1. มี Pop Up หรอื ข้อความแปลกๆขึ้นบนหน้าจอ คอมพิวเตอร์ของคุณติดไวรัส โดยที่คุณอาจเผลอไปคลิกลิงค์แปลกๆเข้าหรือคลิกท่ี Pop Up แปลกๆบน Web Site โดยติดจาก Spyware หรือโปรแกรม Antivirus ปลอม (Rogue ware) 2. คอมพิวเตอรม์ อี าการชา้ อยา่ งมากๆหรือบางทีเคร่ืองค้างไปเลย อาการแบบน้ี มาจากหลายสาเหตุ บางคร้ังเป็นอาการจากไวรัส และเป็นการติดเชื้อโดย Virus , Worm , Trojan และอ่ืนๆ โดยภัยคุกคามเหล่านี้กาลังทางานบนเคร่ืองของคุณ ในขณะท่ีทางานจะกินทรัพยากร CPU load , Ram ของเคร่ืองเป็นอย่างมาก บางที อาจสร้างไฟล์ขยะต่างๆหรือก๊อปปี้ตัวเองโดยสุ่มช่ือไฟล์ในเคร่ืองมา และจะก๊อปปี้ ตัวเองให้อยู่ในทุก Directory ของคอมพิวเตอร์รวมไปถึง Restore Point ทาให้ คุณสูญเสียพ้ืนที่ว่างใน Hard Disk ไปอย่างไร้ประโยชน์ ทาให้ระบบคอมพิวเตอร์ ของคณุ ทางานได้ชา้ เกินกว่าทค่ี วรจะเป็น 3. ไฟล์งานของคุณหายไปไหน? มีไวรัสท่ีได้รับการออกแบบมาเพ่ือลบหรือ เขา้ รหสั ขอ้ มูลของท่าน หรอื ยา้ ยไฟลข์ ้อมลู จากท่ีหนงึ่ ไปยังท่ี 4. คอมพิวเตอร์ของคุณแสดงภาษาแปลกๆ ถ้าภาษาใน Application ของคุณ มีการเปลี่ยนแปลง หน้าจอพื้นหลังเป็นสีดาหรือ Background รูปแปลกๆ และ ไอคอนบนหน้าจอดเู หมอื นหายไป 5. คอมพิวเตอรข์ องคุณผดิ ปกติเปน็ ระยะๆ อยู่ดีกท็ างานเอง โดยท่ีคณุ ไมไ่ ด้คลิก สั่งการเลย 6. ไฟลใ์ นแผ่นดสิ หรอื ฮารด์ ดิสเปลื่ยนเป็นไฟลข์ ยะ 1. ติดตัง้ โปรแกรมปอ้ งกันไวรสั และอัปเดตข้อมูลไวรัสอย่เู สมอ วธิ ปี ้องกันไวรัส 2. ติดตั้งโปรแกรมอุดช่องโหว่(patch) โดยการอัปเดตซอฟต์แวร์และ โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ให้ใหม่อยู่เสมอ ระบบปฏิบัติการ(OS) Windows , ระบบปฏิบัติการ โปรแกรม Internet Explorer (IE) และโปรแกรม Microsoft Office เป็นตน้ 3. ปรบั แต่งใหซ้ อฟต์แวร์ทีใ่ ช้งานปลอดภัยสูงท่ีสดุ โดย ปรบั แต่งไม่ให้โปรแกรม ที่ใช้อ่าน E-mail รันไฟล์แนบ(Attachment) โดยอัตโนมัติ ถ้าใช้ Microsoft Office ไม่ควร อนุญาตให้รันมาโคร (macro) ต้ังค่าระบบปฏิบัติการให้แสดงไฟล์ท่ีมีอยู่ท้ังหมด และแสดง นามสกุลของไฟล์ด้วยโดย ปรับ ค่าการทางานที่ Folder Options ใน Tools ของ Windows Explorer 4. ระวงั ภยั จากการเปิดไฟลจ์ ากสือ่ บันทกึ ขอ้ มูล(Media) ตา่ ง ๆ 5. ใช้ความระมดั ระวังในการเปิดอา่ น E-mail 6. ตระหนกั ถงึ ความเส่ียงของไฟลท์ ี่ดาวน์โหลด หรือไดร้ ับจากทางอินเตอร์เน็ต 7. กาหนดนโยบายด้านการบริหารจัดการไวรัสคอมพิวเตอร์ขององค์กร สารองข้อมูลสาคัญไว้เสมอ ถ้าสงสัยว่าเคร่ืองติดไวรัสและไม่สามารถดาเนินการเองได้ให้ สอบถามเจา้ หน้าท่ีดูแลระบบหรือผู้ท่เี กย่ี วขอ้ งดาเนนิ การโดยดว่ น
วัตถปุ ระสงค์ การตรวจเช็คอุปกรณ์ 1. เพื่อเขา้ ใจและสามารถดแู ลรักษา และซอ่ มบารุงเคร่ืองคอมพวิ เตอรไ์ ด้ 2. เพือ่ ตรวจเช็ตเครื่องคอมพวิ เตอร์ ก่อนนาไปใช้งานจริง 3. เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางานและการบารุงรักษา การตรวจสอบ 1. ตรวจสอบอปุ กรณ์คอมพวิ เตอรว์ ่าอยู่ครบหรือไม่ เครื่องคอมพิวเตอร์ 2. ตรวจการทางานของเคร่อื งวา่ ใช้ไดห้ รือไม่ 3. หากพบวา่ เครื่องทางานไมป่ กติ ไหถ้ อดปลั๊กและแจ้งครูผู้สอนทราบทันที 4. ทาความสะอาดภายนอกเคส คียบ์ อร์ด จอ เมาส์ สปั ดาหล์ ะ 1 ครงั้ 5. ตรวจสอบสายไฟและสายสัญญาณต่างๆ เช่น ไฟติดๆ ดับๆ สายไฟ สายสัญญาณหลวมหรือหัก ควรเปลย่ี น ใหม่ 6. ตรวจสอบสภาพอขงฮารด์ ดิสกว์ ่ามี Bad Sector หรือไม่ โดยใช้โปรแกรม ประเภทDisk Defragment Bad Sector คือ สัญญาณเตือนภัยอย่างหนึ่งท่ีแสดง ให้เห็นว่าฮาร์ดดิสก์น้ันมีข้อบกพร่อง เช่น เกิดการชนกันของหัวอ่าน หัวอ่านการ ไดร้ ับการเสยี หาย อาจทาใหเ้ กิดรอยขดี ขว่ นบนแผ่นดสิ กเ์ พิ่มขน้ึ 7. เปา่ ฝุน่ หรือกาจัดฝุ่นท่ีอย่บู นเครื่อง โดยใช้แปรงทาสีที่มีชนอ่อน หรือเคร่ือง เปา่ ฝุน่ เคร่ืองเปา่ ลมไลฝ่ ุน่ ออกจากเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ 8. ควรติดต้ังเคร่ืองสารองไฟและปรับแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติ (UPC : Uninterruptable Power Supply) 9. ตรวจเช็คความเรียบร้อยภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ตรวจพัดลมระบบ ความรอ้ นและสายไฟทอ่ี ยูภ่ ายในว่าอยู่ในสภาพดีใชง้ านได้ 10. วางคอมพิวเตอร์ให้ห่างจากกาแพง หรือมีชอ่ งว่างด้านหลังประมาณ 1 ฟตุ 11. ตรวจไวรัสและแสกนไวรสั สม่าเสมอ 12. ลบโปรแกรมทไ่ี มไ่ ดใ้ ช้งาน ตลอดจนโฟลเดอรแ์ ละไฟลท์ ไี่ ม่ได้ใช้งานแล้ว 13. ศึกษาวิธกี ารใช้งานทถี่ กู ตอ้ ง 14. การจัดเรยี งข้อมลู บนฮาร์ดดิสก์
1. การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ ทางดา้ น Hardware (ฮาร์ดแวร์) อปุ กรณต์ า่ งๆ ภายใน และภายนอกคอมพวิ เตอร์ เร่อื งความสะอาด เปน็ ส่ิงจาเป็นมากสาหรับ การดแู ลรกั ษา คอมพิวเตอร์ ยกตัวอย่าง หากไมท่ าความสะอาดเลยจนมฝี ุน่ ไปตดิ ตามที่ระบายอากาศของคอมพวิ เตอร์ จะทาใหก้ ารระบายความรอ้ นไม่ได้ เปน็ สาเหตใุ ห้คอมพิวเตอร์ร้อน และเกดิ อาการเคร่อื งค้าง หรอื แฮงค์ หรอื จะเป็นเร่ืองปุ่มคยี ์บอร์ด หากไมท่ าความสะอาดเลยเป็นสปั ดาห์ หรอื เป็นเดอื น บรเิ วณปุ่มกดจะสกปรก มาก ๆ ซึง่ เมืองนอกวจิ ัยกนั มาแลว้ วา่ สกปรกพอๆกบั ห้องน้า ซ่ึงเป็นอนั ตรายต่อสขุ ภาพแน่นอน ท่ตี ัง้ ของ คอมพวิ เตอร์ ท่เี ราไปวางไวเ้ ปน็ มมุ อบั การระบายความรอ้ นจะไมด่ เี ท่าทค่ี วร แนะนา อยา่ วางใกลช้ ิดตดิ กาแพง หรอื ไปวางในมุมอบั ควรเป็นมมุ ท่ีมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก จะดที ส่ี ดุ ถา้ ไม่มีมุมท่ีตัง้ จริงๆ กเ็ อา พดั ลมเป่าชว่ ยกไ็ ด้ 2. การดแู ลรกั ษาคอมพิวเตอร์ ทางด้าน Software (ซอฟต์แวร์) โปรแกรมทีใ่ ชก้ บั เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ เร่อื งการดูแลรักษา Software มโี อกาสเจอได้หลายรปู แบบ มีข้อระมดั ระวัง คือ การลงโปรแกรม ลงเฉพาะท่ีเราใช้ การลงโปรแกรมมากไปจะทาใหเ้ ครื่องอดื หรือช้า จนถงึ อาการท่ี เรียกวา่ แฮงค์ การเก็บข้อมลู ข้อมูล เอกสาร ไฟลต์ า่ งๆ ทเี่ ราจะเก็บไว้ แนะนาอยา่ ไปเก็บใน Drive C: ควรเก็บไว้ Drive อน่ื แทน ส่วนมาก Drive C ควรลงเฉพาะโปรแกรม ไม่ควรเกบ็ ไฟล์งานที่สาคญั หรอื พวกหนงั เพลงเอาไว้ เนือ่ งจากสว่ นมากเวลามีปญั หาจะเกดิ กบั Drive C เปน็ หลัก อกี อย่างเมอ่ื ตอ้ งการลา้ งเครือ่ งลงโปรแกรมใหม่ กส็ ามารถลบ Drive C แล้วลงใหมไ่ ด้ Windows หรือ ระบบปฏิบตั กิ ารใหม่ได้เลย ไมจ่ าเป็นตอ้ งเสียเวลาย้ายข้อมลู ไปไว้ Drive อน่ื วิธีการดแู ลรกั ษาคอมพวิ เตอรง์ า่ ยๆ 10 วิธดี ังนี้ 1. ทาความสะอาดคอมพิวเตอร์บ้าง เร่ิมจากการถอดปล๊กั ไฟก่อน และทาความสะอาดโดย ใช้ผา้ สะอาดชบุ นา้ เปล่า หรอื นา้ ยาทาความสะอาดคอมพิวเตอร์ เชด็ สว่ นตา่ งๆทเ่ี ปน็ ตัวเคร่อื ง 2. เปา่ ฝนุ่ หรอื กาจดั ฝ่นุ ทีอ่ ยู่บนตวั เครอื่ ง 3. จัดการไฟลท์ ีไ่ ม่ได้ใชแ้ ล้วหรอื ไมส่ าคญั ไฟล์ตา่ งๆท่ีเราดาวน์โหลดมาหรือเก็บไว้ใน เครอื่ งคอมพวิ เตอร์หากไมไ่ ด้ใชง้ านแล้ว หรอื ไมส่ าคัญก็ควรลบทง้ิ จากเครื่องคอมพิวเตอร์ 4. กาจดั และสแกนไวรสั ในคอมพิวเตอร์ 5. ลบโปรแกรมที่ไมไ่ ด้ใช้งานทิง้
Search
Read the Text Version
- 1 - 3
Pages: