ทฤษฏี PDCA PD CA
PDCA คือ วงจรทีพัฒนามาจากวงจรทีคิดค้นโดย วอล์ทเตอร์ ซวิ ฮารท์ (WALTER SHEWHART )ผู้บุกเบิกการใช้ สถิติสําหรบั วงการอุตสาหกรรมและต่อมาวงจรนี เรมิ เปนที รูจ้ ักกันมากขึนเมือ เอดวารด์ เดมมิง (W.EDWARDS DEMING) ปรมาจารย์ด้าน การบรหิ ารคุณภาพเผยแพรใ่ ห้เปนเครอื งมือสําหรบั การ ปรบั ปรุงกระบวนการทํางานของพนั กงานภายในโรงงานให้ ดียิงขึน และชว่ ยค้นหาปญหาอุปสรรคในแต่ละขันตอนการ ผลิตโดยพนั กงานเอง จนวงจรนี เปนทีรูจ้ ักกันในอีกชอื ว่า “วงจรเด็มมิง” ต่อมาพบว่า แนวคิดในการใชว้ งจรPDCA นั น สามารถนํ ามาใชไ้ ด้กับทุกกิจกรรม จึงทําให้เปนทีรูจ้ ักกัน อย่างแพรห่ ลายมากขึนทัวโลก
Plan คือ การวางแผน DO คือ การปฏิบตั ิตามแผน Check คือ การตรวจสอบ Action คือ การปรบั ปรงุ การดาํ เนนิ การอยา่ งเหมาะสม
Plan คือ การวางแผน คือขนั ตอนการวางแผนก่อนทีเรมิ ปฏิบตั ิงาน จรงิ กําหนดลําดบั ความสาํ คัญของงาน และ ครอบคลมุ ถึงการกําหนดหวั ขอ้ วตั ถปุ ระสงค์ที ชดั เจนทีต้องการลงมอื ปฎิบตั ิ ปรบั ปรงุ เปลียนแปลง หรอื พฒั นาสงิ ใหมๆ่
DO คือ การปฏิบตั ิตามแผน คือการลงมอื ทําหรอื การปฏิบตั ิตามขนั ตอน ตามแผนงานทีไดก้ ําหนดไวอ้ ยา่ งเปนระบบและ ใหม้ คี วามต่อเนอื งเพอื ผลลัพธท์ ีดที ีสดุ โดยใน ขนั ตอนการปฏิบตั ินเี ราควรศึกษาถึงวธิ กี ารที เหมาะสมทีสดุ สาํ หรบั การทํางานนนั ๆ ดว้ ย เพอื ใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพ และ ผลลัพธท์ ีดที ีสดุ
Check คือ การตรวจสอบ คือขันตอนการตรวจสอบวา่ หลังจากนาํ แผนที วางไวไ้ ปปฏิบัติจรงิ แล้วเราสามารถบรรลุ วตั ถุประสงค์หรอื มาตรฐานทีเราได้กําหนดไว้ หรอื ไม่ ทังนีสิงทีควรคํานึงถึงก็คือ เราต้องรู้ วา่ จะต้องตรวจสอบอะไรบ้างและจาํ นวนบ่อย ครงั แค่ไหน เพือใหง้ ่ายในการปรบั ปรุง และ แก้ไขในการทํางานครงั ต่อไป
Action คือ การปรบั ปรงุ การดาํ เนนิ การอยา่ งเหมาะสม คื อกระบวนการปรับปรุงแก้ ไขส่วนที มี ปญหาโดยขันตอนนีเปนการนาํ เอา ผลลั พธ์ที ได้จากขันตอนการตรวจสอบ (CHECK) มาวิเคราะห์และตรวจสอบ สาเหตุความผิดพลาดที เกิ ดขึนมา ป ร ะ เ มิ น เ พื อ พั ฒ น า แ ผ น แ ล ะ ห า แ น ว ท า ง การแก้ ไขปญหาที เกิ ด เพือปองกั นไม่ให้ ปญหาเดิมเกิ ดขึนอี กในระยะยาว
ประโยชนของ PPDDCCAA 1 การวางแผนงานก่อนการปฎิบตั ิงาน จะทําใหเ้ กิด ความพรอ้ มเมอื ได้ปฏิบตั ิงานจรงิ การปฏิบตั ิตามแผนงาน ทําใหท้ ราบขนั ตอน วธิ กี าร 2 และสามารถเตรยี มงานล่วงหน้าหรอื ทราบ อุปสรรคล่วงหน้าด้วย ดังนันการปฏิบตั ิงานก็จะ เกิดความราบรนื และเรยี นรอ้ ย นําไปสเู่ ปาหมายที ได้กําหนดไว้ 3 การตรวจสอบ ใหไ้ ด้ผลทีเทียงตรงเชอื ถือได้ 4 การปรบั ปรุงแก้ไข ขอ้ บกพรอ่ งทีเกิดขนึ ไมว่ า่ จะ เปนขนั ตอนใดก็ตามเมอื มกี ารปรบั ปรุงแก้ไข คณุ ภาพก็จะเกิดขนึ
จัดทาํ โดย นางสาว ณัฐวดี โนหลักหมืน รหัส 6181550101 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: