ีเป็นความต้องการของตลาด (ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์, 2544) การเรียนรู้อย่างมีแรงงานในอาเซียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีการแข่งขัน ความสุขจะเกิดข้ึนได้ต้องอาศัยปัจจัยหลายอย่างกันสูงเพื่อก้าวเข้าสู่วิชาชีพพยาบาล การเปลี่ยน จากการทบทวนวรรณกรรมพบปัจจัยที่ส่งผลต่อผ่านของนิสิตพยาบาลสู่การเป็นวิชาชีพพยาบาล การเรียนรู้อย่างมีความสุขจำนวนมาก จำแนกตอ้ งอาศัยกระบวนการศึกษาท่ีมิใช่ในรูปแบบการ เป็นปัจจัย 2 ด้าน ได้แก่ ปัจจัยภายในตัวบุคคลสอนทางทฤษฎีเท่าน้ันหากแต่ยังต้องมีการฝึก ประกอบด้วย ภาวะสุขภาพ สุขภาพเป็นภาวะประสบการณท์ างคลนิ กิ (Lynette J. Stockhausen, สมดุลของ กาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ 2005) ทำให้นิสิตต้องมีการปรับเปล่ียนตนเอง ซ่ึงมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน หากด้านใดฝึกฝนควบคุมตนเองให้มีความรับผิดชอบเพ่ือ ด้านหนึ่งได้รับการกระทบกระเทือนย่อมส่งผลให้บริการพยาบาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ กระทบถึงด้านอื่นๆด้วยดังเช่นการศึกษาของ สิ่งเหล่าน้ีทำให้ผู้เรียนต้องปรับตัว คร่ำเคร่งกับ นุสรา นามเดช และคณะ (2549) พบว่านกั ศกึ ษาการเรียน เกิดความเหน็ดเหนื่อย ส่งผลกระทบ ได้ให้ความหมายของความสุขท่ีเก่ียวข้องกับต่อภาวะทางจิตใจของนิสิต เกิดความเครียด ภาวะสุขภาพไว้ดังน้ี “การมีร่างกายและจิตใจท่ีเบ่ือหน่าย เหน่ือยล้าจากการเรียน หรือรู้สึก แข็งแรง คือ การมีสุขภาพร่างกายท่ีแข็งแรงไม่เครียด วิตกกังวล ซึมเศร้า(นุชนาถ แก้วมาตร, เจ็บไข้ได้ป่วย มีความสุขสบายกาย มีสภาวะจันทนา เกิดบางแขม, ชนัดดา แนบเกสร, 2554) ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และส่ิงแวดล้อมที่อยู่ซ่ึงการไม่มีความสุขหรือเกิดความทุกข์ในการ ในภาวะสมดุล” ความฉลาดทางอารมณ์นิสิตเรียนนั้นอาจส่งผลให้นิสิตบางคนต้องตัดสินใจที่ ที่มีความฉลาดทางอารมณ์สูง จะส่งผลให้นิสิต_13-1209(016-029)P4.indd 18 6/16/14 2:55:59 PM

ปีท่ี 27 ฉบับท่ี 2 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2556 19สามารถบริหารจัดการเร่ืองอารมณ์ของตนและ เกิดความเบื่อหน่าย จำเจ และช่วยให้การเรียนคนอ่ืนได้ มีปัญหาทางพฤติกรรมน้อย สามารถ ของนิสิตดำเนินไปอย่างมีความสุข ดังเช่นการทำให้นิสิตเรียนรู้ได้เร็ว ได้ดีและมีความสุขตลอด ศึกษาของปัทมา ทองสม (2554) พบว่า ปัจจัยที่จนสามารถเผชิญกับความเครียดและจัดการกับ ส่งผลต่อความสุขในการเรียนได้แก่ ลักษณะความเครียดได้อย่างเหมาะสมความสามารถใน อาจารย์ ลักษณะการเรียนการสอน ลักษณะการปรับตัวการก้าวเข้าสู่สถาบันอุดมศึกษาของ นกั ศกึ ษา ลักษณะวทิ ยาลัย ลกั ษณะนกั ศกึ ษารว่ มนิสิตพยาบาลนั้นถ้าหากนิสิตสามารถปรับตัวให้ วทิ ยาลยั และลกั ษณะบดิ ามารดา/ผปู้ กครองเข้ากับสภาพแวดล้อมน้ันๆได้โดยไม่เสียสุขภาพ นิสิตท่ีเข้ามารับการศึกษาในหลักสูตรจิต จะเกิดความรู้สึกเป็นสุขกระตือรือร้นท่ีจะทำ พยาบาลศาสตรบัณฑิต ของมหาวิทยาลัยมีเป็นกิจกรรมน้ันต่อไป ส่งผลนิสิตมีทักษะท่ีสูงข้ึน นิสิตท่ีมาจากหลากหลายภูมิภาคของประเทศในกิจกรรมน้ันๆ (นุสรา นามเดช และคณะ, การที่นิสิตได้เข้ามาใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย นิสิต2549) ปัจจัยภายนอกตัวบุคคล การก้าวเข้าสู่ จำเป็นต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในหลายๆสถาบันอุดมศึกษาก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลง ด้าน ทง้ั สภาพทอ่ี ยู่อาศัย กล่มุ เพือ่ นทีห่ ลากหลายสภาพทางสังคมของนิสิตจากพ่อแม่หรือครูไป ทั้งภายในและภายนอกคณะระบบการจัดการเป็นเพื่อนรุ่นราวคราวเดียวกัน นิสิตอาจรู้สึกไม่ เรียนการสอนท่ีมีความแตกต่างจากการเรียนค้นุ เคยตอ่ สถาบัน สงิ่ แวดล้อม วธิ กี ารศกึ ษา และ การสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ท่ีบูรณาการเพ่ือน อาจประสบกับความหว้าเหว่ ซึ่งลักษณะ ความรู้สู่การปฏิบัติจริงในแหล่งฝึกประสบการณ์ของกลุ่มเพื่อนท้ังในระดับชั้นเดียวกัน และรุ่นพี่ วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ที่แตกต่างไปจากเดิมรุ่นน้องในมหาวิทยาลัย จะช่วยทำให้นิสิตมีความ นอกจากนี้ยังต้องทำกิจกรรมที่ทางมหาวิทยาลัยมั่นใจ ได้รับการยอมรับ การสนับสุนนทางด้าน กำหนด การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ ลว้ นแตต่ อ้ งการอารมณ์ จิตใจ การมีอาจารย์ท่ีปรึกษา จะช่วยลด การตัดสินใจเลือกค่านิยมท่ีเป็นแนวทางในการช่องว่างระหว่างอาจารย์กับนิสิต อีกทั้งความ ดำเนินชีวิตขณะอยู่ในร้ัวมหาวิทยาลัย ดังน้ันหากเข้าใจของพ่อแม่/ผู้ปกครองที่ส่งเสริมศักยภาพ ทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้อย่างมีความของนิสิตตามความสามารถท่ีนิสิตมี คาดหวังใน สุขของนิสิตพยาบาล จะเป็นข้อพิจารณาในการตัวลูกตามความเป็นจริงจะทำให้นิสิตรู้สึกว่า กำหนดแนวทางการพัฒนาและวางแผนการตนเองมีที่พ่ึง อบอุ่น เม่ือประสบกับปัญหาขณะ การจัดการเรียนการสอนและการจัดระบบ การอยใู่ นมหาวทิ ยาลยั ตลอดจนการจดั สภาพแวดลอ้ ม สนับสนุนนิสิต เพ่ือให้นักศึกษาพยาบาลมีการทีเ่ อ้อื ต่อการเรียน จะช่วยใหน้ สิ ติ เกดิ แนวคิดหรือ เรียนรู้อย่างมีความสุขเพ่ิมข้ึน และเป็นบัณฑิตจินตนาการอันนำไปสู่การค้นคว้าเพิ่มเติม ตามที่ พยาบาลที่มีความสุขสมบูรณ์และเตรียมตนเพื่อบุคคลถนัดหรือสนใจ (สุจินดา ม่วงมี, 2551) ทั้ง ดูแลสุขภาวะของผู้รับบริการอย่างเป็นองค์รวมยังช่วยให้ผ่อนคลายจากความตึงเครียด ไม่ก่อให้ ต่อไป _13-1209(016-029)P4.indd 19 6/16/14 2:56:00 PM

20 Vol.27 No.2 May - August 2013กรอบแนวคดิ การวิจัย เรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ ของนสิ ติ พยาบาล หลกั สตู ร ในการศึกษาครั้งน้ีใช้กรอบแนวคิดทฤษฎี พยาบาลศาสตรบณั ฑติ การเรียนรู้อย่างมีความสุขของ กิติยวดี บุญซื่อ และคณะ (2540) เป็นแนวทางในการศึกษา วิธดี ำเนินการวิจัยประกอบด้วยแนวคิดทฤษฎีย่อยทั้งหมด 6 ด้าน ประชากรใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี คือ นิสิตได้แก่ ด้านความรักและศรัทธา ด้านเห็นคุณค่า พยาบาลชั้นปีที่ 1 ถึงปีท่ี 4 ท่ีกำลังศึกษาอยู่ในการเรยี นรู้ ด้านเปิดประตสู ู่ธรรมชาติ ด้านมุง่ มาด ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2554 หลักสูตรและมั่นคง ด้านดำรงรักษ์ไมตรีจิต และด้านชีวิต พยาบาลศาสตรบัณฑิตคณะพยาบาลศาสตร์ ของท่ีสมดุลร่วมกับการทบวนวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งท่ีตั้งอยู่ในภาคตะวันออกพบว่าปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุข จำนวนท้ังสิ้น 678 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตประกอบดว้ ยปจั จยั ภายในตวั บคุ คล ไดแ้ ก่ 1) ภาวะ พยาบาลชั้นปีที่ 1 ถึงปีท่ี 4 ที่กำลังศึกษาอยู่ในสุขภาพของนิสิต 2) ความฉลาดทางอารมณ์ ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2554 หลักสูตร3) ความสามารถในการปรับตัวในมหาวิทยาลัย พยาบาลศาสตรบัณฑิต คำนวณขนาดของกลุ่มปัจจัยภายนอกตัวบุคคล ได้แก่ 1) ลักษณะเพ่ือน ตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเน่ กำหนดให้มีร่วมมหาวิทยาลัย 2) ลักษณะอาจารย์ผู้สอน ความคลาดเคลื่อนได้ร้อยละ 5 ได้ขนาดของกลุ่ม3) ลักษณะคณะพยาบาลศาสตร์ 4) ลักษณะบิดา ตวั อยา่ ง เทา่ กบั 253 คน เพ่ือป้องกันการสญู หายมารดา/ผ้ปู กครอง ของกลุ่มตัวอย่าง จึงเก็บรวบรวมข้อมูลจำนวน 300 คน กลมุ่ ตวั อยา่ งไดม้ าโดยการสมุ่ แบบแบง่ ชน้ั วัตถุประสงค์ของการวิจัย ตามสดั สว่ นแบง่ เปน็ นสิ ติ ชน้ั ปที ี่ 1 จำนวน 77 คน 1) เพ่ือศึกษาและเปรียบเทียบการเรียนรู้ ช้นั ปที ี่ 2 จำนวน 80 คน ชั้นปีที่ 3 จำนวน 66 คนอย่างมีความสุขของนิสิตหลักสูตรพยาบาล และช้นั ปที ี่ 4 จำนวน 77 คน ศาสตรบัณฑิต ระหวา่ งชนั้ ปที ี่ 1 ถงึ ช้ันปที ่ี 4 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัย เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการวิจัยภายในตัวนิสิต ได้แก่ ภาวะสุขภาพของนิสิต เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั เปน็ แบบสอบถามพยาบาล ความฉลาดทางอารมณ์ความสามารถใน ทง้ั หมด ประกอบดว้ ย 4 ส่วน มีรายละเอียดดงั น้ีการปรับตัวในมหาวิทยาลัย ปัจจัยภายนอกตัว ส่วนท่ี 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลนิสิต ได้แก่ ลักษณะเพ่ือนร่วมมหาวิทยาลัย ประกอบด้วยเพศอายุ ชั้นปีที่กำลังศึกษาผลการลักษณะอาจารย์ ลักษณะคณะพยาบาลศาสตร์ เรียนเฉลีย่ สะสม (GPA) รายได้เฉลี่ยตอ่ เดือนและลักษณะบิดา มารดา/ผู้ปกครอง ต่อการเรียนรู้ ทพี่ ักขณะทีก่ ำลงั ศึกษาอยใู่ นมหาวิทยาลยั อย่างมีความสุข ของนิสิตพยาบาลหลักสูตร สว่ นที่ 2 แบบสอบถามปจั จยั ภายในตวั นสิ ติพยาบาลศาสตรบณั ฑิต ประกอบดว้ ย 1) แบบสอบถามภาวะสขุ ภาพทว่ั ไป 3) เพื่อศึกษาปัจจัยท่ีสามารถพยากรณ์การ ฉบับย่อ (General Health Questionnaire: GHQ-_13-1209(016-029)P4.indd 20 6/16/14 2:56:00 PM

ปที ่ี 27 ฉบบั ที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2556 2112) เป็นแบบคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตท่ีพัฒนา ศาสตร์ มีจำนวน 58 ข้อ ลักษณะข้อคำถามเป็นมาจาก GHQ ของเดวิน พี โกลด์เบิร์ก (1972) มาตราส่วนประมาณค่า 5อันดับจากเห็นด้วยมากแปลเป็นไทยโดย ธนา นิลชัยโกวิทย์, จักรกฤษณ์ ท่ีสุดไปจนถึงเห็นด้วยน้อยท่ีสุด การแปลผลสุขยิ่ง และชัชวาล ศิลปะกิจ (2545) การคิดค่า คะแนนจัดระดับจากคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุดไปคะแนนใชก้ ารคิดแบบ GHQ score (0-0-1-1) โดย มากทสี่ ดุ ผู้ตอบทมี่ คี ะแนนตงั้ แต่ 2 คะแนนขึ้นไป หมายถงึ ส่วนที่ 4 แบบสอบถามการเรียนรู้อย่างมีผู้ท่ีน่าจะมีความผิดปกติทางจิตเวช 2) แบบ ความสุขของนิสิตพยาบาลเป็นแบบสอบถามท่ีประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของกรมสุขภาพ ผู้วิจัยดัดแปลงมาจากของ รวิวรรณ คำเงิน และจิต กระทรวงสาธารณสุข (2546) เป็นแบบวัด รุ่งนภา จันทรา (2553) ประกอบด้วย 6 ด้านมาตราส่วนประมาณค่า 4 อันดับจำนวน 52 ข้อ ได้แก่ ด้านความรักและศรัทธา ด้านเห็นคุณค่าการแปลผลคะแนนถ้าได้น้อยกว่า 139 คะแนน การเรียนรู้ ด้านเปิดประตูสู่ธรรมชาติ ด้านความหมายถึงมีระดับความฉลาดทางอารมณ์อยู่ใน มุ่งมาดและม่ันคง ด้านดำรงรักษ์ไมตรีจิต และระดับต่ำ หากสูงกว่า 173 คะแนน คือ มีระดับ ด้านชีวิตที่สมดุลมีจำนวน 60 ข้อ ลักษณะข้อความฉลาดทางอารมณ์สูงกว่าเกณฑ์ปกต ิ คำถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 4 อันดับจาก3) แบบสอบถามความสามารถในการปรับตัวใน เป็นจริงมากท่ีสุดไปจนถึงไม่เป็นความจริง การมหาวิทยาลัย เป็นแบบสอบถามท่ีผู้วิจัยดัดแปลง แปลผลคะแนนจัดระดับจากคะแนนเฉลี่ยน้อยมาจากแบบวัดความสามารถในการปรับตัวใน ท่ีสดุ ไปมากทส่ี ุด มหาวิทยาลัยของเสาวลักษณ์ เจนวิริยะกลุ (2535) ร่วมกับการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่ การตรวจสอบคุณภาพของเครอื่ งมือเกยี่ วขอ้ ง มจี ำนวน 60 ขอ้ ลกั ษณะขอ้ คำถามเป็น ผู้วิจัยนำเครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีมาตราสว่ นประมาณคา่ 5 ระดับ จากเหน็ ด้วยมาก พรอ้ มโครงการวจิ ยั ใหผ้ ทู้ รงคณุ วฒุ จิ ำนวน 3 ทา่ นที่สุดไปจนถึงเห็นด้วยน้อยท่ีสุดการแปลผล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือคะแนนจัดระดับจากคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุดไป หลังจากน้ันนำเคร่ืองมือท่ีปรับปรุงแก้ไขตามมากที่สุด ข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิไปทดลองใช้กับ ส่วนที่ 3 แบบสอบถามปัจจัยภายนอกตัว นิสิตพยาบาลที่มีลักษณะคล้ายกลุ่มตัวอย่างนิสิตท่ีผู้วิจัยดัดแปลงมาจากแบบสอบถามปัจจัย จำนวน 40 คน และนำมาวิเคราะห์หาค่าความทมี่ ผี ลตอ่ ความสขุ ในการเรยี น ของปทั มา ทองสม เที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธ์ิ(2554) เป็นแบบสอบถามถึงการรับรู้หรือความ แอลฟ่าของครอนบาคได้ผลดังน้ี แบบสอบถามร้สู ึกของนสิ ิตพยาบาลทม่ี ตี อ่ บคุ ลกิ ลกั ษณะ และ ปัจจัยภายในตัวนิสิต ได้แก่ ภาวะสุขภาพท่ัวไปพฤติกรรมของ เพื่อนร่วมมหาวิทยาลัย อาจารย์ ฉบับย่อ แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์และบิดามารดา/ปกครอง รวมถึงการจัดการเรียน และแบบสอบถามความสามารถในการปรับตัวการสอนและสภาพแวดล้อมของคณะพยาบาล ในมหาวิทยาลัย ได้ค่าความเที่ยงของเคร่ืองมือ_13-1209(016-029)P4.indd 21 6/16/14 2:56:00 PM

22 Vol.27 No.2 May - August 2013เท่ากับ .73, .83, .93 ตามลำดับ แบบสอบถาม แต่ละชุดก่อนนำข้อมูลไปวิเคราะห์ข้อมูลระยะปัจจัยภายนอกตัวนิสิต ได้แก่ ลักษณะเพ่ือนร่วม เวลาการเก็บข้อมลู ตัง้ แตว่ ันท่ี 1-31 มนี าคม 2554มหาวิทยาลัย ลักษณะอาจารย์ ลักษณะคณะ พยาบาลศาสตร์ และลกั ษณะบดิ ามารดา/ผปู้ กครอง การวิเคราะห์ข้อมลู ได้คา่ ความเทยี่ งของเครื่องมือเทา่ กบั .79, .94, .92 ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปวิเคราะห์ กำหนดค่าและ .92 ตามลำดบั และแบบสอบถามการเรยี นรู้ นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยสถิติท่ีใช้ในอย่างมีความสุขได้ค่าความเท่ียงของเคร่ืองมือ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ไดแ้ ก่ สถติ ิเชิงพรรณนา สถิติเทา่ กบั .92 วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (one way ANOVA) ทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยการพทิ กั ษส์ ิทธก์ิ ลมุ่ ตวั อยา่ ง วิธี Scheffe สถิติสหสัมพันธ์ของเพียร์สันและ โครงการวิจัยครั้งนี้ได้ผ่านความเห็นชอบ การถดถอยพหุคูณแบบข้ันตอนโดยมีการตรวจจากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยใน สอบคุณสมบัติตามข้อตกลงก่อนการวิเคราะห์มนุษย์ ของมหาวิทยาลัยท่ีทำการเก็บข้อมูลก่อน ข้อมูลดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลและให้การพิทักษ์ สิทธ์ิกลุ่มตัวอย่างตลอดกระบวนการวิจัย โดย ผลการวจิ ยั ผู้วิจัยแจ้งให้กลุ่มตัวอย่างทราบถึงวัตถุประสงค์ ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลกลุ่มตัวอย่างของการวิจัย สิทธิประโยชน์ท่ีกลุ่มตัวอย่างพึง จำนวนทง้ั สนิ้ 300 คน เปน็ เพศหญงิ จำนวน 287 คนได้รับ การพิทักษ์สิทธิในการปกปิดข้อมูลส่วน (ร้อยละ 95.7) โดยนิสิตส่วนมากพักอยู่ในหอพักบุคคล การตอบรับหรือปฏิเสธไม่มีผลต่อการ คณะพยาบาลและหอพักของมหาวิทยาลัยจำนวนเรียนแต่อย่างใด ผู้ท่ียินดีเข้าร่วมการวิจัยได้ 183 คน (ร้อยละ 61) รองลงมาพกั อาศยั อยหู่ อพักลงนามในเอกสารใบยนิ ยอมเขา้ รว่ มการวจิ ยั นอกมหาวิทยาลัยจำนวน 110 คน (ร้อยละ 36.7) กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีอายุเฉล่ียเท่ากับ 20.55 ปีการเก็บรวบรวมขอ้ มูล (S.D.=1.35) มีค่าคะแนนเฉลี่ยสะสมเท่ากับ 3.06 ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการแจก (S.D.=0.364) และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนเท่ากับแบบสอบถาม โดยขอความร่วมมือกลุ่มตัวอย่าง 5,387.67 บาท (S.D.= 1,979.99) บาท และนัดหมายวันเวลาสถานที่ในการเก็บรวบรวม ส่วนท่ี 2 ผลการศึกษาการเรียนรู้อย่างมีข้อมูลให้เวลาในการตอบแบบสอบถามคนละ 40 ความสุข ของนิสิตพยาบาลระหว่างชั้นปีท่ี 1 ถึงนาทีภายหลังได้รับแบบสอบถามกลับคืนคณะ ชั้นปีที่ 4 ผู้วิจัยตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม_13-1209(016-029)P4.indd 22 6/16/14 2:56:01 PM

ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2556 23ตารางท ี่ 1 คา่ ความแปรปรวนทางเดยี วของการเรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ ของนสิ ติ พยาบาล ทง้ั 4 ชน้ั ปีแหลง่ ความแปรปรวน df SS MS Fระหว่างกลุ่ม 3 2731.88 910.62 3.80*ภายในกลมุ่ 296 70929.08 239.62รวม 299 73660.97 *p <.05 ค่าเฉลี่ย ผลต่างของค่าเฉล่ีย และผลการทดสอบรายคู่ คะแนนการเรียนรู้อย่างมีความ สขุ ของนสิ ติ พยาบาลท้ัง 4 ชน้ั ปี (n=300)ตารางท่ี 2 นิสิตชนั้ ปที ่ี ค่าเฉลย่ี ผลตา่ งของค่าเฉลี่ย 2 3 4 1 181.16 .581 3.519 -5.00 2 180.58 2.939 -5.581 3 177.64 -8.519* 4 186.16*p <.05 จากการศึกษาพบว่า นิสิตชั้นปีท่ี 4 มีค่า จึงทำการทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีคะแนนเฉล่ียคะแนนเฉลี่ยการเรียนรู้อย่างมีความ Scheffe พบว่า นิสติ ชนั้ ปที ่ี 3 มคี ะแนนเฉลยี่ การสุขสูงสุด ( = 3.10, S.D.= 0.26) รองลงมาได้แก่ เรียนรู้อย่างมีความสุขแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญนักศึกษาช้ันปีท่ี 1 ( = 3.01, S.D.= 0.23) ช้ันปี ทางสถติ ิกบั นิสติ ชัน้ ปที ี่ 4 (p<.05) ในขณะท่ชี ้ันปีที่ 2 ( = 3.00, S.D.= 0.28) และ ชน้ั ปที ่ี 3 ( = อ่ืนๆ ไมม่ ีความแตกต่างกัน ดงั แสดงในตารางท่ี 22.96, S.D.= 0.23) ตามลำดับ เมื่อวิเคราะห์ความ ส่วนท่ี 3 การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์แตกต่างของค่าเฉลี่ยการเรียนรู้อย่างมีความสุข สหสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยภายในตัวนิสิตและเปรียบเทียบช้ันปี พบว่ามีความแตกต่างกันอย่าง ปัจจัยภายนอกตัวนิสิตต่อการเรียนรู้อย่างมีความน้อย 1 คู่ (F3, 296 = 3.80, p<.05) ดังตารางที่ 1 สุขของนสิ ติ พยาบาล _13-1209(016-029)P4.indd 23 6/16/14 2:56:01 PM

24 Vol.27 No.2 May - August 2013ตารางที่ 3 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกตัวนิสิตกับการ เรยี นรูอ้ ย่างมีความสุขของนิสติ พยาบาล (n=300) การเรยี นรูอ้ ยา่ งมคี วามสขุ สมั ประสทิ ธส์ิ หสมั พนั ธ์(r) คภลคกัววาวาาษมมะณสฉสะขุลาเมภาพดาา่อื รพทนถารใงน่วอมการมารมหปณารว์บัิทตยวัาลในยั มหาวทิ ยาลยั -....656112193848**** ลลลักกัักษษษณณณะะะบอคาณิดจาะาพมรยาย์ราดบาา/ลผศปู้ ากสคตรรอ์ ง ...454142712****p <.05 จากตารางท่ี 3 พบวา่ ความฉลาดทางอารมณ์ .411 ตามลำดบั ) และภาวะสขุ ภาพมคี วามสมั พนั ธ์ความสามารถในการปรับตัวในมหาวิทยาลัย ทางลบในระดับต่ำกับการเรียนรู้อย่างมีความสุขลักษณะเพื่อนร่วมมหาวิทยาลัย ลักษณะอาจารย์ ของนิสิตพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ลักษณะคณะพยาบาลศาสตร์ และลักษณะบิดา ระดับ .05 (r= .198)มารดา/ผู้ปกครอง มีความสัมพันธ์ทางบวกใน ส่วนท่ี 4 ปัจจัยท่ีสามารถร่วมกันพยากรณ์ระดับปานกลางกับการเรียนรู้อย่างมีความสุข การเรียนรู้อย่างมีความสุขของนิสิตคณะพยาบาลของนิสิตพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ศาสตร ์ ระดบั .05 (r = .623, .618, 514, .522, .447 และตารางท่ ี 4 การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบมีข้ันตอน (Stepwise Multiple Regression) พยากรณ์การเรียนร้อู ย่างมีความสุขของนสิ ติ พยาบาล (n=300) ตวั แปรพยากรณ์ R R2 Adjust R2 b Beta t ความฉลาดทางอารมณ์ .623. .388 .386 .450 .380 6.958** ลกั ษณะอาจารย์ 716 .513 .510 .347 .175 3.472** ลักษณะคณะพยาบาลศาสตร์ .737 .543 .538 .308 .169 3.692** ลกั ษณะเพือ่ นร่วมมหาวทิ ยาลยั .751 .564 .558 .750 .160 3.419** ความสามารถในการปรับตวั ในมหาวทิ ยาลัย .756 .571 .564 .088 .139 2.331*ค่าคงที่ = 26.334, F(5,294) = 78.722 Dubin Waton = 1.625*p <.05, **p < .001_13-1209(016-029)P4.indd 24 6/16/14 2:56:01 PM

ปที ่ี 27 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2556 25 จากตารางที่ 4 พบว่า ความฉลาดทาง ที่ 4 มีคะแนนการเรียนรู้อย่างมีความสุขมากกว่าอารมณ์, ลักษณะอาจารย์, ลักษณะคณะพยาบาล ชั้นปีอ่ืนๆ ในทางตรงกันข้ามนิสิตช้ันปีที่ 3 มีค่าศาสตร์, ลักษณะเพื่อนร่วมมหาวิทยาลัย และ คะแนนเฉล่ียความสุขต่ำสุด ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่าความสามารถในการปรับตัวในมหาวิทยาลัย ในนิสติ ปที ี่ 3 เป็นชัน้ ปที ีม่ กี ารเรียนการสอนค่อนสามารถร่วมกันพยากรณ์ การเรียนรู้อย่างมีความ ข้างหนักท้ังภาคทฤษฎีและปฏิบัติโดยนิสิตจะสขุ ของนสิ ติ พยาบาล ได้รอ้ ยละ 57.1 (R2 = 0.57, ต้องเรียนท้ังหมด 3 เทอม ได้แก่ ภาคฤดูร้อน ภาคp < .05) การศึกษาต้นและภาคปลาย และเม่ือรวมจำนวน หน่วยกิตมากกว่าทุกช้ันปีเน้นหนักทางด้านอภิปรายผลการศึกษาจากผลการวิเคราะห์ข้อมูล การพยาบาลทุกสาขา ส่งผลให้นิสิตต้องเรียนผวู้ จิ ยั ขอนำเสนอการอภปิ รายเรียงลำดบั ดังน ้ี เน้ือหาวิชาท่ีมากแต่ระยะเวลาในการเรียนมีจำกัด 1) เปรียบเทียบการเรียนรู้อย่างมีความสุข อีกท้ังต้องขึ้นฝึกประสบการณ์ในหอผู้ป่วยอ่ืนๆของนิสิตหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ตามรายวิชาที่คณะกำหนด จากเหตุผลดังกล่าวระหวา่ งช้นั ปที ่ี 1 ถึง ชัน้ ปีท่ี 4 จึงอาจมีผลต่อระดับการเรียนรู้อย่างมีความสุข จากผลการศึกษาพบว่า นิสิตช้ันปีที่ 4 มี ของนิสิตชั้นปีท่ี 3 ได้ซ่ึงสอดคล้องกับการศึกษาคะแนนเฉลี่ยคะแนนเฉลี่ยการเรียนรู้อย่างมีความ ของ อมรรัตน์ ศรีคำสุข ไซโตะ, วิภาพร วรหาญสขุ สงู สุดขณะที่นสิ ติ ชน้ั ปที ี่ 3 มคี ะแนนเฉล่ยี การ และวิพร เสนารัตน์ (2554) ศึกษาความสุขของเรียนรู้อย่างมีความสุขน้อยที่สุดและเม่ือเปรียบ นิสิตพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียการเรียนรู้อย่างมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น ท่ีพบว่า นิสิตช้ันปีที่ 3 ความสุขของนิสิตในแต่ละช้ันปีพบว่า คะแนน มคี ะแนนเฉลยี่ ความสขุ ตำ่ สดุ เฉลี่ยการเรียนรู้อย่างมีความสุขของนิสิตช้ัน 2) ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยภายในระหว่างช้ันปีท่ี 3 กับนิสิตชั้นปีที่ 4 มีคะแนน ได้แก่ ภาวะสุขภาพ ความฉลาดทางอารมณ์ การเฉลี่ยการเรียนรู้อย่างมีความสุขแตกต่างกันอย่าง ปรับตัวในมหาวิทยาลัย ปัจจัยภายนอก ได้แก่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ในขณะที่กลุ่มอื่นๆ ลักษณะเพ่ือนร่วมมหาวิทยาลัย ลักษณะอาจารย์ไม่มคี วามแตกต่างกนั อาจเนือ่ งมาจากในนสิ ิตชั้น ลกั ษณะคณะพยาบาลศาสตร์ ลกั ษณะบดิ า มารดา/ปีท่ี 4 ผ่านระบบการเรียนการสอนและการฝึก ผู้ปกครองกับการเรียนรู้อย่างมีความสุขของประสบการณ์วิชาชีพมาแล้วตลอดระยะเวลา นิสิตพยาบาลแยกอภิปรายได้ ดงั นี้เกือบ 4 ปี มีภาระรับผิดชอบในกิจกรรมเสริม 2.1 ภาวะสุขภาพมีความสัมพันธ์ทางหลักสูตรต่างๆลดลง ส่งผลให้มีเวลาในการเรียน ลบในระดับต่ำกับการเรียนรู้อย่างมีความสุขของหรือทำในส่ิงท่ีตนเองต้องการมากข้ึน นอกจากนี้ นิสิตพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับการใกล้จะสำเร็จการศึกษา ส่งผลให้เกิดความ .05 (r= .198) สอดคล้องกับการศึกษานุสรา รู้สึกภาคภูมิใจในและมีคุณค่าในตนเอง มีเป้า นามเดช และคณะ (2549) ทพ่ี บวา่ นักศึกษาไดใ้ ห้หมายในชีวิตที่ชัดเจนมากขึ้นจึงทำให้นิสิตช้ันปี ความหมายของความสุขท่ีเก่ียวข้องกับภาวะ_13-1209(016-029)P4.indd 25 6/16/14 2:56:02 PM

26 Vol.27 No.2 May - August 2013สขุ ภาพไว้ดงั น้ี “การมรี า่ งกายและจิตใจท่ีแขง็ แรง อยู่ในหอพักตลอดจนกิจกรรมพัฒนานิสิตท้ังของคือ การมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงไม่เจ็บไข้ คณะและมหาวิทยาลัยส่งผลให้นิสิตสามารถได้ป่วย มีความสุขสบายกาย มีสภาวะร่างกาย เผชิญกบั การเปลยี่ นแปลงทีเ่ กดิ ขึ้นกบั ตนเองหรือจิตใจ อารมณ์ และส่ิงแวดล้อมที่อยู่ในภาวะ สง่ิ แวดลอ้ มของตนได้สมดลุ ” ดงั นนั้ นสิ ติ ทมี่ สี ขุ ภาพดมี รี า่ งกายแขง็ แรง 2.4 ลักษณะเพื่อนร่วมมหาวิทยาลัยมีจะมีอารมณ์สดช่ืน มีความจำดี สามารถเรียนรู้ ความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับการได้เร็ว และคิดวิเคราะหส์ ิง่ ตา่ งๆได้อย่างลกึ ซงึ้ กวา่ เรียนรู้อย่างมีความสุข อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตินสิ ิตทเี่ จบ็ ป่วยบอ่ ยๆ ที่ระดับ .05 (r = .514) สอดคล้องกับการศึกษา 2.2 ความฉลาดทางอารมณ์มีความ ของ ปัทมา ทองสม (2554 ) ผลการศึกษาพบว่าสมั พนั ธท์ างบวกในระดบั ปานกลางกบั การเรยี นรู้ ลักษณะนักศึกษาร่วมวิทยาลัยส่งผลต่อความสุขอย่างมีความสุขอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ในการเรียนของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัย.05 (r= .623) สอดคล้องกับผลการศึกษาของ สำคัญทางสถิติอธิบายได้ว่า สังคมของนักศึกษาคันธารัตน์ ยอดพิชยั (2549) ที่พบว่า นกั ศกึ ษาท่ีมี ในมหาวิทยาลัยมีวิถีการดำรงชีวิตที่ทำให้แตกความฉลาดทางอารมณ์สูง จะมีความเครียดต่ำ ต่างจากเด็กและผู้ใหญ่ลักษณะของกลุ่มเพ่ือนอธิบายได้ว่านิสิตท่ีมีความฉลาดทางอารมณ์สูง จะช่วยทำให้นักศึกษามีความม่ันใจ ได้รับการมักเป็นผู้มีความรับผิดชอบ มีทักษะในการแก้ไข ยอมรบั การสนบั สนุ นทางดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ตามปัญหาต่อสู้กับความเครียดหรือความขัดแย้งได้ดี ความต้องการของนักศึกษา (วัลลภา เทพหัสดิน,มีแรงจูงใจมุ่งม่ันที่จะไปให้ถึงเป้าหมายนิสิตท่ี 2543) สามารถบริหารจัดการเรื่องอารมณ์ของตนและ 2.5 ลักษณะอาจารย์มีความสัมพันธ์คนอ่ืนได้ จะมีปัญหาทางพฤติกรรมน้อย เรียนรู้ ทางบวกในระดับปานกลางกับการเรียนรู้อย่างมีไดเ้ รว็ ได้ดีและมคี วามสุข (วรี ะวัฒน์ ปนั นติ ามยั , ความสุข อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2543) (r = .522) สอดคล้องกับการศึกษาของปัทมา 2.3 ความสามารถในการปรับตัวใน ทองสม (2554) พบว่า ลกั ษณะอาจารย์เปน็ ปจั จัยมหาวิทยาลัย มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับ ที่ส่งผลต่อความสุขในการเรียนของนักศึกษาปานกลางกับการเรียนรู้อย่างมีความสุข อย่างมี อธิบายได้ว่า การท่ีนักศึกษาเข้ามาศึกษาในนยั สำคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 (r = .618) สอดคลอ้ ง มหาวทิ ยาลยั นกั ศกึ ษาอาจรสู้ กึ ไมค่ นุ้ เคยตอ่ สถาบนักับการศึกษาของ นุสรา นามเดช และคณะ ส่งิ แวดลอ้ ม วธิ ีการศึกษา และเพื่อน อาจประสบ(2549) พบว่า ปัจจัยภายในตัวนักศึกษาที่มีผล กับความหว้าเหว่ สับสน และเครียด ดังน้ันการทำให้นักศึกษาพยาบาลมีความสุข ได้แก่ ความ มีอาจารย์ที่ปรึกษา จะช่วยลดช่องว่างระหว่างสามารถในการปรบั ตัว อธิบายไดว้ า่ นสิ ิตพยาบาล อาจารยก์ ับนกั ศึกษา ทำใหน้ กั ศึกษารสู้ ึกวา่ ตนเองมีระบบการสนับสนุนท่ีเอ้ือต่อการใช้ชีวิตใน มีที่พึ่ง อบอุ่น เม่ือประสบกับปัญหาขณะอยู่ในมหาวิทยาลยั ท้งั ดา้ นการเรียนการสอน ความเป็น มหาวิทยาลยั _13-1209(016-029)P4.indd 26 6/16/14 2:56:02 PM

ปีท่ี 27 ฉบับท่ี 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2556 27 2.6 ลักษณะคณะพยาบาลศาสตร์มี สำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 มี 5 ตัวแปร ได้แก่ความสัมพันธ์ทางบวกในระดบั ปานกลางกบั การ ความฉลาดทางอารมณ,์ ลกั ษณะอาจารย,์ ลกั ษณะเรียนรู้อย่างมีความสุข อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คณะพยาบาลศาสตร,์ ลกั ษณะเพอื่ นรว่ มมหาวทิ ยาลยัทีร่ ะดับ .05 (r = .477) อธบิ ายได้วา่ การจดั สภาพ และความสามารถในการปรับตัวในมหาวิทยาลัยแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนตามความสนใจและ สามารถร่วมกันพยากรณ์ได้ร้อยละ 57.1 ความความต้องการของกลุ่มเป้าหมายน้ัน จะช่วยให้ ฉลาดทางอารมณ์ เป็นตัวแปรตัวแรกท่ีสามารถนิสิตเกิดแนวคิดหรือจินตนาการอันนำไปสู่การ พยากรณ์การเรียนรู้อย่างมีความสุขของนิสิตค้นคว้าเพิ่มเติม หรือทักษะต่างๆท่ีบุคคลถนัด พยาบาลได้สูงที่สุดคือร้อยละ 38.8 อธิบายได้ว่าหรือสนใจ (สุจินดา ม่วงมี, 2551) ท้ังยังช่วยให้ ความฉลาดทางอารมณ์เป็นปัจจัยที่ถูกบ่มเพาะผ่อนคลายจากความตึงเครียด ไม่ก่อให้เกิดความ และพัฒนาต่อเน่ืองตลอดชีวิต หากนิสิตมีความเบ่ือหน่ายและช่วยให้การเรียนของนิสิตดำเนินไป สามารถในการมีสติรู้ สามารถจัดการกับความอยา่ งมีความสขุ ขัดแย้งทางอารมณ์ของตนเองได้น้ันจะทำให้นิสิต 2.7 ลักษณะบิดา มารดา/ผู้ปกครอง มี สามารถเอาชนะความทุกข์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ความสมั พนั ธท์ างบวกในระดบั ปานกลางกบั การ ลักษณะอาจารย์เป็นตัวแปรที่เข้าสมการเป็นเรียนรู้อย่างมีความสุข อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อันดับที่สอง อธิบายได้ว่าลักษณะของอาจารย์ที่ระดับ .05 (r = .411) สอดคล้องกับการศึกษา สามารถช่วยให้นิสิตผ่อนคลายหรือปลุกเร้าความของ นุสรา นามเดช และคณะ (2549) พบว่า วติ กกังวลของนสิ ิต ถ้านิสติ พบวา่ อาจารย์ของเขาความสัมพันธ์กับครอบครัวส่งผลต่อความสุข เป็นกัลยาณมิตร ผู้เรียนจะเกิดความศรัทธา เห็นของนักศึกษาพยาบาล อธิบายได้ว่าครอบครัว ความสำคัญของสาระที่กำลังเรียน ผู้เรียนย่อมมีเป็นสถาบันพื้นฐานท่ีมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ ความสุข (สมุ น อมรวิวฒั น์, 2549) ลักษณะคณะนิสิต ความสัมพันธ์ที่ดีของครอบครัวจะทำให้ พยาบาลศาสตร์เป็นตัวแปรที่เข้าสมการเป็นนิสิตมีจิตใจท่ีสบายมีสมาธิ และเรียนรู้ได้อย่างมี อันดับท่ีสามอธิบายได้ว่า ความพร้อมของแหล่งประสิทธิภาพ ความเชื่อมั่นในระบบครอบครัว ความรู้และแหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ การเปิดและความรักความผูกพันที่มีต่อกัน จะเป็นแหล่ง โอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการแสดงความสนับสนุน ช่วยเหลือนิสิตท่ีประสบปัญหาหรือ คิดเห็นการสร้างบรรยากาศท่ีอบอุ่นในการเรียนความไม่พร้อมในด้านตา่ งๆได ้ การสอนจะช่วยสนับสนุนให้ผู้เรียนให้มีการ 3. ปัจจัยท่ีสามารถร่วมกันพยากรณ์การ พัฒนาทัศนคติและสร้างพฤติกรรมให้ไปสู่เรียนรู้อย่างมีความสุขของนิสิตคณะพยาบาล ความคาดหวังของตนเองได้ (Elaine, Linda andศาสตร์ Victoria, 2007) ลักษณะเพื่อนร่วมมหาวิทยาลัย การวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธเ์ ชงิ พยากรณ์ เป็นตัวแปรที่เข้าสมการเป็นอันดับท่ีส่ี อธิบายได้พบว่า ปัจจัยที่สามารถร่วมพยากรณ์การเรียนรู้ ว่านิสิตในมหาวิทยาลัยเป็นวัยท่ีคาบเก่ียวระหว่างอย่างมีความสุข ของนิสิตพยาบาลอย่างมีนัย วัยรุ่นตอนปลายกบั วยั ผใู้ หญ่ มวี ถิ ีการดำรงชวี ติ มี_13-1209(016-029)P4.indd 27 6/16/14 2:56:03 PM

28 Vol.27 No.2 May - August 2013ลักษณะการติดต่อที่ทำให้แตกต่างจากเด็กและ กติ ติกรรมประกาศผ้ใู หญ่เชน่ การใช้ E-mail Facebook Application คณะผู้วิจัยขอขอบคุณคณะพยาบาลLine ต่างๆ ซง่ึ ลักษณะของกลมุ่ เพ่ือนท้ังในระดบั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่สนับสนุนทุนวิจัยชั้นเดียวกันและรุ่นพีรุ่นน้องในมหาวิทยาลัย จะ จากเงินรายได้ประจำปีงบประมาณ 2555 รวมทั้งช่วยทำให้นิสิตมีความมั่นใจ ได้รับการยอมรับ ผมู้ สี ว่ นรว่ มในการวิจยั ครัง้ นท้ี ุกท่านการสนับสุนนทางด้านอารมณ์ จิตใจและความ สามารถในการปรบั ตวั ในมหาวทิ ยาลยั เปน็ ตวั แปร เอกสารอา้ งอิงที่เข้าสมการเป็นอันดับท่ีห้า อธิบายได้ว่า นิสิตท่ี กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2546). มีความสามารถในการปรับตัวท่ีดี จะรับรู้วิธีการ แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของปรับตนเองให้เข้ากับสภาพแวดล้อมน้ันๆโดยไม่ กรมสุขภาพจิต แหล่งที่มา : http://www. เสียสุขภาพจิต พัฒนาความมั่นใจแห่งตนเกิด klb.dmh.go.th/index.php)[4 มิถุนายน ความรู้สึกเป็นสุข กระตือรือร้นท่ีจะทำกิจกรรม 2554]นั้นตอ่ ไป กิติยวดี บุญซ่ือ และคณะ. ทฤษฎีการเรียนรู้อย่าง มีความสุข ต้นแบบการเรียนรู้ ทางด้านขอ้ เสนอแนะและการนำไปใช้ หลักทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. สำนักงาน ควรมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คณะกรรมการศึกษาแหง่ ชาต.ิ 2540.เพื่อเสริมสร้างทักษะและพัฒนาความฉลาดทาง คันธารัตน์ ยอดพิชัย. (2549). ความสัมพันธ์อารมณ์ของนิสิตตลอดจนสร้างกิจกรรมพัฒนา ระหว่างความสัมพันธ์ในครอบครัว ความนิสิตท่ีส่งเสริม ความรักใคร่ผูกพัน ความเป็น ฉลาดทางอารมณ์กับความเครียดของกัลยาณมิตรต่อกัน ระหว่างนิสิตด้วยกัน และ นักศึกษา มหาวิทยาลัยของรัฐในกรุงเทพ-ระหว่างนิสิตกับอาจารย์ เพ่ือส่งเสริมให้นิสิต มหานคร. ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ พยาบาลมีการเรียนรทู้ ่มี ีความสขุ เพมิ่ มากขึน้ สาขาคหกรรมศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร.์ ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจยั ไปใช้ ธนา นิลชัยโกวิทย์. (2545). แบบสอบถาม Thai ควรมีการศึกษาปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเรียน General Health Questionnaire ฉบับรู้อย่างมีความสุขโดยแยกเป็นภาคทฤษฎีและภาค ภาษาไทย (Thai GHQ 12- 2 8 - 3 0 - 6 0 ) .ปฏิบัติซ่ึงอาจมีความแตกต่างของปัจจัยท่ีส่งผล กรงุ เทพมหานคร: โครงการจดั ทำโปรแกรมต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุขของนิสิตพยาบาล สำเร็จรูปในการสำรวจสุขภาพจิตในพ้ืนท่ี และควรมีการศึกษาเปรียบเทียบความสุขของ ปีพ.ศ.2545. กรมสุขภาพจิต กระทรวงนสิ ติ พยาบาลกบั นิสิตคณะอ่นื ๆ สาธารณสขุ ._13-1209(016-029)P4.indd 28 6/16/14 2:56:03 PM

ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2556 29นุชนาถ แก้วมาตร, จนั ทนา เกิดบางแขม, ชนดั ดา เสาวลกั ษณ์ เจนวริ ยิ ะกลุ . (2535). การศกึ ษาความ แนบเกสร. (2554). ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อ สามารถในการปรับตัวของนิสิต คณะ ภาวะซึมเศร้าของนิสิตพยาบาล. วารสาร พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหา- ฉบับเพิม่ เติม 2 (19), 83-95. วทิ ยาลัยศรีนครินทรว์ ิโรฒ มหาสารคาม.นุสรา นามเดช และคณะ. (2549). ความสุขของ สุจินดา ม่วงมี. (2551). เอกสารคำสอน 400305 นิสิตพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรม การเรียนรู้ตลอดชีวิต. คณะศึกษาศาสตร ์ ราชชนนสี ระบรุ ี. รายงานการวจิ ัย สถาบนั มหาวทิ ยาลัยบรู พา. พระบรมราชชนก สำนักปลัดกระทรวง สุมน อมรวิวัฒน์. (2549).บทบาทของสถาบัน สาธารณสขุ . การศึกษาต่อการพัฒนาจิตใจ. กรุงเทพฯ: ปัทมา ทองสม. (2554). การพัฒนาดัชนีช้ีวัด สำนักงานมาตรฐานการศึกษาและพัฒนา ความสุขในการเรียนของนิสิต หลักสูตร การเรียนรู้ สำนักงานเลขาธิการสภาการ พยาบาลศาสตรบัณฑิต สังกัดกระทรวง ศึกษา. สาธารณสขุ . วารสารการพยาบาลการศกึ ษา, ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์. (2544). การเรียนรู้อย่างมี 4(1), 88-110. ความสุข: สารเคมีในสมองกับความสุขพระมหากิตติศักด์ิ โคตมสิสโส. (2554).อยู่ทุกท่ี และการเรยี นรู.้ กรุงเทพฯ: สกายบุ๊กส์. ก็มสี ขุ .กรุงเทพฯ:ปญั ญาภิรมย.์ อมรรัตน์ ศรคี ำสุข ไซโตะ, วิภาพร วรหาญ, วพิ ร ระวิวรรณ คำเงิน และรุ่งนภา จันทรา. (2553). เสนารัตน์ (2554). ความสุขของนิสิต ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุข พยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ของนิสิตพยาบาลในโครงการผลิตวิชาชีพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารพยาบาล เพ่ิมเพ่ือแก้ไขปัญหาในพ้ืนที่จังหวัด ศาสตรแ์ ละสขุ ภาพ, 34(2), 70-79. ชายแดนภาคใต้.รายงานการวิจัย วิทยาลัย Gardner, E.A., Deloney, L.A. and Grando, พยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี V.T., (2007). Nursing Student Descriptions กระทรวงสาธารณสขุ . That Suggest Changes for The Classroom วีระวัฒน์ ปันนิตามัย. (2551). เชาวน์อารมณ์ and Reveal Improvements Needed in (EQ): ดัชนีวัดความสุขและความสำเร็จ Study Skills And Self-Care. Journal of ของชีวติ . กรงุ เทพฯ: เอก็ ซเปอรเ์ นท็ . professional Nursing, 23(2), 98-104.วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. การพัฒนานิสิต Stockhausen, L.J., (2005). Learning to become นักศึกษา. พิมพ์คร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: ภาค a nurse: Students’ reflections on their วชิ าอดุ มศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์ clinical experiences. Journal of Advanced มหาวทิ ยาลยั . 2543. Nursing, 22(3), 8-14._13-1209(016-029)P4.indd 29 6/16/14 2:56:03 PM


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook