หน้า ๒ ๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓ เล่ม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๘๘ ง ราชกจิ จานุเบกษา ระเบยี บนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าดว้ ยการตรวจสอบกจิ การของสหกรณ์ พ.ศ. 2563 เพื่อให้การตรวจสอบกจิ การของสหกรณ์มีประสิทธภิ าพ เหมาะสมกับขนาดและประเภทของสหกรณ์ สามารถสร้างความเช่ือมั่นให้กับสมาชิกได้ว่าการบริหารงานของคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ มีความโปรง่ ใส เช่ือถือได้ การดาเนนิ งานเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่กาหนดไวใ้ นขอ้ บังคับ อาศัยอานาจ ตามความในมาตรา 16 (8) และมาตรา 53 แหง่ พระราชบัญญัตสิ หกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเตมิ ประกอบคาสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ที่ 3/2562 ลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2562 นายทะเบียนสหกรณ์ จงึ กาหนดระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยการตรวจสอบกิจการ ของสหกรณ์ พ.ศ. 2563” ขอ้ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับเม่ือพ้นกาหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ว่าด้วยการตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ พ.ศ. 2559 ขอ้ 4 บรรดาระเบียบ คาแนะนา หรือคาสั่งอ่ืนใด ในส่วนที่กาหนดไว้แล้วในระเบียบนี้ หรือซ่งึ ขดั หรอื แยง้ กับระเบียบนใ้ี หใ้ ชร้ ะเบยี บน้ีแทน ขอ้ 5 ในระเบียบน้ี “การตรวจสอบกิจการ” หมายความว่า การตรวจสอบการดาเนินงานทั้งปวงของสหกรณ์ ทจ่ี ดั ให้มีข้นึ เพอ่ื ให้ความเช่ือม่นั เพ่ิมคุณคา่ และปรบั ปรงุ การปฏิบตั งิ านของสหกรณ์ใหด้ ขี น้ึ ซึ่งจะชว่ ยให้ สหกรณ์ดาเนินงานด้วยความโปร่งใส เป็นไปตามหลักการสหกรณ์ บรรลุถึงเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ตามทก่ี าหนดไว้ “ผู้ตรวจสอบกิจการ” หมายความว่า สมาชิกของสหกรณ์น้ัน หรือบุคคลภายนอกซึ่งเป็น บคุ คลธรรมดาหรือนิติบคุ คลทีไ่ ดร้ ับการเลอื กต้ังจากทีป่ ระชุมใหญข่ องสหกรณ์ “สหกรณ์” หมายความวา่ สหกรณแ์ ละชุมนมุ สหกรณท์ ีจ่ ัดตงั้ ข้ึนตามกฎหมายสหกรณ์ “สหกรณอ์ อมทรพั ยแ์ ละสหกรณ์เครดิตยูเน่ียนขนาดใหญ่” หมายความว่า สหกรณอ์ อมทรัพย์ และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนท่ีมีขนาดใหญ่ตามกฎกระทรวงการกาหนดขนาดของสหกรณ์ออมทรัพย์ และสหกรณเ์ ครดิตยเู นี่ยน ข้อ 6 ให้อธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์รักษาการตามระเบียบน้ี รวมท้ังให้มีอานาจตีความ และวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ตลอดจนดาเนินการอ่ืนใดตามที่ได้รับมอบอานาจจาก นายทะเบยี นสหกรณ์ เพือ่ ให้มกี ารปฏบิ ัตติ ามระเบยี บนี้
หน้า ๓ ๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓ เล่ม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๘๘ ง ราชกจิ จานเุ บกษา หมวด 1 คุณสมบตั ิและลักษณะต้องหา้ มของผตู้ รวจสอบกิจการ ขอ้ 7 ผ้ตู รวจสอบกิจการตอ้ งมคี ณุ สมบัติ ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) เป็นสมาชิกของสหกรณ์นั้น หรือบุคคลภายนอก ที่ได้รับการเลือกต้ังจากท่ีประชุมใหญ่ ของสหกรณ์ (2) ผ่านการอบรมหลักสูตรท่ีเกี่ยวข้องกับการตรวจสอบกิจการจากกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ หรือหนว่ ยงานอนื่ ท่ไี ด้รับการรบั รองหลกั สูตรจากกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ กรณีคณะผู้ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเน่ียนขนาดใหญ่ ต้องมีอย่างน้อยหนึ่งคนท่ีมีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านการเงิน การบัญชี การบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ ข้อ 8 ผตู้ รวจสอบกจิ การตอ้ งไมม่ ีลกั ษณะต้องห้าม ดังตอ่ ไปน้ี (1) เป็นคนไร้ความสามารถ หรอื คนเสมือนไรค้ วามสามารถ (2) เป็นบคุ คลลม้ ละลายหรือเคยเปน็ บุคคลล้มละลายทุจริต (3) เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิด ทไี่ ด้กระทาโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ (4) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ องค์การหรือหน่วยงานของรัฐ หรอื เอกชนฐานทจุ รติ ต่อหน้าท่ี (5) เคยถูกใหอ้ อกจากการเปน็ สมาชกิ สหกรณ์นนั้ หรอื สหกรณ์อ่ืน (6) เคยถูกให้พ้นจากตาแหน่งกรรมการหรือขาดจากการเป็นผู้ตรวจสอบกิจการหรือมี คาวินิจฉัยเปน็ ที่สุดใหพ้ น้ จากตาแหน่งกรรมการ หรือขาดจากการเป็นผตู้ รวจสอบกิจการของสหกรณ์นั้น หรือสหกรณ์อืน่ (7) เคยถูกท่ีประชุมใหญ่มีมติให้ถอดถอนออกจากตาแหน่งกรรมการหรือผู้ตรวจสอบกิจการ เพราะเหตุทุจริตตอ่ หน้าทข่ี องสหกรณ์น้นั หรือสหกรณอ์ นื่ (8) เป็นผู้จัดการหรือเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์นั้น หรือสหกรณ์อ่ืน หรือเคยถูกให้ออก จากตาแหน่งผจู้ ัดการหรือเจ้าหนา้ ท่ีของสหกรณ์นัน้ หรือสหกรณ์อ่นื ฐานทจุ รติ ต่อหน้าท่ี (9) เปน็ คสู่ มรส บุตร บิดามารดาของกรรมการ หรอื ผู้จัดการ หรอื เจ้าหนา้ ท่ีของสหกรณ์น้ัน (10) เป็นกรรมการของสหกรณ์น้ัน เว้นแต่ได้พ้นจากตาแหน่งกรรมการมาแล้วไม่น้อยกว่า สองปีบญั ชีของสหกรณ์ (11) เป็นผู้สอบบัญชี หรือผู้ช่วยผู้สอบบัญชี หรือบุคคลที่อยู่ในสังกัดนิติบุคคลที่รับงาน สอบบัญชีของสหกรณ์ในปีบัญชีนั้น เว้นแต่ได้พ้นจากการเป็นผู้สอบบัญชี หรือผู้ช่วยผู้สอบบัญชีหรือลาออก จากนติ บิ ุคคลที่รับงานสอบบญั ชสี หกรณ์น้นั มาแล้วไม่นอ้ ยกว่าหน่งึ ปี
หน้า ๔ ๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓ เล่ม ๑๓๗ ตอนพเิ ศษ ๒๘๘ ง ราชกจิ จานุเบกษา (12) เปน็ ผูอ้ ยรู่ ะหวา่ งการถกู สง่ั พกั หรือเพิกถอนใบอนุญาตเปน็ ผู้สอบบัญชีรับอนญุ าต (13) เป็นผู้อยู่ระหว่างการถูกสั่งพัก หรือขีดชื่อออกจากทะเบียนรายชื่อผู้สอบบัญชีรับอนุญาต หรือบุคคลอ่ืนของกรมตรวจบัญชสี หกรณ์ หมวด 2 การกาหนดจานวน วธิ ีการรบั สมคั รและการเลอื กตงั้ ผตู้ รวจสอบกจิ การ ข้อ 9 ให้สหกรณก์ าหนดจานวนผ้ตู รวจสอบกจิ การท่ีพึงมไี วใ้ นขอ้ บงั คบั ของสหกรณ์ แต่ตอ้ ง ไมเ่ กินหา้ คนหรือหน่ึงนติ บิ ุคคล สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนขนาดใหญ่ต้องกาหนดจานวนผู้ตรวจสอบกิจการ อย่างน้อยสามคนหรือหนึ่งนิติบุคคล เรียกว่า “คณะผู้ตรวจสอบกิจการ” และให้คณะผู้ตรวจสอบกิจการ เลือกผตู้ รวจสอบกจิ การคนหนง่ึ คนใดทาหน้าท่ปี ระธานคณะผู้ตรวจสอบกจิ การ ขอ้ 10 ขั้นตอนและวิธีการเลือกต้ังผู้ตรวจสอบกิจการให้กาหนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และประกาศใหส้ มาชิกทราบกอ่ นวนั ประชมุ ใหญ่ ข้อ 11 ให้สหกรณ์ประกาศรบั สมัครบุคคลเขา้ รับการเลือกต้ังเป็นผู้ตรวจสอบกจิ การ ก่อนวัน ประชมุ ใหญ่ เพอื่ ใหผ้ ู้มคี ุณสมบตั ิตามขอ้ 7 และไม่มีลกั ษณะตอ้ งหา้ มตามข้อ 8 ได้เข้ารบั การเลือกต้งั จากท่ีประชุมใหญ่ โดยใหผ้ สู้ มคั รเขา้ รับการเลอื กต้ังเปน็ ผู้ตรวจสอบกิจการต้องแสดงตนต่อทป่ี ระชุมใหญด่ ว้ ย ขอ้ 12 ให้สหกรณ์กาหนดเร่ืองการเลือกต้ังผู้ตรวจสอบกิจการและค่าตอบแทนไว้ในระเบียบ วาระการประชุมใหญ่ เพ่ือให้ที่ประชุมใหญ่มีมติเลือกต้ังผู้ตรวจสอบกิจการและพิจารณาอนุมัติ คา่ ตอบแทนหรอื คา่ ใช้จา่ ยอื่นทจ่ี าเป็นเก่ยี วกับการตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ ขอ้ 13 สหกรณ์อาจกาหนดให้ที่ประชุมใหญ่มีมติเลือกตั้งผู้ตรวจสอบกิจการเป็นการสารอง ไวก้ ไ็ ด้ ผู้ตรวจสอบกิจการที่เลือกต้ังเป็นการสารองไว้ ให้มีสิทธิและหน้าท่ีในฐานะผู้ตรวจสอบกิจการ ทันทีที่ผู้ตรวจสอบกิจการซ่ึงท่ีประชุมใหญ่มีมติเลือกตั้งไว้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้ไม่ว่าจะเกิดจากเหตุ ที่ขาดคุณสมบัติตามข้อ 7 หรือมีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 8 หรือมีเหตุต้องขาดจากการเป็น ผู้ตรวจสอบกจิ การตามขอ้ 15 หมวด 3 วาระการดารงตาแหนง่ และการขาดจากการเป็นผตู้ รวจสอบกจิ การ ขอ้ 14 ให้สหกรณ์กาหนดวาระการดารงตาแหน่งของผู้ตรวจสอบกิจการไว้ในข้อบังคับ ของสหกรณ์ โดยต้องกาหนดให้มีวาระการดารงตาแหน่งคราวละไม่เกินสามปีนับแต่ปีบัญชีท่ีที่ประชุมใหญ่ มีมติเลือกต้ังผู้ตรวจสอบกิจการ เม่ือพ้นวาระการดารงตาแหนง่ หากยังไม่มีการเลือกต้ังใหม่ให้ปฏิบัติหน้าท่ี อยูต่ ่อไปจนกว่าที่ประชมุ ใหญม่ มี ตเิ ลอื กตงั้ ผ้ตู รวจสอบกจิ การคนใหม่
หน้า ๕ ๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓ เล่ม ๑๓๗ ตอนพเิ ศษ ๒๘๘ ง ราชกจิ จานุเบกษา ผู้ตรวจสอบกิจการท่ีพ้นจากตาแหน่งตามวาระอาจได้รับการเลือกต้ังจากที่ประชุมใหญ่อีกได้ แต่ตอ้ งไม่เกินสองวาระตดิ ตอ่ กัน กรณีผู้ตรวจสอบกิจการขาดจากการเป็นผู้ตรวจสอบกิจการก่อนครบวาระ ให้กาหนดระเบียบ วาระการประชุมใหญ่เพ่ือเลือกตั้งผู้ตรวจสอบกิจการใหม่ ในคราวประชุมใหญ่ครั้งแรกหลังจาก ผู้ตรวจสอบกิจการคนน้ันขาดจากการเป็นผู้ตรวจสอบกิจการ และให้นับวาระการดารงตาแหน่งของ ผู้มาแทนตอ่ เนื่องจากผู้ท่ีตนมาดารงตาแหน่งแทน ข้อ 15 ผู้ตรวจสอบกิจการต้องขาดจากการเป็นผู้ตรวจสอบกิจการเมอ่ื (1) พน้ จากตาแหนง่ ตามวาระ (2) ตาย (3) ลาออก (4) ท่ีประชมุ ใหญข่ องสหกรณล์ งมตถิ อดถอน (5) อธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์วินิจฉยั ว่าขาดคุณสมบตั ิตามข้อ 7 หรือมีลักษณะต้องหา้ ม ตามขอ้ 8 ขอ้ 16 ผู้ตรวจสอบกิจการท่ีประสงค์จะลาออกจากตาแหน่งก่อนครบวาระให้ย่ืนหนังสือ ลาออกต่อประธานคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ การลาออกมีผลนับแต่วันที่ท่ีประชุมคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์มีมติรับทราบหนังสือ ลาออก ข้อ 17 กรณีผู้ตรวจสอบกิจการปฏิบัติหน้าท่ีจนครบวาระการดารงตาแหน่งแล้ว แต่สหกรณ์ ยังไม่สามารถจัดประชุมใหญ่ได้ตามกฎหมาย ให้ผู้ตรวจสอบกิจการยังคงมีหน้าที่ต้องนาเสนอรายงาน ผลการตรวจสอบกิจการตอ่ ท่ีประชุมใหญ่ หน้าท่ีของผู้ตรวจสอบกิจการจะส้ินสุดลงเมื่อได้เสนอรายงาน ผลการตรวจสอบกิจการตอ่ ทีป่ ระชมุ ใหญ่แล้ว หมวด 4 การตรวจสอบกจิ การสหกรณ์ ส่วนท่ี 1 หน้าทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของผตู้ รวจสอบกิจการ ขอ้ 18 ผู้ตรวจสอบกิจการมีหน้าที่ตรวจสอบการดาเนินงานทั้งปวงของสหกรณ์ ทั้งด้าน การปฏิบตั ิเกย่ี วกับการเงนิ การบญั ชี และด้านปฏิบัติการในการดาเนนิ ธรุ กจิ ตามที่กาหนดไวใ้ นขอ้ บังคบั ของสหกรณ์ รวมถึงการประเมินผลการควบคุมภายใน การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศ ของสหกรณ์ และการตรวจสอบในเรอื่ งตา่ ง ๆ ดงั น้ี
หน้า ๖ ๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓ เล่ม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๘๘ ง ราชกจิ จานเุ บกษา (1) ตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกบัญชีเพ่ือให้เป็นไปตามแบบและรายการ ทนี่ ายทะเบยี นสหกรณก์ าหนด (2) ประเมนิ ความมีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลการดาเนินงานของคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ เพื่อให้ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการบริหารงานของคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย ขอ้ บงั คับ และระเบียบของสหกรณ์ (3) สอบทานระบบการปฏิบัติงานของสหกรณ์ เพ่ือให้เป็นตามกฎหมาย ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ข้อบงั คับ และระเบียบของสหกรณ์ รวมถึงคาสั่งของส่วนราชการทก่ี ากบั ดูแลกาหนดใหต้ ้องปฏิบตั ิ (4) ตรวจสอบและสอบทานระบบการควบคุม ดูแลรักษาทรัพย์สินของสหกรณ์ วิเคราะห์ และประเมินผลความมีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพย์สินของสหกรณ์ เพ่ือให้การใช้ทรัพย์สินเป็นไป อยา่ งเหมาะสมและคุ้มคา่ ข้อ 19 คณะผู้ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเน่ียนขนาดใหญ่ นอกจากจะต้องตรวจสอบภายใต้ข้อกาหนดในข้อ 18 แล้ว คณะผู้ตรวจสอบกิจการต้องกาหนด ขอบเขตการตรวจสอบและเสนอรายงานผลการตรวจสอบเฉพาะด้าน ในเรอ่ื งดังตอ่ ไปนด้ี ว้ ย (1) ตรวจสอบรายงานทางการเงิน ให้คณะผู้ตรวจสอบกิจการตรวจสอบและเสนอรายงาน ผลการตรวจสอบเก่ียวกบั การเปิดเผยรายการในงบการเงนิ ของสหกรณ์เป็นไปโดยถูกต้อง และได้ปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย ประกาศ คาสั่ง ระเบียบ คาแนะนา แนวปฏิบัติท่ีนายทะเบียนสหกรณ์กาหนด ตรวจสอบการจัดทารายการย่อแสดงสินทรัพย์และหน้ีสินครบถ้วนและได้เปิดเผยให้สมาชิกได้รับทราบ เป็นประจาทุกเดือน รวมท้ังได้มีการจัดส่งข้อมูลรายงานทางการเงินตามแบบและรายการท่ีกาหนด ในกฎกระทรวง (2) ตรวจสอบการบริหารความเส่ียง ให้คณะผู้ตรวจสอบกิจการตรวจสอบการวางกลยุทธ์ ด้านการบริหารความเสี่ยงสอดคล้องกับนโยบายการบริหารความเส่ียง และเสนอรายงานผลการ ตรวจสอบเก่ียวกับการกาหนดนโยบายและการวางกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง เช่น ความเส่ียงด้านสินเช่ือ ความเสี่ยงด้านการลงทุน ความเส่ียงด้านสภาพคล่อง ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ เป็นต้น เพื่อให้ การบรหิ ารความเสี่ยงของสหกรณ์เป็นไปตามนโยบายที่กาหนดไว้ (3) ตรวจสอบการบริหารดา้ นสินเชื่อ ให้คณะผู้ตรวจสอบกจิ การตรวจสอบและเสนอรายงาน ผลการตรวจสอบเกี่ยวกับการให้สินเช่ือประเภทต่าง ๆ ของสหกรณ์เป็นไปตามนโยบายด้านสินเช่ือ ท่ีวางไว้ สามารถประเมิน ติดตามและดูแลความเสี่ยงท่ีอาจเกิดข้ึนจากการที่ลูกหนี้ไม่สามารถชาระหนี้ ได้ตามกาหนดในสัญญา ตรวจสอบการวางกลยุทธ์และระบบปฏิบัติการเป็นไปตามนโยบายด้านสินเชื่อ และหลักเกณฑ์ทก่ี าหนดไวใ้ นกฎกระทรวง
หน้า ๗ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๓ เล่ม ๑๓๗ ตอนพเิ ศษ ๒๘๘ ง ราชกจิ จานุเบกษา (4) ตรวจสอบการบริหารด้านการลงทุน ให้คณะผู้ตรวจสอบกิจการตรวจสอบและเสนอ รายงานผลการตรวจสอบเกี่ยวกับการกาหนดนโยบายด้านการลงทุน การลงทุนของสหกรณ์ต้องอยู่ ภายใต้นโยบายท่ีกาหนดและเป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ และได้ดาเนินการภายใต้เกณฑ์ท่ีกาหนด ในกฎกระทรวง (5) ตรวจสอบการบรหิ ารสภาพคล่อง ให้คณะผู้ตรวจสอบกจิ การตรวจสอบและเสนอรายงาน ผลการตรวจสอบเกยี่ วกับการกาหนดนโยบายหรอื แผนงานในการควบคมุ การบรหิ ารความเสี่ยงด้านสภาพ คลอ่ งของสหกรณ์ การดารงสินทรัพยส์ ภาพคลอ่ งเป็นไปตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง กรณีพบการทุจริต การขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร่องท่ีสาคัญ ในระบบการควบคุมภายใน การฝ่าฝืนกฎหมายสหกรณ์หรอื กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง การฝ่าฝืนระเบียบ คาสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ คณะผู้ตรวจสอบกิจการต้องเปิดเผยไว้ในรายงานผลการตรวจสอบกิจการ และนาเสนอ ต่อทป่ี ระชุมคณะกรรมการดาเนนิ การสหกรณแ์ ละทป่ี ระชมุ ใหญ่ ขอ้ 20 ผู้ตรวจสอบกิจการมีหน้าท่ีตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจว่า หนังสือจากส่วนราชการ ท่ีมีหน้าที่กากับดูแลสหกรณ์ และจากผู้สอบบัญชีสหกรณ์ท่ีแจ้งข้อสังเกตหรือข้อบกพร่องเก่ียวกับ การดาเนินงานของสหกรณไ์ ดร้ บั การพจิ ารณาแก้ไขแล้ว ขอ้ 21 ผู้ตรวจสอบกิจการมีหน้าท่ีรายงานผลการตรวจสอบกิจการเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อสรุปผลการตรวจสอบ รวมท้ังข้อสังเกตและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์เสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการดาเนนิ การและทปี่ ระชุมใหญข่ องสหกรณ์ โดยใหเ้ สนอผลการตรวจสอบกิจการ ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) รายงานผลการตรวจสอบกิจการประจาเดือน ให้เสนอต่อคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ ในการประชุมประจาเดือน (2) รายงานผลการตรวจสอบกิจการประจาปีให้เสนอต่อท่ปี ระชมุ ใหญข่ องสหกรณ์ (3) รายงานผลการตรวจสอบกิจการกรณีเร่งด่วน ในกรณีท่ีผู้ตรวจสอบกิจการพบว่า มีเหตุการณ์ท่ีอาจก่อให้เกิดความเสียหายกับสหกรณ์ หรือสหกรณ์มีการปฏิบัติไม่เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ คาส่ัง ประกาศ หรือคาแนะนาของทางราชการ รวมท้ังข้อบังคับ ระเบียบ มติที่ประชุม หรือคาสั่งของสหกรณ์ที่อาจจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่สมาชิกและสหกรณ์ ให้ผู้ตรวจสอบกิจการ แจง้ ผลการตรวจสอบกจิ การตอ่ คณะกรรมการดาเนินการสหกรณท์ ันที ใหจ้ ัดสง่ สาเนารายงานตามวรรคหน่งึ ต่อสานกั งานตรวจบญั ชสี หกรณ์ และสานักงานสหกรณ์จงั หวดั หรือสานกั งานสง่ เสริมสหกรณก์ รุงเทพมหานครโดยเรว็ ขอ้ 22 ให้ผู้ตรวจสอบกิจการติดตามผลการดาเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง ข้อสังเกต และให้ รายงานผลการติดตามการแก้ไขข้อบกพรอ่ ง ข้อสังเกตของสหกรณ์ไวใ้ นรายงานผลการตรวจสอบกจิ การด้วย
หน้า ๘ ๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓ เล่ม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๘๘ ง ราชกจิ จานุเบกษา ขอ้ 23 ใหผ้ ู้ตรวจสอบกิจการเข้ารว่ มประชุมคณะกรรมการดาเนินการและเขา้ รว่ มประชุมใหญ่ เพ่อื ช้ีแจงรายงานผลการตรวจสอบกิจการตอ่ ท่ีประชมุ สว่ นท่ี 2 หนา้ ทข่ี องสหกรณต์ ่อผตู้ รวจสอบกิจการ ข้อ 24 ให้สหกรณ์กาหนดขอบเขตความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบกิจการไว้ในข้อบังคับ ของสหกรณ์ กรณีผู้ตรวจสอบกิจการฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามวรรคหน่ึง เป็นเหตุให้สหกรณ์ได้รับความเสียหาย การพจิ ารณาความรับผดิ ของผู้ตรวจสอบกิจการ ใหเ้ ปน็ ไปตามมติทปี่ ระชุมใหญ่ ขอ้ 25 ให้สหกรณม์ หี น้าท่ี ดังตอ่ ไปนี้ (1) อานวยความสะดวก ให้ความร่วมมือแก่ผู้ตรวจสอบกิจการ ในการให้คาช้ีแจง ตอบข้อซักถามต่าง ๆ พร้อมท้ังจัดเตรียมข้อมูล เอกสารหลักฐานประกอบการบันทึกบัญชีของสหกรณ์ เพ่อื ประโยชนใ์ นการตรวจสอบกิจการ (2) กาหนดระเบียบวาระการประชุมให้ผู้ตรวจสอบกิจการรายงานผลการตรวจสอบกิจการ ประจาเดือน และจัดทาหนังสือเชิญให้ผู้ตรวจสอบกิจการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ ทุกครั้ง (3) พิจารณาปฏิบัติตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะของผู้ตรวจสอบกิจการ เพื่อให้การดาเนินกิจการ ของสหกรณเ์ ปน็ ไปโดยถกู ต้องตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบงั คบั ของสหกรณ์ หมวด 5 จริยธรรมของผูต้ รวจสอบกจิ การ ข้อ 26 ผู้ตรวจสอบกิจการพึงประพฤติปฏิบัติตนในการปฏิบัติงานตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ ดงั นี้ (1) ความซื่อสัตย์ ผ้ตู รวจสอบกจิ การจะตอ้ งสรา้ งความเชื่อมน่ั ใหเ้ กดิ ความไวว้ างใจ และทาให้ สมาชิกยอมรบั และเชือ่ วา่ รายงานผลการตรวจสอบกจิ การน่าเชือ่ ถือ โดยผ้ตู รวจสอบกจิ การจะต้อง (1.1) ปฏิบตั หิ นา้ ทขี่ องตนดว้ ยความซ่อื สัตย์ ขยนั หมัน่ เพยี รและมีสานกึ รบั ผิดชอบ (1.2) ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์และเปิดเผยข้อมูลตามที่ ระเบียบน้ีกาหนด (1.3) ไม่มีส่วนร่วมโดยเจตนาในกิจกรรมท่ีขัดต่อกฎหมาย หรือการกระทาท่ีอาจเสื่อมเสีย ตอ่ สมาชกิ หรือสหกรณ์ (1.4) ให้การสนับสนุนวัตถปุ ระสงค์ในการดาเนินการของสหกรณ์ท่ีถูกตอ้ งตามกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บงั คับของสหกรณ์
หน้า ๙ ๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓ เล่ม ๑๓๗ ตอนพเิ ศษ ๒๘๘ ง ราชกจิ จานเุ บกษา (2) ความเที่ยงธรรม ผู้ตรวจสอบกจิ การจะตอ้ งแสดงความเทยี่ งธรรมในการตรวจสอบกจิ การ ของสหกรณ์ โดยการรวบรวมประเมินผลการตรวจสอบและประเมินสถานการณ์ท่ีเกี่ยวข้องอย่างเป็นกลาง ไม่ลาเอียง และไม่ปล่อยให้เกิดอคติ หรือไม่ให้บุคคลอ่ืนมีอิทธิพลเหนือการตัดสินใจในการประเมินผล การตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ โดยผู้ตรวจสอบกิจการจะต้อง (2.1) ไม่มีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือความสัมพันธ์ที่บ่ันทอนหรืออาจบั่นทอนการประเมิน อยา่ งเปน็ กลาง ไมล่ าเอยี ง รวมไปถงึ การกระทาหรือมคี วามสัมพันธท์ ่ขี ัดตอ่ ผลประโยชน์ของสหกรณ์ด้วย (2.2) ไม่เรียกร้อง ไม่รับส่ิงตอบแทนใด ๆ นอกเหนือจากค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ทพี่ ึงได้ตามขอ้ ตกลงที่ทาไวก้ บั สหกรณ์ (2.3) เปิดเผยความจริงทั้งหมดที่ทราบ ซ่ึงหากละเว้นไม่เปิดเผยแล้วอาจทาให้รายงาน ผลการตรวจสอบกิจการบิดเบอื นไป (3) การรักษาความลับ ผู้ตรวจสอบกิจการต้องไม่เปิดเผยข้อมูลโดยปราศจากอานาจหน้าที่ ท่ีกาหนด เว้นแตก่ ฎหมายกาหนดไวเ้ ปน็ อยา่ งอื่นโดยผตู้ รวจสอบกจิ การจะตอ้ ง (3.1) รอบคอบในการใช้และปกป้องข้อมลู ที่ได้มาระหวา่ งการปฏิบัตหิ น้าที่ (3.2) ไม่ใช้ข้อมูลท่ีได้มาเพ่ือผลประโยชน์ส่วนตนหรือเพื่อการใด ที่ขัดต่อกฎหมายหรือ ขอ้ บังคับของสหกรณ์ (4) ผู้ตรวจสอบกิจการจะต้องใช้ความรู้ ทักษะและประสบการณ์ท่ีจาเป็นในการปฏิบัติงาน ตรวจสอบกจิ การ โดยต้องพฒั นาความรู้ ทกั ษะ ความชานาญของตนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง บทเฉพาะกาล ข้อ 27 ในกรณีที่ข้อบังคับของสหกรณ์กาหนดเรื่องการตรวจสอบกิจการไว้ขัดหรือแย้งกับ ระเบียบนี้ ให้ข้อบังคับของสหกรณ์มีผลใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้เป็นไปตาม ระเบียบน้ี แตต่ อ้ งไม่เกินสองปนี ับแต่ระเบยี บนม้ี ผี ลใชบ้ งั คับ ข้อ 28 ผู้ตรวจสอบกิจการในสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเน่ียนขนาดใหญ่ที่ไม่มี คุณสมบัติตามข้อ 7 วรรคสอง ให้ถือว่าเป็นผู้มีคุณสมบัติและสามารถปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบนี้ต่อไปได้ จนกวา่ จะครบวาระการดารงตาแหนง่ ตามข้อบงั คบั ประกาศ ณ วนั ท่ี 12 ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕63 โอภาส ทองยงค์ อธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ พนักงานเจ้าหนา้ ที่ ปฏบิ ัตกิ ารแทน นายทะเบียนสหกรณ์
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: