Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รุ่งอรุณที่สุขะโต ผู้แต่ง : พระไพศาล วิสาโล จัดทำ E-BOOK : ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี

รุ่งอรุณที่สุขะโต ผู้แต่ง : พระไพศาล วิสาโล จัดทำ E-BOOK : ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี

Published by 200bookchonlibrary, 2021-01-14 07:21:29

Description: รุ่งอรุณที่สุขะโต

Search

Read the Text Version

แด่คณะสงฆ์ แม่ช ี อุบาสก อุบาสกิ า แหง่ วัดป่าสุคะโตและวดั ป่ามหาวนั สำ�หรบั ความเอ้ือเฟ้ือเกอ้ื กลู ตลอดสองทศวรรษทผี่ ่านมา

รุ่งอรณุ ทส่ี คุ ะโต พระไพศาล วสิ าโล ชมรมกัลยาณธรรม หนงั สอื ดลี �ำดบั ที่ ๒๓๑ พมิ พค์ รง้ั ท ่ี ๑ มิถนุ ายน ๒๕๕๖  จำ� นวนพมิ พ์ ๗,๐๐๐ เล่ม จดั พมิ พ์โดย  ชมรมกัลยาณธรรม ๑๐๐ ถนนประโคนชยั  ตำ� บลปากนำ�้  อำ� เภอเมอื ง  จงั หวดั สมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศพั ท ์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔ ออกแบบปก / รปู เลม่  / ภาพประกอบ สวุ ด ี ผอ่ งโสภา   รว่ มดว้ ยชว่ ยแจม คนขา้ งหลงั พสิ จู นอ์ กั ษร ทมี งานกลั ยาณธรรม เพลต บรษิ ทั นครแผน่ พมิ พ ์ จำ� กดั  โทร. ๐-๒๔๓๘-๘๔๐๘  พิมพ์ท่ ี บรษิ ัทสำ� นกั พมิ พ์สภุ า จ�ำกดั  โทร. ๐-๒๔๓๕-๘๕๓๐ สพั พทานงั  ธมั มทานัง ชินาติ การใหธ้ รรมะเป็นทาน ย่อมชนะการให้ท้ังปวง www.visalo.org www.kanlayanatam.com

สารบญั ทางสายกลางและสมดุลแหง่ ชวี ิต ๙ อยา่ หลงเชือ่ ความคดิ ง่ายๆ ๒๕ เท่าทันความคดิ  ๓๙ ธรรมะทุกหย่อมหญ้า ๕๗ ทกุ ขแ์ ก้ท่ีใจ ๖๗ ชำ�ระใจ ๘๕ ทกุ ขพ์ าใหพ้ ้นทกุ ข ์ ๑๐๕ ไปพน้ จากการแบง่ แยก ๑๒๕ คณุ คา่ แหง่ ปัจจุบนั  ๑๓๙ คนื ความปกตใิ หแ้ ก่จิตใจ ๑๕๕

คำ�ปรารภ รงุ่ อรณุ ทส่ี คุ ะโต พมิ พค์ รงั้ แรกเมอ่ื ป ี ๒๕๔๖ เพอื่ แจกเปน็ ธรรมทาน ในงานทอดผา้ ปา่ ของคณะครแู ละผปู้ กครองโรงเรยี นรงุ่ อรณุ  ณ วดั ปา่ สคุ ะโต หลังจากน้ันไม่นานได้มีการตีพิมพ์ซ�้ำอีกครั้ง  แล้วก็ขาดช่วงไป  บัดนี้ คณุ หมออจั ฉรา กลน่ิ สวุ รรณ ์ ประธานชมรมกลั ยาณธรรม แจง้ ความประสงค์ ขอพมิ พ์ซำ้�  ข้าพเจ้าอนุญาตด้วยความเตม็ ใจ หนงั สอื เลม่ นมี้ ที มี่ าจากคำ� บรรยายรบั อรณุ หลงั จากทำ� วตั รเชา้ ในชว่ ง เขา้ พรรษาป ี ๒๕๔๕ หลายบทเปน็ คำ� บรรยายใหแ้ กค่ ณะครแู ละผปู้ กครอง โรงเรียนรุ่งอรุณ  จึงให้ช่ือว่า  รุ่งอรุณท่ีสุคะโต  มองให้กว้างออกไป  ค�ำว่า “รงุ่ อรณุ ” ยงั มคี วามหมายงดงามในทางธรรม บง่ บอกถงึ สภาวะหรอื ปจั จยั 4 รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต

ทก่ี ่อให้เกิดความสว่างไสวทางปัญญา ดังพระพุทธองค์ได้ตรัสว่า โยนิโส- มนสิการ  และกัลยาณมิตร  เป็นบุพนิมิตหรือรุ่งอรุณแห่งวิถีชีวิตท่ีดีงาม อนั ไดแ้ กอ่ รยิ มรรคอนั มสี มั มาทฏิ ฐเิ ปน็ ตวั นำ�  ดงั นน้ั บคุ คลทหี่ วงั ชวี ติ ทดี่ งี าม จึงพึงให้ความส�ำคญั แก่ โยนิโสมนสกิ าร และกัลยาณมติ ร  ทค่ี วรกลา่ วถงึ ในทนี่ ก้ี ค็ อื  รงุ่ อรณุ ทส่ี คุ ะโต เปน็ หนงั สอื รวมคำ� บรรยาย เลม่ แรกของขา้ พเจา้  กอ่ นทจ่ี ะมตี ามมาอกี หลายเลม่ ในชว่ งสบิ ปที ผ่ี า่ นมา ส�ำหรับผู้ที่คุ้นเคยกับงานเขียนหรือค�ำบรรยายของข้าพเจ้า  หนังสือเล่มน้ี คงไมม่ อี ะไรใหม ่ แตก่ ห็ วงั วา่ จะเปน็ กลั ยาณมติ รหรอื ชว่ ยเสรมิ สรา้ งโยนโิ ส- มนสิการแก่ผู้อ่านบ้างตามสมควร ในการจัดพิมพ์ครั้งใหม่นี้  ชมรมกัลยาณธรรมได้จัดท�ำรูปเล่มอย่าง สวยงามน่าอ่าน  จึงขอขอบคุณมา  ณ  ที่นี้  พร้อมกันนั้นก็ขออนุโมทนา คุณหมออัจฉรา  กลิ่นสุวรรณ์  และชาวชมรมกัลยาณธรรมท่ีบ�ำเพ็ญธรรม ทานมาอย่างต่อเน่ือง  นับว่าเป็นก�ำลังส�ำคัญในการส่งเสริมสัมมาทัศนะ และสมั มาปฏิบตั ิตลอดหลายปีทผ่ี ่านมา  ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๖ พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 5

คำ�นำ� ของชมรมกัลยาณธรรม ขา้ พเจา้ เคยพาเพอื่ นๆ กลมุ่ เลก็ ไปพกั แรมปฏบิ ตั ภิ าวนาทว่ี ดั ปา่ มหาวนั หรอื  ภหู ลง ดว้ ยความเมตตาของพระอาจารยไ์ พศาล วสิ าโล ทสี่ ละเวลาอนั มคี า่ ยงิ่ ของทา่ น มาดแู ลแนะนำ� กรรมฐานแกพ่ วกเรา กอ่ นรถจะไปถงึ ภหู ลง เราตอ้ งผา่ นวดั ปา่ สคุ ะโต ไดแ้ วะไปพกั รถ และเดมิ ชมธรรมชาตเิ ลน่  ทราบวา่ ที่น่ีคือสถาบันสติปัฏฐาน  ๔  ในแนวเจริญสติแบบเคลื่อนไหวของหลวงพ่อ เทียน  จิตฺตสุโภ  ที่มีญาติโยมแวะเวียนมาเก็บตัว  ปลีกวิเวก  เพื่ออบรม จิตตภาวนาไม่ขาดสาย  ทั้งมีโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนทุกปี ทส่ี ำ� คญั คอื  นคี่ อื สถานทจี่ ำ� พรรษาของหลวงพอ่ คำ� เขยี น สวุ ณโฺ ณ พระปยิ า- จารย์ที่เคารพยิ่งของพระอาจารย์ไพศาล  วิสาโล  โดยพระอาจารย์ไพศาล ท่านจะจำ� พรรษาท้งั ที่วัดป่ามหาวนั และวัดปา่ สคุ ะโตสลบั กันทกุ ปี เม่ือทราบท่ีมาของ  รุ่งอรุณที่สุคะโต  ก็ขออนุโมทนาย้อนหลังแก่ คณะครูโรงเรียนรุ่งอรุณ  ท่ีมีโอกาสมาเก็บตัวภาวนาที่วัดป่าสุคะโตนี้  โดย พระอาจารยไ์ พศาล วสิ าโล ไดเ้ มตตาดแู ลแนะน�ำการปฏบิ ตั ภิ าวนา ทง้ั ไดฟ้ งั ธรรมเทศนาจากพระอาจารยท์ กุ คำ่� เชา้  เปน็ ทมี่ าของหนงั สอื ทอี่ า่ นสนกุ เลม่ น้ี ในมติ แิ หง่ ธรรมกน็ บั วา่ เปน็ ชอื่ เรอื่ งทไ่ี พเราะ มคี วามหมายด ี เปน็ ศริ มิ งคลยง่ิ 6 รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต

ในการพบธรรมอันประเสริฐ ซ่ึงแต่ละเรื่องในเล่ม มีความงดงามด้วยอรรถ สาระธรรม และรสแหง่ ภาษาที่อ่านสนุก กระชบั  แนะแนวการปฏิบัติพรอ้ ม ช้ีชวนช่ืนชมธรรมชาติการอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ  ป่าเขา  แมกไม้  สายน้�ำ และสรรพสัตว์ต่างๆ  ท�ำให้พระอาจารย์ส่ือธรรมออกมาจากธรรมชาติใน หลากหลายฉากหลายตอน  ท่ีอ่านแล้วมองเห็นภาพและได้ยินเสียง  นึก ย้อนรอยกลับไปถึงบรรยากาศอันสงบ  วิเวก  สัปปายะ  ในคร้ังนั้นได้ไม่ยาก พระอาจารยม์ คี วามสนุ ทรยี ใ์ นการเลอื กสรรถอ้ ยค�ำและจนิ ตนาการ สามารถ หยิบฉวยธรรมชาติสารพันรอบตัวเรามาเป็นครูสอนธรรมเป็นขั้นเป็นตอน ชวนประทบั ใจย่งิ กราบขอบพระคุณพระอาจารย์ไพศาล  วิสาโล  ท่ีเมตตาอนุญาตให้ ชมรมกัลยาณธรรมได้จัดพิมพ์หนังสือธรรมอมตะ  รุ่งอรุณท่ีสุคะโต เพื่อ แจกเป็นธรรมทานแก่สาธุชน  เพื่อเป็นแนวทางการภาวนา  เพิ่มพูนศรัทธา ในสมั มาปฏบิ ตั  ิ หากบญุ กศุ ลใดบงั เกดิ ม ี พวกเราขอนอ้ มถวายเปน็ พทุ ธบชู า และน้อมบูชาอาจริยคุณแด่พระอาจารย์ไพศาล  วิสาโล  ในมงคลวาระ  ๓ ทศวรรษแห่งการครองสมณเพศ  และหวังว่าผู้อ่านทุกท่านจะรื่นเริงในธรรม และดื่มดำ�่ ธรรมชาติที่งดงามท่วั กัน กราบขอบพระคุณและอนโุ มนาบญุ ยิ่ง ทพญ.อจั ฉรา กลิน่ สุวรรณ์ ประธานชมรมกลั ยาณธรรม พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 7



รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต ทางสายกลางและสมดุลแหง่ ชีวิต บรรยายวนั ที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๕ “ทางสายกลาง”  เป็นค�ำท่ีคนไทยคุ้นเคยเป็นอย่างดี  แต่ขณะเดียวกันก็ เป็นค�ำที่คนไทยเข้าใจผิดกันมาก  บางคนเข้าใจว่าทางสายกลางคือทางที่ อยู่ตรงกลางระหว่างดีกับช่ัว  ถ้าเข้าใจอย่างนี้ก็กลายเป็นว่าทางสายกลาง หมายถงึ กง่ึ ดบิ กง่ึ ด ี หรอื วา่ กงึ่ สกุ กง่ึ ดบิ  นนั่ ไมใ่ ชค่ วามหมายทแี่ ทข้ องทาง สายกลาง แตผ่ คู้ นกม็ กั เขา้ ใจกนั อยา่ งนนั้  เชน่  ชอบพดู วา่  “ใหอ้ ยใู่ นทาง สายกลางหน่อย  อย่าขยันมากไป  อย่างเคร่งมากไป  อย่าท�ำดีมากไป” เดย๋ี วนที้ างสายกลางเปน็ ขอ้ อา้ งส�ำหรบั คนทย่ี อ่ หยอ่ นในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ นนั่ ไม่ใช่ทางสายกลางในพุทธศาสนา ทางสายกลางในพทุ ธศาสนานน้ั  อยตู่ รงกลางระหวา่ งความไมด่  ี ๒ ขว้ั หรอื ระหวา่ งความสดุ โตง่  ๒ ทาง ทางซา้ ยกไ็ มน่ า่ เอา ทางขวากไ็ มน่ า่ เอา มันแย่ท้ังคู่  ทางท่ีถูกต้อง  ไม่เอียงไปทางสุดโต่งท้ัง  ๒  นั่นแหละเรียกว่า ทางสายกลาง  ทางสุดโต่ง  ๒  ทางอย่างแรกที่พระพุทธองค์เตือนให้เรา ระวงั ก็คือ อตั ตกิลมถานโุ ยค และ กามสุขลั ลิกานโุ ยค พ รพะรไะพไ ศพาศลา ลว ิ สวิ าสโาลโ ล 9

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต อัตตกิลมถานุโยค  คือ  การบีบค้ันทรมานตนเอง  หรือการหมกมุ่น ในความทุกข์และในการท�ำตนให้ล�ำบาก  ส่วนกามสุขัลลิกานุโยค  ได้แก่ การหมกมุ่นในความสุขทางกาม  กามในท่ีน้ีไม่ได้หมายถึงเรื่องทางเพศ เท่านั้น  แต่หมายถึงส่ิงท่ีน่าใคร่น่าปรารถนา  ทั้ง  ๒  ทางเป็นทางสุดโต่ง เพราะนอกจากจะไม่ทำ� ให้พน้ ทุกข์แล้ว ยังกลับท�ำให้เปน็ ทกุ ข์มากขึน้ มรรคม์ อี งค ์ ๘ หรอื ขอ้ ปฏบิ ตั ทิ เ่ี รมิ่ จากสมั มาทฏิ ฐไิ ปจนถงึ สมั มาสติ พระพุทธองค์ตรัสว่าเป็นทางสายกลางก็เพราะเป็นทางที่น�ำไปสู่ความ พ้นทุกข์อย่างแท้จริง  เป็นทางที่ถูกต้องตรงจุดมุ่งหมายหรือตรงเป้า  ถ้า เบี่ยงเบนไปจากนั้นไม่ว่าไปทางซ้ายหรือขวาก็ไม่ถึงจุดหมาย  เบี่ยงเบน ไปจากเป้า  เปรียบดังการยิงธนู  จุดท่ีเป็นเป้านั้นคือทางสายกลางมีเพียง จุดเดยี ว ถ้าผดิ ไปจากจุดน้ันกไ็ ม่ใชท่ างสายกลาง ทางสายกลางจงึ หมายถงึ  ทางทถ่ี กู ตอ้ ง ทางทนี่ �ำไปสจู่ ดุ หมายตาม ท่ีต้องการ  ท�ำให้ส�ำเร็จประโยชน์ได้ครบถ้วน  จะสังเกตว่าทางสายกลางนี้ เป็นค�ำท่ีมีนัยยะเกย่ี วขอ้ งกับจดุ มุ่งหมาย คือถ้าตรงกับจุดหมายกเ็ รยี กว่า ทางสายกลาง  ถ้าพาเข้ารกเข้าพง  ไม่ตรงจุดหมาย  ก็ไม่เรียกว่าทางสาย กลาง  ทีน้ีถ้าเราต้องการพูดถึงการท�ำอะไรไม่ให้มากเกินไป  ไม่ให้น้อย เกินไป  เช่น  ท�ำงานอย่าให้ตึงเกินไปและไม่หย่อนเกินไป  หรือเวลาเรียน 1 0 ท า ง ส า ย ก ล า ง แ ล ะ ส ม ด ุ ล แ ห ่ ง ช ี วิ ต

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต หนงั สอื อยา่ ขเ้ี กยี จ แตก่ อ็ ยา่ หกั โหม ในทางพทุ ธศาสนาเราไมเ่ รยี กอยา่ งนี้ วา่ ทางสายกลาง แตใ่ ชค้ ำ� วา่  “วริ ยิ สมตา” หมายถงึ การมคี วามเพยี รอยา่ ง พอเหมาะพอด ี สรปุ ทางสายกลาง คอื ทางทถ่ี กู ตอ้ ง ถา้ อะไรไมม่ ากไมน่ อ้ ย ก็ตอ้ งใช้คำ� อ่นื  เชน่  ความพอดี หรือวิรยิ สมตา ทางสายกลางอันได้แก่มรรคมีองค์  ๘  นั้นเป็นทาง สายกลางในระดับวิถีชีวิต  แต่ก็ยังมีทางสายกลางอีกระดับ หนึ่งซ่ึงละเอียดกว่า  ได้แก่  ทางสายกลางในระดับจิตใจ ทางสายกลางประเภทนไ้ี มค่ อ่ ยมคี นพดู ถงึ เทา่ ไหร ่ สว่ นใหญ่ มกั จะพูดถึง ทางสายกลางท่อี ยรู่ ะหวา่ งทางสุดโตง่  ๒ ทาง ท่ีเพิ่งกล่าวมา  คือการหมกมุ่นในกามสุข  กับการบีบคั้น ทรมานตน นี่เปน็ ทางสดุ โต่งในระดบั วถิ ีชวี ิต ทางสดุ โตง่ ในระดบั จติ ใจกม็ อี ย ู่ ไดแ้ ก ่ ยนิ ดกี บั ยนิ รา้ ย ยนิ ด ี หมายถงึ วา่  เวลาประสบสงิ่ นา่ ใครน่ า่ พอใจไดร้ บั ความสขุ  กค็ ลอเคลยี เพลดิ เพลนิ กบั ความสขุ นนั้  สว่ นยนิ รา้ ย กค็ อื  เวลาเจอสง่ิ ทไ่ี มน่ า่ พงึ พอใจหรอื พลดั พราก สง่ิ ทพี่ งึ ปรารถนาเกดิ ความทกุ ขข์ นึ้ มา กไ็ ปจอ่ มจมจกุ เจา่ กบั ความทกุ ขน์ น้ั นเี่ ปน็ ทางสดุ โตง่ ในระดบั จติ ใจ สว่ นใหญช่ าวพทุ ธเราคนุ้ เคยกบั ทางสดุ โตง่ ในแงข่ องวถิ ีชวี ติ  จนเขา้ ใจวา่ ทางสุดโต่งนน้ั หมายถงึ เพยี งแคก่ ารหมกมนุ่ พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 11

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต สยบอยู่ในกามสุข  กับการบีบค้ันทรมานตนเท่านั้น  พอเข้าใจแบบน้ีก็เลย คิดว่า  ฉันไม่เคยเกี่ยวข้องกับทางสุดโต่งเลย  เพราะฉันไม่เคยหมกมุ่นกับ การเทยี่ วผบั เทย่ี วบารห์ รอื เมาหวั รานำ้� จนไมเ่ ปน็ อนั ทำ� งาน อกี ทงั้ ฉนั ไมเ่ คย นอนตะปหู รอื อดอาหารจนกระทง่ั ผา่ ยผอม เราอาจไมเ่ คยขอ้ งแวะกบั ทาง สดุ โตง่ ในระดบั วถิ ชี วี ติ กจ็ รงิ  แตพ่ อพดู ถงึ ทางสดุ โตง่ ในระดบั จติ ใจเราทกุ คน เจอมาทั้งนั้น  ทางสุดโต่งระดับจิตใจก็คือการเพลิดเพลินในอารมณ์ท่ี ปรารถนา กบั การหมกจติ หมกใจในอารมณท์ ไ่ี มพ่ งึ ปรารถนา เรยี กงา่ ยๆ วา่ ยนิ ดีกับยินรา้ ย คนเราพอเจอส่ิงน่ายินดี  ก็เคลิบเคล้ิมด่ืมด�่ำในสุขเวทนาท่ีเกิดข้ึน สิ่งที่ตามมาก็คือ  อยากยึดอยากฉวยเอาไว้ไม่ให้ห่างหาย  แต่ถ้าประสบ สง่ิ ไมน่ า่ ยนิ ดกี เ็ กดิ ขดั เคอื งใจอยากผลกั ไสสง่ิ นนั้ ออกไป นกี่ เ็ ปน็ ทางสดุ โตง่ อกี อยา่ งหนง่ึ  เปน็ ปฏกิ ริ ยิ าในทางสดุ โตง่ ของจติ ทต่ี อ้ งเลยี่ ง เพราะวา่ มนั น�ำ ไปสคู่ วามทกุ ข ์ ท�ำใหเ้ ราวนเวยี นอยใู่ นวฏั จกั รของ ความทกุ ข ์ อยใู่ นสงั สารวฏั  เกดิ ภพชาตไิ มจ่ บสน้ิ เพราะการยินดียนิ ร้ายยอ่ มน�ำไปสกู่ ารปรุงแต่งให้ เกิดตัณหา  เป็นอุปาทาน  แล้วต่อเป็นภพ  ชาติ ชรา มรณะ และความทุกข ์ เป็นวฏั จกั รไมส่ ้นิ สดุ 1 2 ท า ง ส า ย ก ล า ง แ ล ะ ส ม ด ุ ล แ ห ่ ง ช ี วิ ต

รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต ถา้ เราเขา้ ใจทางสดุ โตง่ ในระดบั จติ ใจอยา่ งทว่ี า่ มา เรากจ็ ะเหน็ เลยวา่ สติน้ันมีความส�ำคัญมาก  สติเป็นตัวเหนี่ยวรั้งเรา  ไม่ให้ไปข้องแวะอยู่กับ ทางสุดโต่งท้ัง  ๒  ทาง  ท�ำให้เรารักษาจิตรักษาใจให้อยู่บนทางสายกลาง ไว้ได้ ท�ำให้จิตเปน็ ปกตแิ ละกา้ วหน้าบนเสน้ ทางแหง่ อริยมรรคได้ อริยมรรคมีองค์  ๘  จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเม่ือมีสติมาคอยก�ำกับวิถีชีวิต ทำ� ใหว้ ถิ ชี วี ติ อยใู่ นเสน้ ทางแหง่ ความดงี าม ชวี ติ ทดี่ งี าม คอื  คำ� จำ� กดั ความ อย่างสั้นๆ  ของค�ำว่า  อริยมรรคมีองค์  ๘  ลองพิจารณาดูจะพบว่าสัมมา ทั้ง  ๘  น้ัน  ล้วนเป็นคุณลักษณะของชีวิตที่ดีงาม  ถ้าปฏิบัติสัมมาทั้ง  ๘ ครบก็บังเกิดผลคอื ชีวติ ที่ดีงาม สติเป็นตัวก�ำกับให้เราไม่ไปข้องแวะอยู่กับทางสุดโต่ง  ๒  ทาง  เริ่ม ตั้งแต่ระดบั จิตใจจนถึงระดับวิถีชวี ติ ในระดบั จติ ใจ สตทิ ำ� หนา้ ทร่ี กั ษาจติ ไมใ่ หเ้ ผลอไปกบั อารมณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ อารมณ์เหล่าน้ีไม่ว่าความลิงโลดดีใจ  ความเศร้าโศกเสียใจ  เวลาเกิดขึ้น แล้วท�ำให้จิตใจเสียสมดุลเคล่ือนจากความเป็นปกติ  สติที่รวดเร็วฉับไว จะเตือนเราให้รู้เท่าทันอารมณ์เหล่านั้น  และดึงจิตใจให้หลุดจากอารมณ์ ดังกล่าวกลับคืนสู่ความปกติ  สติยังช่วยเหน่ียวร้ังให้จิตเป็นผู้ดูผู้เห็น พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 13

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต อารมณ์  ไม่เข้าไปผลักไสอารมณ์ท่ีไม่พึงปรารถนา  หรือเข้าไปคลุกเคล้า คลอเคลียอารมณ์ท่ีน่าพึงพอใจ  น่ีเป็นผลในระดับจิตใจ  ในระดับชีวิต  สติ ช่วยให้เราไม่เผลอไปสู่มิจฉานานาชนิด  โดยเฉพาะมิจฉาในทางวาจา อาชวี ะ และกมั มนั ตะหรอื การกระทำ�  รวมทง้ั ทำ� ใหค้ วามเพยี รหรอื วายามะ เปน็ ไปในทางทถี่ กู ตอ้ ง ไมใ่ ชเ่ พยี รในทางสนองกเิ ลสหรอื หาสงิ่ ปรนเปรอตน ซงึ่ เปน็ กามสขุ ลั ลกิ านโุ ยคอกี แบบหนงึ่ นอกจากทางสายกลางแล้ว  สติยังช่วยให้เราเกิดความสมดุลหรือ ความพอเหมาะพอดี  ความสมดุลในที่นี้ไม่ได้หมายถึงตรงกลางระหว่าง สิ่งดีกับสิ่งไม่ดี  แต่หมายถึงความพอดีระหว่างความดี  ๒  ประเภท  หรือ ความดีท่ีเป็นคู่ๆ  ที่บอกว่าความดีเป็นคู่ๆ  น้ีก็เพราะว่า  หากเราสังเกตจะ พบว่ามีคุณธรรมเป็นอันมากท่ีจับกันเป็นคู่ๆ  คือ  มีลักษณะเด่นกันคนละ แบบ และกม็ คี วามสำ� คญั ตอ่ ชวี ติ จติ ใจทงั้ ค ู่ ความดที เี่ ปน็ คๆู่  นจ้ี ะเหน็ ไดช้ ดั ในหลกั ธรรมหมวดอนิ ทรยี  ์ ๕ หลกั ธรรมหมวดนย้ี งั ชใี้ หเ้ หน็ ถงึ ความสำ� คญั ของสติ ในฐานะธรรมทท่ี �ำให้เกดิ ความสมดุลระหวา่ งความดี ๒ ประเภท อนิ ทรยี  ์ ๕ นนั้  ประกอบดว้ ยธรรมทจี่ บั กนั เปน็ คๆู่  รวม ๒ ค ู่ คแู่ รก คอื  ศรทั ธากบั ปญั ญา ศรทั ธากบั ปญั ญานน้ั ดที ง้ั ค ู่ แตถ่ า้ ศรทั ธามากเกนิ ไป กอ็ าจทำ� ใหง้ มงายได ้ ถา้ ศรทั ธาในสงิ่ ทด่ี กี แ็ ลว้ ไป แตถ่ า้ ศรทั ธาในสง่ิ ทไี่ มด่ ี 1 4 ท า ง ส า ย ก ล า ง แ ล ะ ส ม ด ุ ล แ ห ่ ง ช ี วิ ต

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ก็ท�ำให้ชีวิตตกต�่ำได้  เช่น  ศรัทธาคนผิด  ศรัทธาเงิน  หรือศรัทธาลัทธิพิธี ทพ่ี าคนไปผดิ ทาง เชน่ ลทั ธทิ ค่ี า้ บญุ กศุ ล หรอื ลทั ธทิ น่ี ยิ มเอาคนมาบชู ายญั อย่างในอินเดียยังมีคนเป็นอันมากศรัทธาลัทธิเจ้าแม่กาลี  ท่ีต้องบูชายัญ ด้วยหญิงบริสุทธ์ิ  เป็นต้น  ศรัทธานั้นน�ำไปสู่ความหลงเชื่องมงายได้หาก ขาดปัญญา  ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องมีปัญญามาเป็นฐานให้แก่ศรัทธา  เพ่ือ ให้เกิดศรัทธาท่ีถูกต้อง  ในท�ำนองเดียวกัน  ถ้ามีปัญญาแก่กล้าแต่ ออ่ นศรทั ธากอ็ าจกลายเปน็ คนดอื้ อหงั การ ไมเ่ ปดิ ใจรบั ฟงั คนอนื่  อาจ ท�ำให้พลาดโอกาสที่จะได้รับรู้สิ่งดีงามจากคนอ่ืนได้  เช่น  กามนิต กามนิตเป็นคนท่ีมีปัญญาแต่ขาดศรัทธา  เจอพระพุทธเจ้าแล้ว กย็ งั ไมร่ จู้ กั  ไมม่ ศี รทั ธาในพระพทุ ธเจา้  จงึ ไมฟ่ งั พระองค์ ทง้ั ๆ ทตี่ ามหาพระพทุ ธเจา้  แตไ่ มร่ วู้ า่ คนทตี่ นคยุ ดว้ ยคอื พระพุทธเจ้า  ก็เลยพลาดโอกาสท่ีจะได้รับสิ่งที่ดีงามจาก พระองค์ นี้เป็นโทษของการมปี ญั ญาแตอ่ ่อนศรัทธา ความดหี รอื ธรรมอกี คไู่ ดแ้ ก ่ วริ ยิ ะกบั สมาธิ ถา้ มวี ริ ยิ ะหรอื ความขยนั มากไปกฟ็ งุ้ ซา่ นจนนอนไมห่ ลบั กม็  ี คนทขี่ ยนั มากๆ อยู่ เฉยๆ  ไม่ได้  ถ้าไม่ท�ำอะไรก็ต้องน่ังคิดวางแผนจะท�ำโน่นท�ำน่ี  กินก็คิด เดินก็คิด  อาบน้�ำก็คิด  ขนาดนั่งสมาธิเดินจงกรมยังคิดอีก  คิดวางแผน ทอดกฐินทอดผ้าป่าบ้าง  คิดไปสอนคนโน้นคนนี้บ้าง  ผลก็คือจิตฟุ้งซ่าน พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 15

รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต นเี่ ปน็ โทษของการมวี ริ ยิ ะมากแตข่ าดสมาธ ิ แตใ่ นอกี ดา้ นหนง่ึ  ถา้ มสี มาธิ มากแต่วิริยะอ่อน  ก็ท�ำให้เป็นคนเฉื่อยชาซึมเซาได้  บ่อยครั้งก็ไม่อยาก ท�ำอะไร  เพราะกลัวจิตจะเสียสมาธิไป  ไปๆ  มาๆ  ก็อาจกลายเป็นคน ไม่รับผิดชอบตอ่ ครอบครัวหรอื ชุมชน จะเห็นได้ว่าธรรมะน้ันแม้จะเป็นส่ิงดี แต่ก็จำ� เป็นต้องรู้จักปฏิบัติให้ สมดุล  พอเหมาะพอดี  ไม่หนักไปด้านใดด้านหนึ่ง  สิ่งท่ีจะช่วยให้ธรรมะ แตล่ ะคมู่ คี วามสมดลุ กนั กค็ อื  สต ิ จะสงั เกตวา่ ในหมวดอนิ ทรยี  ์ ๕ พระพทุ ธ- องค์ให้สติอยู่เด่ียวๆ  ไม่ไปจับคู่กับใคร  พระพุทธองค์ให้สติมาอยู่ในธรรม หมวดนกี้ เ็ พอื่ ใหส้ ตมิ าสรา้ งสมดลุ  ระหวา่ งศรทั ธากบั ปญั ญา และวริ ยิ ะกบั สมาธ ิ สตมิ คี วามสำ� คญั สำ� หรบั ธรรมหมวดน ี้ กเ็ พราะสติ เป็นตัวปรับสมดุลโดยเฉพาะ  ท�ำให้เกิดปกติและความ พอดิบพอดีในทางธรรม ในจิตใจและในวถิ ีชวี ติ มาถงึ ตรงน้จี ะเห็นได้วา่ นอกจากทางสาย กลาง  ซึ่งเราควรรู้จักและท�ำให้ได้แล้ว  ยังมี สภาวะกลางๆ  ท่ีเรียกว่าความสมดุลหรือ ความพอเหมาะพอด ี แตไ่ มใ่ ชส่ ภาวะกลางๆ ระหวา่ งความไมด่  ี ๒ อยา่ ง หรอื ระหวา่ งความดี 1 6 ท า ง ส า ย ก ล า ง แ ล ะ ส ม ด ุ ล แ ห ่ ง ช ี วิ ต

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต กับความไม่ดี  แต่เป็นสภาวะกลางๆ  หรือความสมดุลระหว่างความดีที่ เป็นคู่ๆ  อันน้ีต้องแยกแยะให้ดีว่าไม่ใช่ทางสายกลางและไม่ใช่ความกึ่งดิบ ก่งึ ดี แตเ่ ป็นความสมดลุ ทเี่ ราควรท�ำให้ได้ ในชีวิตของเราถ้าสังเกตจะพบว่ามีความดีงามที่เป็นคู่ๆ  อยู่หลายคู่ แต่ละคู่น้ันเป็นสิ่งดีงามที่เราไม่อาจละเลยหรือปฏิเสธได้  ยกตัวอย่างเช่น ประโยชน์ตนกับประโยชน์ท่าน  ถามว่าประโยชน์ตน  เราสามารถปฏิเสธ ได้ไหม  ประโยชน์ตนไม่ใช่หมายถึงการเห็นแก่ตัว  แต่หมายถึงส่ิงที่ท�ำให้ ชีวิตดีงามเจริญก้าวหน้า  เช่น  สุขภาพ  ความสุข  รวมท้ังความ สะดวกสบาย เราไมส่ ามารถปฏเิ สธประโยชนต์ นได ้ สว่ นประโยชน์ ท่านก็เช่นกัน  ท้ังประโยชน์ตนและประโยชน์ท่านล้วนเป็นส่ิงดี แต่ถ้าเอาประโยชน์ตนอย่างเดียวก็ไม่ดี  อาจกลายเป็นคน เห็นแก่ตัวไป  ท�ำแต่ประโยชน์ท่านไม่ท�ำประโยชน์ตนเลยก็ เกิดปัญหา  ชีวิตก็มีแต่ทุกข์  ชีวิตที่ดีงามอย่างแท้จริงคือชีวิต ท่ีมคี วามพอดีระหวา่ งประโยชนต์ นกบั ประโยชน์ทา่ น โลกนม้ี สี งิ่ ทด่ี งี ามทเี่ ปน็ คๆู่  มากมาย อาทเิ ชน่  กลางวนั และกลางคนื ทง้ั กลางวนั และกลางคนื เปน็ สงิ่ ดมี ปี ระโยชนต์ อ่ โลกตอ่ มนษุ ยเ์ รา กลางวนั ช่วยให้พืชผลิตอาหารเพราะสามารถสังเคราะห์แสงได้  ถ้าไม่มีกลางวันก็ พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 17

รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต ไม่มีอาหาร  รวมทั้งไม่มียารักษาโรค  เครื่องนุ่งห่มและท่ีพักอาศัย  เพราะ ปจั จยั ทง้ั  ๓ นลี้ ว้ นมาจากพชื ทง้ั สน้ิ  กลางวนั ยงั ท�ำใหเ้ กดิ เมฆและฝน แต่ ถ้าโลกน้ีมีแต่กลางวันล้วนอย่างเดียวก็มีหวังว่าจะกลายเป็นทะเลทราย กันท้ังโลก  โลกต้องมีกลางคืนด้วยเพื่อต้นไม้จะได้พักผ่อน  ถึงจะเติบโต และผลติ ปจั จยั  ๔ ใหม้ นษุ ยไ์ ด ้ กลางคนื ยงั เปน็ โอกาสทผ่ี นื ดนิ จะไดค้ ลาย ความรอ้ นทำ� ใหเ้ กดิ ลมและเกอ้ื กลู ตอ่ การเกดิ ฝน แตถ่ า้ โลกนม้ี แี ตก่ ลางคนื อย่างเดียว  มนุษย์เราและสรรพสัตว์ก็ไม่มีอาหารจะกิน  เห็นไหมว่า ธรรมชาติให้กลางวันและกลางคืนมาก็เพ่ือให้เกิดความงอกงามของชีวิต และบริเวณท่ีมีพืชพันธุ์ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์ที่สุด  มีสัตว์หลากหลาย มากท่ีสุดก็คือเขตเส้นศูนย์สูตร  ซึ่งเป็นเขตที่มีช่วงกลางวันและกลางคืน ไม่ต่างกนั เทา่ ไหร ่ ถ้าพ้นจากเขตนีค้ ือเขตประเทศหนาว ชว่ งกลางวนั กบั กลางคืนจะตา่ งกนั ชัดเจน พชื พนั ธุ์ธญั ญาหารจะไม่อุดมสมบูรณ์ ในชวี ติ ของคนเราจะตอ้ งเจอกบั ความดงี ามทเ่ี ปน็ คๆู่  เยอะมาก เชน่ ระเบียบวินัยกับเสรีภาพ  ระเบียบวินัยเป็นของดี  ท�ำให้เกิดเอกภาพความ เป็นหนึ่งเดียว  แต่ถ้าอยู่กับระเบียบวินัยมากเกินไป  ไม่มีเสรีภาพเลย  ก็ ท�ำให้คนอึดอัดรู้สึกกดดัน  เพราะคนเราน้ันภูมิหลังต่างกัน  ไม่มีระเบียบ ใดท่ีตอบสนองความต้องการของคนทุกประเภท  จึงควรเปิดโอกาสหรือ ช่องว่างให้คนได้แสวงหาหรือท�ำในสิ่งท่ีเหมาะสมกับตนบ้าง  แต่ในเวลา 1 8 ท า ง ส า ย ก ล า ง แ ล ะ ส ม ด ุ ล แ ห ่ ง ช ี วิ ต

รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต เดียวกันถ้ามีแต่เสรีภาพล้วนๆ  ไม่มีระเบียบหรือวินัยท่ีวางไว้ร่วมกัน ก็เกิดความวุ่นวายยุ่งเหยิงได้ง่าย  และผู้คนก็ใช่ว่าจะมีความสุข  พอมี เสรภี าพมากๆ ชวี ติ กเ็ รมิ่ ลอ่ งลอยไรร้ ะเบยี บ เกดิ อาการทเ่ี รยี กวา่  “สำ� ลกั เสรีภาพ”  และง่ายที่จะเหว่ียงเข้าหาระเบียบกฏเกณฑ์  บางทีถึงขั้น เรียกร้องให้มีระบบเผด็จการหรือการใช้อ�ำนาจมากะเกณฑ์ผู้คน  นี่เป็น เหตุผลหนึ่งที่ฮิตเลอร์ได้รับการเลือกต้ังจากประชาชน  หลังจากที่เป็น ระบบประชาธปิ ไตยน�ำไปส่คู วามยุง่ เหยิงวุน่ วายในเยอรมนั เมอื งไทยตอนนกี้ �ำลงั มปี ญั หาเรอ่ื งนคี้ อื มเี สรภี าพมาก เปน็ เสรภี าพ ทไ่ี ดม้ าดว้ ยการเสยี สละเสยี เลอื ดเสยี เนอ้ื หลายครงั้  ไมใ่ ชแ่ ค ่ ๑๔ ตลุ าคม เทา่ นนั้  แตพ่ อไดม้ าแลว้ กใ็ ชเ้ สรภี าพไปในทางทไ่ี มถ่ กู  และใชเ้ ปรอะไปหมด ส่วนใหญ่ก็หนีไม่พ้นการเสพการบริโภค  เราใช้เสรีภาพในการปรนเปรอ ตนมาก จนไมส่ นใจรบั ผดิ ชอบสว่ นรวมเลย ไปๆ มาๆ กไ็ มร่ บั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองด้วย คอื แบมอื ขอพอ่ แม่ลูกเดยี ว ไมค่ ิดจะท�ำมาหากินเล้ยี งตนเอง พอมีลกู มีครอบครวั กไ็ มร่ บั ผิดชอบอีก ทงั้ นเ้ี ป็นเพราะขาดวินยั กันมาก คนเราตอ้ งการทงั้ เสรภี าพและระเบยี บวนิ ยั  เสรภี าพสนองประโยชน์ ตนเช่นท�ำให้เราเป็นตัวของตัวเอง  แต่ก็อาจกระทบประโยชน์ท่านหรือ กอ่ ผลเสียตอ่ ส่วนรวม ดังน้นั จงึ ตอ้ งมีระเบยี บวนิ ัยมากำ� กบั ไม่ใหเ้ สรอี ย่าง พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 19

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต เลยเถดิ  ขณะเดยี วกนั ระเบยี บวนิ ยั ทม่ี ากเกนิ ไป กอ็ าจไปกระทบประโยชนต์ น ได ้ เราจงึ ตอ้ งการสมดลุ ระหวา่ งเสรภี าพกบั ระเบยี บวนิ ยั  ในท�ำนองเดยี วกนั เราก็ต้องการท้ังความคิดสร้างสรรค์และแบบแผนข้อก�ำหนด  ถ้าติดกับ แบบแผนกไ็ มเ่ กดิ ความคดิ สรา้ งสรรค ์ เกง่ แตล่ อกตามคนอน่ื  คดิ เองไมเ่ ปน็ ไมส่ ามารถสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปวทิ ยาการของตนเองได ้ ไมเ่ กดิ วชิ าความรใู้ หมๆ่ เพราะไปตดิ อยใู่ นแบบแผน แตถ่ า้ คดิ สรา้ งสรรคจ์ นเลยเถดิ กจ็ ะเกดิ ปญั หา คอื  “หลดุ โลก” ไมเ่ กดิ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม เชน่  คดิ คน้ ปรชั ญาหรอื สตู ร คณติ ศาสตรท์ ่ีไม่สมั พันธ์กบั ความจรงิ  หรือวาดภาพศลิ ปะท่คี นดูไมร่ เู้ รือ่ ง ศิลปะในการด�ำเนินชีวิต  ก็คือการประคองตนให้อยู่ในความพอดี ระหว่างส่ิงดีงามที่เป็นคู่ๆ ส่ิงท่ีจะมาช่วยให้ชีวิตเกิดความพอดีก็คือ  สติ เพราะสติช่วยไม่ให้เราเผลอเอียงไปทางใดทางหน่ึง  คนเราโดยท่ัวไปแล้ว มีนิสัยท่ีเอียงไปทางใดทางหน่ึงอยู่แล้วโดยไม่รู้ตัว  สติช่วยให้เรารู้ตัวว่า ก�ำลังเกิดความไม่สมดุลขึ้น  ท�ำให้เราดึงชีวิตจิตใจให้กลับมา อยใู่ นความพอดี อะไรทคี่ วรทำ� แตย่ งั ไมไ่ ดท้ ำ�  หรอื ทำ� ไมม่ ากพอ สตจิ ะชว่ ยกระตนุ้ ให้ เราท�ำสิ่งนั้นมากขึ้น ในเวลาเดียวกันสติก็เป็นตัวย้ัง อะไรท่ีทำ� เกินเลยไป แล้วก็จ�ำเป็นต้องทำ� น้อยลง สติก็จะเข้ามาเป็นตัวชะลอ พูดง่ายๆ คือสติ 2 0 ท า ง ส า ย ก ล า ง แ ล ะ ส ม ด ุ ล แ ห ่ ง ช ี วิ ต

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต เป็นทั้งตัวเร่งและเป็นตัวเบรก  เช่นในยามเฉื่อยเนือย  สติมาช่วยกระตุ้น ใหข้ ยนั ขันแข็ง ก�ำลงั ง่วงเหงาหาวนอน สติกเ็ ขา้ มาปลุกใหต้ ื่น เพ่อื จะได้ ท�ำงานท�ำการ  แต่ถ้าขยันขันแข็งในการคิดหรือคิดฟุ้งหรือฟุ้งซ่านมากไป สติก็เป็นตัวเบรกให้รู้จกั หยดุ คิดบา้ ง คนทีท่ ำ� งานหกั โหม สติก็มาเตือนวา่ เอ้า! อย่าท�ำงานจนลืมเวลา อย่าท�ำหามร่งุ หามค่�ำ จนลืมเวลาหลับเวลา นอน ลมื นัดหมาย ลมื งานการ สตมิ าเตอื นใหร้ จู้ กั พกั ผอ่ นหรอื หนั ไปทำ� กจิ อ่ืนบ้าง  ท�ำงานแต่ลืมพักผ่อนก็ไม่ดี  พักผ่อนอย่าง เดียวจนไม่รู้จักท�ำงานเลยก็ไม่ดีเหมือนกัน  สมดุล ระหวา่ งการพกั ผอ่ นกบั การทำ� งาน เปน็ สมดลุ อกี อยา่ งหนง่ึ ท่สี �ำคัญส�ำหรับชวี ิต ซึ่งต้องอาศัยสตมิ าชว่ ย เวลาเราลุ่มหลงงมงายกับความสุขสบายจนเกิด ประมาทขน้ึ มา สตกิ เ็ ตอื นไมใ่ หป้ ระมาท ใหร้ จู้ กั ขวนขวาย ในส่ิงที่ควรท�ำ  แต่เวลาระทมทุกข์  สติก็มาเตือนให้สลัด ความทกุ ขท์ ง้ิ ไป อยา่ กลดั กลมุ้ กบั อดตี หรอื กงั วลกบั อนาคต ชวี ติ ทกุ ขณะและกจิ การงานทกุ อยา่ งตอ้ งอาศยั สตทิ ง้ั นน้ั นะ แมแ้ ตก่ ารพดู ถ้าพูดจนน�้ำลายแตกฟอง  แม้จะเป็นการเทศน์ก็ตาม  ก็ต้องรู้จักหยุดรู้จัก พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 21

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต เงยี บบา้ ง แตเ่ งยี บมากไปกไ็ มด่  ี ตอ้ งรจู้ กั พดู หรอื แนะน�ำสง่ั สอนดว้ ย การ พดู กบั เงยี บเปน็ สงิ่ ดที งั้ ค ู่ แตถ่ า้ สง่ิ ใดสง่ิ หนงึ่ มมี ากไปกเ็ กดิ ผลเสยี  สตเิ ปน็ ตวั เตอื นวา่ พดู มากไปแลว้ หยดุ เสยี บา้ ง หรอื มาเตอื นวา่ เงยี บมากไปแลว้ ถงึ เวลาพูดเสยี ท ี สำ� หรับตอนนีพ้ ดู มากแลว้ จึงถงึ เวลาหยุดพูดเสยี ที 2 2 ท า ง ส า ย ก ล า ง แ ล ะ ส ม ด ุ ล แ ห ่ ง ช ี วิ ต

ศิลปะในการดำ�เนินชีวิต คือการประคองตนให้อยู่ในความพอดี ระหว่างสิ่งดีงามที่เป็นคู่ๆ สิ่งที่จะมาช่วยให้ชีวิตเกิดความพอดี ก็คือ สติ เพราะสติช่วยไม่ให้เราเผลอ เอียงไปทางใดทางหนึ่ง



รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต อยา่ หลงเชอื่ ความคิดง่ายๆ บรรยายวันท่ี ๔ สิงหาคม ๒๕๔๕ ทวี่ ดั ปา่ สคุ ะโตเราอาศยั ปา่ หรอื ธรรมชาตเิ ปน็ กลั ยาณมติ รของเรารวมไปถงึ เป็นครูบาอาจารย์ด้วย  ครูบาอาจารย์ไม่ได้มีแต่หลวงพ่อเท่าน้ัน  ให้ระลึก วา่ ปา่ อนั สงบสงดั อยา่ งนเี้ ปน็ ทง้ั เพอ่ื นเปน็ ทง้ั ครบู าอาจารย ์ พวกเราทอ่ี ยนู่ ่ี ได้อาศัยป่าช่วยสอน  ช่วยกล่อมเกลาจิตใจไปในตัว  แต่ส�ำหรับคนมาใหม่ หรอื คนทไี่ มค่ นุ้ กบั ปา่  การมาอยปู่ า่ กอ็ าจทำ� ใหเ้ กดิ ความสะพรงึ กลวั ขน้ึ มา ได ้ โดยเฉพาะเวลาฝนฟา้ คะนองแบบน ี้ อยา่ งเมอ่ื คนื หรอื คนื กอ่ นๆ ฝนตก ฟา้ คะนองกลางดกึ  คนทไ่ี มค่ นุ้ หรอื ผมู้ าใหมก่ อ็ าจจะกลวั  แลว้ กอ็ าจจะวติ ก ต่างๆ  กลัวไม้ล้มทับกุฏิบ้าง  กลัวอะไรต่ออะไรว่าจะเกิดขึ้นกับตัวเองบ้าง แตท่ จี่ รงิ ในยามนสี้ งิ่ ทค่ี วรกลวั มากทส่ี ดุ ไมใ่ ชส่ ตั วไ์ มใ่ ชต่ น้ ไมห้ รอื อะไร แต่ คอื จติ ใจของตวั เอง อย่างอืน่ ไมน่ า่ กลัวเทา่ กบั จิตใจของเราเอง พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 25

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต พูดถึงเร่ืองฝนตกท�ำให้นึกถึงเรื่องท่ีเพื่อนชาวอังกฤษเคยเล่าให้ฟัง ในอังกฤษมีปราสาทเก่าเยอะ  บางแห่งเป็นปราสาทท่ีมีต�ำนานเล่าขาน นา่ กลวั  คราวหนง่ึ เพอ่ื นของเขาไปคา้ งแรมในปราสาทเกา่ หลงั หนง่ึ  ปราสาท นน้ั มอี ายหุ ลายรอ้ ยป ี แลว้ กใ็ หญโ่ ต แตม่ คี นอยไู่ มก่ คี่ น เรยี กวา่ วเิ วกวงั เวง ทเี ดยี ว เขาไดไ้ ปคา้ งในหอ้ งหนงึ่ ซง่ึ เปน็ หอ้ งทตี่ กแตง่ อยา่ งด ี แตก่ เ็ กา่  ขลงั ดวู งั เวง ในปราสาทนม้ี เี รอื่ งเลา่ เกย่ี วกบั ผปี ศี าจทมี่ าปรากฏตวั กลางดกึ อยู่ เสมอ เขาก็เชื่อคร่ึงไม่เชื่อครึ่ง แต่ว่าพอตกคำ่� ความมืดทะมึนแผ่คลุมทั่ว ทงั้ ปราสาท เขาเรมิ่ รสู้ กึ ผดิ ปกตขิ น้ึ มา กลางดกึ กม็ พี ายฟุ า้ รอ้ งฝนตกหนกั สักพักไฟฟ้าก็ดับ  ต้องจุดเทียน  ลมก็พัดเข้ามาจนเทียนดับต้องจุดใหม่ ระหว่างนั้นก็ได้ยินเสียงกุกกักๆ  ทีแรกมันดังมาจากข้างนอก  จากนั้นก็มี เสียงโหยหวนดังใกล้เข้ามาเรื่อยๆ  สักพักเขาก็ได้ยินเสียงกุกกักเข้ามาถึง ขา้ งใน เขารสู้ กึ วา่ หอ้ งสนั่ เตยี งกส็ น่ั ดว้ ย แตก่ ม็ องไมเ่ หน็ อะไร แมจ้ ะมแี สง สวา่ งจากเทยี นกต็ าม เขารสู้ กึ ไมด่ กี เ็ ลยหยบิ ปนื ขน้ึ มาวางไวข้ า้ งตวั  ขณะ นนั้ เอง กม็ เี สยี งกกุ กกั เขยา่ ทป่ี ลายเตยี ง เขาตวั เกรง็ สดุ ขดี  แลว้ เขากเ็ หน็ อะไรบางอย่างโผล่ท่ีปลายเตียง  มันสูงข้ึนเร่ือยๆ  เขารู้สึกไม่สู้ดีแล้ว  เลย ตัดสินใจคว้าปืน  เล็ง  แล้วก็ยิงทันที  ปรากฏว่าคืนน้ันเขาถูกหามส่งโรง พยาบาลเพราะไปยงิ เท้าของตวั เองเข้า 2 6 อ ย่ า ห ล ง เ ช ่ื อ ค ว า ม คิ ด ง่ า ย ๆ

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ความจรงิ กค็ อื ไมใ่ ชผ่ ที ไ่ี หน แตเ่ ปน็ เทา้ ของเขาเองทโ่ี ผลม่ าทป่ี ลาย เตยี ง เรอ่ื งนส้ี อนวา่ อยา่ งไร สอนวา่ อยา่ ไปเชอ่ื ตาตวั เอง คนเราเวลากลวั แลว้  กฟ็ งุ้ ปรงุ แตง่ ไปตา่ งๆ นานา จนกระทงั่ เทา้ ของตวั เองกเ็ หน็ วา่ เปน็ มอื ผี ดว้ ยเหตนุ อ้ี าตมาถงึ พดู วา่  อยใู่ นปา่ อยา่ ไปกลวั อะไรเลย กลวั ใจของ ตวั เองดกี วา่  เพราะวา่ ใจของเรานแี้ หละเปน็ ตวั ปรงุ แตง่ ตา่ งๆ นานา แมแ้ ต่ ของที่เห็นชัดๆ  ก็อย่าเพ่ิงไปเช่ือตาของเรา  เพราะว่าตามันอาจหลอกได้ ไม่ใช่ตาเท่านั้นท่ีหลอก หกู ห็ ลอกได้เหมือนกัน สมยั เมอ่ื  ๒๐ ปกี อ่ น เขตของผหู้ ญงิ ทนี่ ยี่ งั เปน็ ปา่ ทบึ  มกี ฏุ แิ ค ่ ๒ หลงั ไม่ค่อยมีคนเท่าไหร่  ตอนเช้าๆ  บางวันจะเห็นรอยเท้าเก้งกวางมากินน้�ำ ท่ีริมสระ  ตอนนั้นยังไม่กันเป็นเขตของผู้หญิง  มีหลวงพ่อรูปหน่ึงไปพัก ในกฏุ ิแถวนนั้  ช่วงนัน้ เป็นช่วงเข้าพรรษา คนื หน่ึงหลวงพ่อทา่ นนน้ั ไดย้ นิ เสียงท่ีระเบียงนอกกุฏิดังมาก  ท่านเดาว่าน่าจะเป็นสัตว์ใหญ่  แต่ไม่แน่ใจ ว่าเป็นสัตว์อะไร  คืนต่อมาก็ได้ยินเสียงอีก  ท่านเดาว่าต้องเป็นหมีเพราะ เสยี งดงั ชดั เจน ทา่ นเตรยี มพรา้ ไว ้ เผอ่ื มนั จะเขา้ มาเลน่ งานแตก่ ไ็ มม่ อี ะไร คนื นน้ั ทา่ นไดย้ นิ เสยี งกลอ่ งสบดู่ งั กกุ กกั  วนั รงุ่ ขน้ึ ทา่ นเปดิ ประตไู ปด ู กลอ่ ง สบหู่ ายไป เดนิ ลงจากกฏุ ไิ ปดรู อบๆ กเ็ หน็ สบอู่ ยไู่ มไ่ กลจากกฏุ  ิ มรี อยหนู กัด  ท่านเลยรู้ว่าเจ้าตัวท่ีมาบุกรุกกุฏิท่านมิใช่หมีที่ไหน  หนูต่างหาก  หนู พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 27

รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต ตัวเล็กๆ  แต่ในป่ากลางดึก  เสียงเดินของมันจะดังชัดเจนราวกับสัตว์ใหญ่ หูเราพอได้ยนิ เสยี งอย่างน ้ี บางทีกห็ ลอกเราวา่ เป็นเสียงสตั วใ์ หญ่ คนท่ีอยู่ที่นี่ หน้าแล้งบางคืนจะได้ยินเสียงคล้ายคนเดินรอบกุฏิเลย เสยี งเหยยี บใบไมแ้ หง้ ดงั ชดั เจนเหมอื นคนเดนิ รอบกฏุ เิ ลย ถา้ ไดย้ นิ แบบนน้ั อย่าไปกลัว  ให้นึกไว้ก่อนว่า  ต้องเป็นเสียงหนูหรือเสียงสัตว์ตัวเล็กๆ  มา หากนิ แถวกฏุ เิ รา คนทไี่ มค่ นุ้ เคยมกั ปรงุ แตง่ วา่ เปน็ เสยี งคนเดนิ รอบๆ แลว้ ก็นึกต่อไปว่า เอ  เขาจะมาขโมยของหรือเปล่า หรือว่าจะมาแกล้งเรา กลางดึก ถ้าเป็นผู้หญิงก็จะยิ่งกลัวเข้าไปใหญ่ ในป่ากลางดึก เสียงจะดัง ฟังชัด เสียงคนพูดไกลๆ ยังได้ยินเลย ยิ่งหน้าหนาว ใบไม้แห้งจะกรอบ เสียงจะดังมากถ้ามีสัตว์มาเหยียบ เพราะฉะน้ันอยู่ในป่านี่ถ้าได้ยินเสียง อะไร ให้สันนิษฐานก่อนเลยว่าเป็นเสียงสัตว์ แม้ใจมันจะปรุงแต่งไปใน ทางนา่ กลวั  กอ็ ยา่ ไปเชอื่ มนั  ถา้ ไปเชอื่ กเ็ ทา่ กบั วา่  เราโดนห ู โดนความคดิ ของเราหลอกแลว้  ทน่ี ไ่ี มม่ ผี มี าหลอก หรอก มีแต่ความคิดของเราเองน่ัน แหละทม่ี นั หลอกเรา 2 8 อ ย่ า ห ล ง เ ช ่ื อ ค ว า ม คิ ด ง่ า ย ๆ

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต เกอื บ ๒๐ ปกี อ่ นอาตมาพกั อยกู่ ฏุ หิ ลงั หอไตร คอื กฏุ หิ มายเลข ๑๐ คืนหนึ่งตื่นข้ึนมา  ได้ยินเสียงดังที่ข้างฝาด้านนอก  คล้ายกับคนเอามือมา ตีข้างฝา  แต่มันสูงเกินกว่ามือคนจะเอื้อมไปตีได้  รู้สึกว่าไม่ธรรมดาแล้ว ทีแรกก็กลัว แต่อาตมามีสูตรประจ�ำใจอยู่แล้วว่า ถ้าได้ยินเสียงผิดปกติ ขน้ึ มา ใหส้ นั นษิ ฐานไวก้ อ่ นวา่ เปน็ เสยี งสตั วไ์ มใ่ ชผ่  ี เมอื่ สนั นษิ ฐานไวใ้ นใจ อย่างนี้แล้ว  ก็เลยกล้าลุกออกมาเพื่อดูให้รู้แน่ว่าเป็นอะไร ตอนน้ันยัง บวชใหม่ๆ  แค่  ๒  พรรษา  ไม่คุ้นเคยกับการอยู่ป่า  แต่ก็ท�ำใจกล้าเดินไป ทข่ี า้ งกฏุ  ิ แลว้ สอ่ งไฟฉายทข่ี า้ งฝา ปรากฏวา่ เปน็ อะไรรไู้ หม ตกุ๊ แกนน่ั เอง มันก�ำลังคาบสัตว์ตัวเล็กๆ  อยู่ในปาก  เสียงดังเพราะมันเอาเหย่ือฟาดกับ ขา้ งฝา เพอื่ ฆา่ ใหต้ ายจะไดก้ ลนื เข้าปาก ถ้าเรารู้ว่ามันไม่มีผีหรอกมีแต่สัตว์  เราก็ไม่กลัว  แต่ถ้าปักใจว่าผี แตแ่ รก กจ็ ะกลวั คลมุ โปงเลย ฉะนนั้ เวลาอยใู่ นปา่ หรอื ทไี่ หนกต็ าม สงิ่ หนง่ึ ที่ต้องตระหนักไว้ก็คือ  อย่าไปเชื่อตา  อย่าไปเชื่อหูมากเกินไป  ท่ีเขาว่า สบิ ปากวา่ ไมเ่ ทา่ ตาเหน็ กย็ งั ไมจ่ รงิ  เหน็ กบั ตาแลว้ กย็ งั เชอื่ ไมไ่ ด ้ อยา่ งคน ยิงเท้าตัวเอง  เห็นกับตาแต่ว่าตามันก็หลอกได้  ทั้งน้ีก็เพราะความกลัว ในจิตใจมันปรุงแตง่ อีกที พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 29

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ตา  หู  จมูก  ลิ้น  กาย  มันเป็นบ่าว  นายจริงๆ  คือ  “ใจ”  พอใจมัน ปรงุ แตง่  ตากป็ รงุ แตง่ ไปดว้ ย ห ู จมกู  ลนิ้  กาย กป็ รงุ แตง่ ไปดว้ ย ตา หู จมูก ลิ้น  กาย  ก็เลยหลอกเอา  คนเราก็ยอมให้ใจและอายตนะทั้ง  ๕ หลอกเยอะแยะไปหมด มันหลอกไดส้ ารพัด แล้วเรากไ็ มร่ ะวัง หลวงพอ่ ชาทา่ นเคยเลา่ วา่  ทว่ี ดั หนองปา่ พง มกั จะมโี ยมผหู้ ญงิ หอบ ผา้ หอบผอ่ นมาทว่ี ดั  บอกวา่ จะขออยวู่ ดั ตลอดชวี ติ  บอกวา่ เบอื่ โลก เขด็ แลว้ กบั ชวี ติ ครอบครวั  สว่ นใหญม่ เี รอื่ งทะเลาะกบั ผวั  กเ็ ลยกลมุ้ อกกลมุ้ ใจจะมา อยวู่ ดั  บอกวา่ จะขออยวู่ ดั ตลอดชวี ติ เลย หลวงพอ่ ชากจ็ ะเตอื นวา่  อยา่ เพงิ่ ตัดสนิ ใจอยู่ตลอดชวี ติ เลย มาทดลองอยสู่ กั พกั กอ่ นแลว้ คอ่ ยตดั สนิ ใจ แต่ โยมผหู้ ญงิ เหลา่ นก้ี ม็ กั จะยนื ยนั วา่  ขออยวู่ ดั ตลอดชวี ติ  จะไมม่ วี นั กลบั บา้ น แน่นอน  แต่ปรากฏว่าอยู่ได้ไม่กี่วัน  พอผัวมางอนง้อ  ก็หอบผ้ากลับบ้าน เลย ลมื ไปเลยที่บอกว่าจะอยตู่ ลอดชวี ติ บางคนอยู่แค่  ๒  ถึง  ๓  เดือนก็คิดถึงบ้าน  ขอลากลับไปอยู่กับ ครอบครวั ตามเดมิ  เหน็ ไหมวา่ ทบ่ี อกวา่ จะมาอยตู่ ลอดชวี ติ นะ่  ความคดิ มนั พาใหพ้ ดู  ความโมโห นอ้ ยอกนอ้ ยใจ มนั พาใหพ้ ดู  แลว้ กไ็ ปเชอื่ มนั  ตอนที่ กำ� ลงั โกรธ ก�ำลงั กลมุ้ อกกลมุ้ ใจ มนั นกึ อะไรได ้ กไ็ ปเชอื่ มนั  หลวงพอ่ ชา ทา่ นจะเตอื นคนเหลา่ นเี้ สมอวา่  “อยา่ ไปเชอ่ื นะจติ ของเรานะ” เพราะฉะนนั้ 3 0 อ ย่ า ห ล ง เ ช ื่ อ ค ว า ม คิ ด ง่ า ย ๆ

รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต เวลาเราเกิดอารมณ์ขึ้นมา  ไม่ว่าโกรธ  เกลียด  น้อยใจ  ให้เตือนใจตัวเอง วา่  “อยา่ เพง่ิ ไปเชอ่ื มนั ” มนั ตดั สนิ ใจอะไรขนึ้ มา กอ็ ยา่ เพง่ิ พดู ออกไปหรอื ท�ำตามทม่ี นั บอก บางคนเวลาเกลยี ดกเ็ กลยี ดเปน็ บา้ เปน็ หลงั  สาบานวา่ จะไมเ่ ผาผเี ลย เวลาโกรธก็ปล่อยให้ความโกรธมันครอบง�ำ  ยอมท�ำทุกอย่างตามที่มันส่ัง แม้จะฉิบหายขายตัวก็ยอม  ขอให้ได้แก้แค้นก็พอ  คุกตารางไม่กลัว  แต่ เสร็จแล้วก็กลับมานึกเสียใจว่า  ไม่น่าท�ำเลย  นี่เป็นเพราะไปเชื่อความ รสู้ กึ นึกคดิ มากไป ฉะน้ันต้องระวังมากเลยนะความคิดของเรา  อย่าไปเช่ือความคิด มันมาก  มันคิดอะไรข้ึนมาก็ตาม  อย่าผลีผลามตัดสินใจ  โดยเฉพาะเวลา มอี ารมณพ์ ลงุ่ พลา่ น ใหด้ มู นั ไปกอ่ นหรอื นกึ เผอื่ ไปทางอนื่ ดว้ ย ไมใ่ ชป่ กั ใจ ไปในทางเดยี ว อยา่ งเชน่  เวลาเราไดย้ นิ ใครวา่  คนโนน้ คนนไี้ มด่  ี คนโนน้ คนนี้ขโมย  ก็อย่าเพ่ิงไปเชื่อ  คิดเผื่อไว้ก่อนว่าอาจจะไม่เป็นอย่างนั้นก็ได้ แม้เวลาของเราหายก็อย่าเพ่ิงไปเชื่อว่าคนนั้นคนน้ีขโมย  ถ้าเราปักใจเชื่อ อยา่ งนนั้  เวลาเราเหน็ เขา เรากจ็ ะพลอยเหน็ คนๆ นน้ั มพี ริ ธุ  อากปั กริ ยิ า ของเขาดมู พี ริ ธุ  จะเดนิ จะยา่ งกไ็ มป่ กตเิ หมอื นท�ำความผดิ บางอยา่ ง เวลา พูดกับเราก็รู้สึกว่าน�้ำเสียงของเขามันแปลกเหมือนก�ำลังกลบเกล่ือนอะไร พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 31

รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต บางอย่าง  แต่พอเราไปพบว่าของเราไม่ได้หาย  เพียงแต่ตกอยู่หลังโต๊ะ เรากร็ วู้ า่ คนๆ นน้ั ไมไ่ ดข้ โมย ทนี พี้ อเราเหน็ เขาอกี ครง้ั  เรากจ็ ะพบวา่ อากปั - กิริยาของเขาปกติ  เดินก็เดินปกติ  น�้ำเสียงก็ไม่ได้มีพิรุธอะไรเลยราวกับ เปลี่ยนไป ท่ีจริงเขาไม่ได้เปลี่ยนไปหรอก เราต่างหากท่ีเปล่ียนไป ใจเรา ตา่ งหากทเี่ ปลยี่ นไป ตอนทเี่ ราสรปุ เชอื่ วา่ เขาขโมย ตาเรากห็ ลอก หลอกให้ เห็นว่าเขาเป็นขโมย แต่พอรู้ว่าเขาไม่ใช่ขโมย ตาเราก็เปลี่ยนไปเห็นเขา ปกตธิ รรมดา ตาเรานเี่ ปน็ ทาสใจ ใจคดิ อยา่ งไร ตากป็ รงุ แตง่ ไปทางนน้ั  หกู ป็ รงุ แตง่ ไปทางนั้น  จมูกก็ปรุงแต่งไปตามนั้น  ลองทบทวนประสบการณ์ในชีวิต ของเรา  ก็จะพบเร่ืองท�ำนองนี้อยู่ประจ�ำ  ตา  หู  จมูก  ล้ิน  กายมันหลอก เพราะใจมันนึกไป  พูดตามหลักปฏิจจสมุปบาทก็คือ  สังขาร เป็นปัจจัยให้เกิดวิญญาณ  สังขาร  หมายถึง  ส่ิงปรุงแต่งใน จติ ใจ เชน่  ความรสู้ กึ นกึ คดิ ตา่ งๆ วญิ ญาณหมายถงึ ความรู้ ในอารมณท์ มี่ ากระทบ พดู งา่ ยๆ คอื  การรบั รทู้ างอายตนะ ทั้ง  ๖ สังขาร  คือสิ่งปรุงแต่งจิตใจ  ความนึกคิด  ความ เกลยี ด ความรกั  กเ็ ปน็ ปจั จยั ใหแ้ กว่ ญิ ญาณ การรบั รตู้ า่ งๆ ทางตา ทางหู 3 2 อ ย่ า ห ล ง เ ช ื่ อ ค ว า ม คิ ด ง่ า ย ๆ

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ทางจมกู  ทางลนิ้  ทางกาย รวมทงั้ ทางใจดว้ ย คดิ ยงั ไงกป็ รงุ แตง่ ภาพทเี่ หน็ ไปทางนนั้  เรารกั ใครชอบพอใคร เรากเ็ หน็ แตส่ ง่ิ สวยงามของเขา เหน็ เขา เปน็ เทวดาไปเลย เราเกลยี ดใคร เรากเ็ หน็ แตส่ งิ่ เลวรา้ ยของเขา เหน็ เขา เปน็ มารไปเลย ถา้ บอกวา่ ความรกั ทำ� ใหค้ นตาบอด ทจ่ี รงิ ตาไมบ่ อดหรอก แตใ่ จมนั ปรงุ  ทำ� ใหเ้ หน็ แตส่ ง่ิ ทสี่ วยสดงดงามของเขา สง่ิ ทเ่ี หน็ อาจจะจรงิ กไ็ ด ้ แต่ จรงิ บางสว่ น สว่ นสงิ่ ทไี่ มส่ วยไมง่ ามกไ็ มเ่ หน็  หรอื แมจ้ ะเหน็ กก็ ลบั มองวา่ นา่ รกั นา่ เอน็ ด ู เชน่  ความชา่ งพดู ของเขา ตอนรกั กนั ใหมๆ่  กเ็ หน็ เปน็ นสิ ยั ช่างเจรจา  แต่พออยู่ด้วยกันนานๆ  ก็ชักเห็นว่าเธอคนนี้พูดจาน่าร�ำคาญ ปากช่างไม่มีหูรูดเสียเลย  อากัปกิริยาอย่างเดียวกัน  ตอนชอบตอนรักก็ เหน็ ว่าน่ารกั กระจุ๋มกระจ๋ิม แต่พอเฉยชาก็เห็นไปในทางตรงกันขา้ ม ฉะน้ันเมื่อเราเห็นอะไรก็ตามอย่าด่วนสรุป จะทำ� อะไรก็ตามอย่าท�ำ ตามอารมณ์  อย่าท�ำด้วยความคิดชั่วขณะ  ต้องคิดเผื่อไว้ก่อน  ว่าอาจ ไมเ่ ปน็ อยา่ งทเ่ี ราเหน็ หรอื ทเี่ ราคดิ กต็ าม เวลาทะเลาะกบั คนในบา้ น ตง้ั ใจ จะมาวัด  อย่าเพ่ิงตัดสินใจเป็นม่ันเป็นเหมาะว่าจะมาอยู่วัดตลอดชีวิต แม้จะมีความอยากก็ตาม  คิดเผื่อไว้ว่ามันอาจจะไม่แน่  เราอาจเปล่ียนใจ ภายหลังก็ได ้ เมอ่ื ความกลัดกลุ้มน้อยอกนอ้ ยใจลดลง  พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 33

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ในท�ำนองเดียวกัน  คนที่มาปฏิบัติธรรมหรือเพ่ิงบวชใหม่ๆ  แล้ว เกิดปีติขึ้นมา หลายคนประกาศเลยว่า จะบวชตลอดชีวิต คนที่พูดอย่างนี้ แสดงว่าพูดไปตามอารมณ์  พูดเพราะเกิดปีติขณะปฏิบัติ  และคนแบบน้ี จะสกึ งา่ ย เพราะเวลาปตี ไิ มเ่ กดิ  เวลาเบอื่ ขน้ึ มา เกดิ เซง็ ขน้ึ มา กจ็ ะเปลยี่ น ใจกะทนั หนั  แลว้ กจ็ ะขอสกึ ดกี วา่  คอื ทำ� ไปตามอารมณ ์ ทำ� ไปตามความคดิ ไมใ่ ชท่ ำ� เพราะสต ิ ฉะนน้ั จะพดู จะทำ� อะไร ตอ้ งคดิ เผอื่ ไวก้ อ่ น เผอ่ื ใจไวก้ อ่ น โกรธเกลยี ดใครอยา่ เพง่ิ ไปดา่ เขา อยา่ เพงิ่ ไปเลน่ งานเขา คดิ เผอ่ื ไวก้ อ่ นวา่ เขาอาจไมเ่ ปน็ อยา่ งทเ่ี ราเหน็ กไ็ ด ้ เชน่  เหน็ แฟนของตวั เองอยกู่ บั ชายหนมุ่ รปู งาม กอ็ ยา่ เพง่ิ ไปโกรธเธอ อยา่ เพงิ่ ไปสรปุ วา่ เธอนอกใจ คดิ เผอื่ ไวก้ อ่ น วา่  หนมุ่ คนนน้ั อาจเปน็ คนทเ่ี ธอกำ� ลงั มธี รุ ะการงานเกยี่ วขอ้ งอยกู่ ไ็ ด ้ เวลา นดั ใครแลว้ เขาไมม่ า จะฉนุ เฉยี วอยา่ งไรกแ็ ลว้ แต ่ อยา่ เพง่ิ สรปุ วา่ เขาไมไ่ ด้ เรอ่ื ง เขาอาจจะมาแตร่ อคนละทเี่ พราะเขา้ ใจผดิ  หรอื มธี รุ ะกะทนั หนั  เจอ หนา้ เขาภายหลงั กอ็ ยา่ เพง่ิ ดา่  ใหถ้ ามเขาเสยี กอ่ นวา่ เกดิ อะไรขนึ้  ท�ำไมถงึ ไมม่ าตามนัด ละครน้�ำเน่ามีประโยชน์ตรงน้ี  ละครน้�ำเน่ามักจะเอาความเข้าใจผิด ระหว่างพระเอกกับนางเอกมาเป็นตัวเดินเรื่อง  และท่ีเข้าใจผิดก็เพราะ ต่างฝ่ายต่างด่วนสรุป  ไปเช่ือตาหรือหูหรือความคิดของตัวมากเกินไป ไม่ยอมคิดเผื่อ  แล้วก็ด่วนสรุปโดยไม่ถามเจ้าตัวให้แน่ชัดว่าเป็นอย่างท่ี 3 4 อ ย่ า ห ล ง เ ช ่ื อ ค ว า ม คิ ด ง่ า ย ๆ

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ตวั คดิ หรอื เหน็ หรอื เปลา่  เชน่  เหน็ นางเอกไปเดนิ กบั ผชู้ ายอกี คน พระเอก ก็เข้าใจว่านางเอกนอกใจ ก็เลยโกรธ ตัดพ้อต่อว่าแล้วก็จากกัน ละคร น้�ำเน่าประเภทชงิ รกั หกั สวาท มนั สนกุ ตน่ื เตน้  กต็ รงทต่ี วั ละครชอบไปเชอื่ ความคิด  ถูกความคิดหลอก ถูกตา หู  จมูก  ล้ิน  กาย  หลอก  ตัวละคร ไมไ่ ด้ถูกหลอกอยา่ งเดียว คนดูก็ถกู หลอกไปดว้ ย มนั ก็เลยสนุก แต่ถ้าเราไม่เอาสนุกอย่างเดียว  เราก็สามารถเรียนรู้หรือได้คติชีวิต จากละครนำ�้ เนา่ กไ็ ด ้ วา่  เออ คนเราเปน็ ทกุ ขห์ รอื บาดหมางกนั  กเ็ พราะ ถกู ความคดิ มนั หลอกนเี่ อง ถา้ พระเอกคดิ เผอื่ สกั หนอ่ ย ถา้ นางเอกคดิ เผอื่ สกั หนอ่ ยวา่  อกี ฝา่ ยอาจไมไ่ ดน้ อกใจเรอื่ งกจ็ บ แตล่ ะครมนั กจ็ ะสน้ั เกนิ ไป และไมส่ นกุ  แตเ่ ราอยา่ ดเู อาสนกุ อยา่ งเดยี ว เรากส็ ามารถเรยี นรหู้ รอื ไดค้ ติ ชวี ติ จากละครน้�ำเนา่ กไ็ ด ้ เราตอ้ งดเู อาความรเู้ อาธรรมะดว้ ย มนั สามารถ ให้คติชีวิตแก่เราได้  ละครน�้ำเน่าก็จะเป็นครูเราได้  แต่ส่วนใหญ่เราดูกัน ไม่เป็น  เราดูเอาความสนุกจนลืมตัว  ก็เลยไม่ได้บทเรียนไม่ได้คติชีวิต ทุกอย่างถ้าเราดูเป็นก็เป็นครูเราได้  อาตมาถึงบอกว่าธรรมชาติในป่าน้ี เป็นครูบาอาจารย์เราได้  ฉะน้ันให้ระลึกไว้เสมอว่าความคิดมันหลอกเรา ได้ อยา่ ไปเชอ่ื มนั มากเกินไป  พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 35

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต เคยไดย้ นิ ไหมเรอ่ื งคนอยากจะเลกิ เหลา้  มคี นหนงึ่ อยากจะเลกิ เหลา้ เลิกหลายครั้งแล้ว  แต่ไม่เคยท�ำได้เสียที  เพราะเวลาเดินกลับบ้าน  ผ่าน รา้ นเหล้าทไี ร เปน็ อนั ต้องแวะเขา้ รา้ นเหล้าทุกที มาวันน้ีเขาต้ังใจว่าจะต้องเลิกเหล้าให้ได้  เป็นตายอย่างไรต้องเลิก ให้ได้  แต่ว่าพอเลิกงานเดินเข้าใกล้ร้านเหล้าก็เริ่มเปรี้ยวปาก  ใจอยาก จะกินเหล้าแต่ก็ระงับความอยาก  เพราะต้ังใจเด็ดขาดแล้วว่าวันน้ีจะไม่ ยอมแพเ้ ดด็ ขาด ยงิ่ ใกลร้ า้ นเหลา้ ใจกย็ ง่ิ สน่ั  อยากเหลา้ เอามากๆ แตก่ ข็ ม่ ความอยาก  พอถึงร้านเหล้าได้ยินเสียงแก้วกระทบกันในร้าน  ก็ชักจะเขว ท�ำท่าจะเฉเข้าร้านเหล้า  แต่เขาก็ชักขากลับมาทัน  พอเดินถึงกลางร้าน ก็ได้ยินเสียงเพ่ือนชวนให้เข้ามาฉลองกัน  ความคิดก็ผุดขึ้นมาทันทีว่า เอาหนอ่ ยนา่  วนั นก้ี นิ ทงิ้ ทวนแลว้ กนั  อ�ำลาสรุ าเปน็ ครงั้ สดุ ทา้ ย แลว้ พรงุ่ น้ี จะเลิกแน่นอน เพอื่ นชวนท้ังทจี ะปฏิเสธเขาไดอ้ ยา่ งไร คดิ เสร็จกเ็ กือบจะ เล้ียวเข้าไปแล้ว  แต่ก็ชะงักนึกข้ึนมาได้ว่า  วันสุดท้ายมาหลายวันแล้ว วันน้ีต้องไม่ใจอ่อนอีก  คิดแล้วก็เลยเดินต่อมุ่งตรงไป ท่ีบ้าน  ที่จริงร้านเหล้าแค่คูหาเดียวเดินไม่ก่ีก้าวก็พ้น แต่ชั่วขณะน้ันเวลาไม่กี่วินาทีดูเหมือนยาวนานเป็น ชว่ั โมง แมก้ ระนน้ั เขากเ็ ดนิ ผา่ นรา้ นเหลา้ ไปได ้ พอผา่ น ไปได้  ก็ดีใจอย่างมากเลย  ปีติท่วมท้น  ฉันชนะแล้วๆ 3 6 อ ย่ า ห ล ง เ ช ่ื อ ค ว า ม คิ ด ง่ า ย ๆ

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต เขาประกาศก้องในใจ  ชนะย่ิงใหญ่อย่างนี้  ต้องฉลองกันหน่อยสิ  ว่าแล้ว เขาก็เดนิ เลี้ยวกลบั เข้ารา้ นเหล้าทันที เห็นไหมว่าความคิดมันหลอกได้เก่ง  ท้ังๆ  ท่ีเอาชนะเหล้าได้  แต่ ความคิดความอยาก  มันก็ยังสามารถหลอกเขาให้ฉลองชัยชนะด้วยการ กลบั ไปซดเหล้าได้ เราจงึ ต้องระวัง อย่าไปเช่อื ความคดิ มาก หัดสร้างสติ ให้มากๆ  จะได้รู้ทันความคิดและเอาชนะมันได้  ไม่เผลอให้มันหลอกเรา ขอฝากไวเ้ ท่าน้ีสำ� หรบั วันน้ี พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 37



รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต เทา่ ทนั ความคดิ บรรยายวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๕ เราคงเคยไดย้ นิ ภาษติ โบราณทว่ี า่  “อยคู่ นเดยี วใหร้ ะวงั ความคดิ  อยกู่ บั มติ ร ให้ระวังวาจา”  พวกเราซ่ึงมาปฏิบัติที่น่ีต้องเรียกว่า  ก�ำลังอยู่ในสถานะทั้ง ๒  แบบเลย  ถึงแม้ว่าเราอยู่ท่ามกลางหมู่มิตร  เพื่อนนักปฏิบัติธรรม  แต่ ในเวลาเดียวกันการปฏิบัติของเราก็เน้นการปลีกวิเวก  หลีกเล่ียงการพูด คยุ หรอื เกยี่ วขอ้ งสมั พนั ธก์ บั ผอู้ น่ื โดยไมจ่ ำ� เปน็  จงึ เหมอื นกบั วา่ อยคู่ นเดยี ว ดงั นน้ั เราจงึ ตอ้ งระวงั ความคดิ ของเรา แตพ่ รอ้ มกนั นน้ั เรากต็ อ้ งระวงั วาจา ของเราด้วย  เพราะว่าอาจจะเป็นการรบกวนผู้ปฏิบัติธรรมที่อยู่แวดล้อม ตัวเรา ตอนน้ีแม้เราจะอยู่ท่ามกลางผู้คนมากมาย  แต่ก็ขอให้ท�ำเหมือน กับว่าเราอยู่คนเดียว  ท่ีจริงระเบียบแบบแผนท่ีนี่ก็พยายามท�ำให้เรารู้สึก อยา่ งนนั้ อยแู่ ลว้  ดงั นนั้ เราจงึ ตอ้ งระวงั ความคดิ  แตว่ า่ ไมว่ า่ จะระวงั อยา่ งไร ก็คงจะหลีกเลี่ยงความคิดท่ีเข้ามารุมเร้าจิตใจของเราไม่ได้  เวลาเราอยู่ คนเดียวไม่มีงานการท�ำ  ไม่มีหนังสืออ่าน  ไม่มีโทรทัศน์  ไม่มีวิทยุ  ท่ีจะ พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 39

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ดึงใจให้ไปจดจ่อ  ความคิดมันจะไปไหนล่ะ  มันก็ไปเอาเรื่องโน้นเร่ืองน้ี มาคดิ  หรอื ไมจ่ ติ กห็ นั มาเพง่ เขา้ ใน คดิ วนไปวนมา ในชวี ติ ประจ�ำวนั เรามี งานการทำ�  มีสิ่งท่ตี ้องเกี่ยวข้องเยอะ จิตมนั สง่ ออกนอกเกอื บตลอดเวลา แต่พอเรามาอยู่คนเดียวหรือมาปฏิบัติธรรมคนเดียว  แม้จะอยู่ท่ามกลาง ผู้คนมากมายก็ตาม  ในยามนี้ไม่ค่อยมีสิ่งท่ีมาเร้าจิตกระตุ้นใจให้พุ่งออก นอก มนั กเ็ รมิ่ งนุ่ งา่ น คดิ ซำ�้ คดิ ซาก หมนุ วนไปมา หมาทเ่ี ราชอบปลอ่ ย ออกไปเที่ยวข้างนอก วันดีคืนดีเราจับมันใส่กรง มันจะทำ� อย่างไร มันก็ ง่นุ งา่ นเดนิ รอบกรงอยนู่ ั่นแหละ ดว้ ยเหตุนโี้ บราณถงึ วา่  อยคู่ นเดียวใหร้ ะวงั ความคดิ  ผ้ปู ฏิบตั ิใหม่ๆ จะพบว่า  มันมีความคิดมากมายท่ีเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติ  รวมทั้ง พยายามฉุดดึงให้เราเลิกปฏิบัติ  เช่น  อาจจะเกิดความคิดในเชิงสงสัย ขน้ึ มาวา่  เอะ๊ ! ฉนั มาทนี่ ท่ี ำ� ไม ถงึ แมไ้ มป่ ฏบิ ตั  ิ ฉนั กม็ คี วามสขุ ไมใ่ ชห่ รอื คนอน่ื เขาไมป่ ฏบิ ตั  ิ กเ็ หน็ มคี วามสขุ ด ี แลว้ ทำ� ไมฉนั ตอ้ งมานงั่ หนา้ ดำ� ครำ�่ เครียดที่น่ีด้วย  มาล�ำบากเปล่าๆ  ท�ำไมกัน  บางคนอาจคิดว่าฉันยังอายุ น้อยอยู่  เอาไว้มีอายุมากแล้วค่อยมาปฏิบัติก็ยังได้  ถึงตอนน้ันมาบวชชี ก็ยังไม่สาย  อะไรท�ำนองนั้น  ความคิดมันพยายามชวนให้เราเลิกปฏิบัติ ด้วยการคิดลังเลสงสัย  หาข้อโต้แย้งหรือไม่ก็ผัดผ่อน  รวมท้ังพยายาม หางานมาท�ำ  จะได้ไม่ต้องปฏิบัติ  มีบางคนพอปฏิบัติสักพักจะเกิดความ 4 0 เ ท ่ า ท ั น ค ว า ม คิ ด

รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต รู้สกึ อยากทำ� โนน่ ท�ำน่ี เหน็ ใบไมต้ กเปน็ ไม่ได ้ ต้องควา้ ไมก้ วาดมาจัดการ รสู้ กึ มนั รกหรู กตา ทง้ั ๆ ทตี่ อนอยวู่ า่ งๆ ไมไ่ ดป้ ฏบิ ตั  ิ กไ็ มไ่ ดร้ สู้ กึ สนใจหรอื ร้อนใจกับใบไม้บนทางหรือลานกุฏิเลย  แต่พอลงมือปฏิบัติเข้า  แหม มนั อยากจะทำ� โนน่ ทำ� นเี่ หลอื เกนิ  เดยี๋ วกวาดพนื้  เดยี๋ วถศู าลา เดย๋ี วซกั ผา้ มเี รอ่ื งใหท้ ำ� อยเู่ รอื่ ย ใหร้ วู้ า่ เรากำ� ลงั โดนความคดิ มนั หลอกแลว้  มนั พยายาม ดึงเราออกจากทางจงกรมหรือจากการปฏิบัติ  ท�ำไมถึงเป็นอย่างน้ัน  ก็ เพราะจิตมนั เบ่ือ มันจำ� เจ ไอ้ความจ�ำเจน่ ี มนั เป็นปรปักษก์ ับจติ ปถุ ุชน จิตของปุถุชนนีต้ อ้ งการความตนื่ เต้นเร้าใจ ความสขุ ของปถุ ุชนเกิด จากความต่ืนเต้น  มีการเร้าจิตกระตุ้นใจ  เรามีความสุขจากการฟังเพลง เพราะเพลงมันท�ำให้จิตตื่นเต้น  โสตประสาทหูถูกกระตุ้น  หนังที่คนชอบ คือ  หนังที่หวือหวาต่ืนเต้น  รสอาหารที่คนชอบ  คือรส จัดจ้าน  เผ็ด  เปรี้ยว  หวาน  ไม่ใช่จืดๆ  ความสุขของ คนท่ัวไปล้วนเป็นเรื่องของการกระตุ้นผัสสะ  ไม่ว่าทางตา หู  จมูก  ล้ิน  กาย  รวมทั้งทางใจด้วย  แต่พอเรามาเดิน จงกรม จงั หวะมนั ซำ�้ ซากจำ� เจ ยกมอื ไป เอามอื มา เดนิ ไป แล้วกลับมา  ตอนท�ำใหม่ๆ  จิตมันไม่เคยพบมันก็สนใจ นง่ิ  ดเู หมอื นเปน็ สมาธ ิ ธรรมดาของจติ เรามนั ชอบของใหม่ แตพ่ อปฏบิ ตั ไิ ปสกั  ๒๐ นาท ี มนั กเ็ รมิ่ เบอื่  เรม่ิ หาเรอ่ื งโนน้ พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 41

รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต เรื่องนี้มาคิด  เพ่ือให้มีอะไรแปลกๆ  ใหม่ๆ  เข้ามาในใจ  ไม่ซ�้ำซากจ�ำเจ จะได้หายเบื่อ  เรื่องที่เอามาคิดทีแรกอาจจะเป็นเรื่องสนุกสนานที่เคย ประสบ  แต่พอเรารู้ทันมัน มันก็ออกมาในรูปใหม่ ในรูปของงานการท่ี เป็นจริงเป็นจังเป็นเร่ืองดีมีประโยชน์  เช่น  เสร็จจากน่ี  ฉันจะไปชวน คนโน้นคนน้ีมาปฏิบัติธรรม  หรือไม่ก็คิดวางแผนจัดอบรมปฏิบัติธรรม ในที่ท�ำงาน  บางทีก็ฟุ้งไปเลยว่ากลับไปนี่ฉันจะไปสอนคนแล้ว  ทีน้ีก็ นึกหน้าคนท่ีจะสอน  นึกหน้าเรียงตัวเลย  หลายคนท่ีหนักไปทางศรัทธา ก็จะคิดวางแผนทอดผ้าป่าทอดกฐินที่โน่นที่น่ี  เดินไปก็คิดไปเป็นเร่ือง เปน็ ราวเลย มันจะฟุง้ ออกมาเรื่อยๆ ทงั้ ๆ ทเี่ ราเองก็ยังไปไมถ่ ึงไหนนะ อาตมายงั จ�ำได ้ ตอนบวชใหมๆ่  ปฏบิ ตั อิ ยวู่ ดั สนามใน ไมไ่ ดป้ ฏบิ ตั ิ ดเี ดน่ อะไร มปี ญั หาการปฏบิ ตั ดิ ว้ ยซำ้�  แตพ่ อเสารอ์ าทติ ย ์ มคี นเขา้ วดั มา ปฏิบัติกันเยอะแยะ  ส่วนใหญ่เป็นนักศึกษา  ความคิดท่ีว่าเราเคยผ่านการ ปฏบิ ตั มิ าแลว้  มนั เกดิ ความรสู้ กึ อยากจะไปพดู  อยากจะไปแนะไปสอน ถา้ เราไมท่ นั ความรสู้ กึ นกึ คดิ ตรงนน้ั  แสดงวา่ เราโดนหลอกแลว้  ใหร้ เู้ ทา่ ทนั มนั บางทีความคิดท่ีหลอกเรา  มันก็มาในรูปของความอยากจะหาหนังสือ ธรรมะมาอา่ น กอ่ นปฏบิ ตั ไิ มเ่ คยคดิ อยากจะอา่ นหนงั สอื ธรรมะเลย แตพ่ อ ปฏบิ ตั เิ ขา้  แหม อยากจะอา่ นหนงั สอื เหลอื เกนิ  นน่ั แหละคอื กลวธิ ขี องจติ ท่ีจะดึงเราออกจากการปฏิบัติ  เพื่อที่จะเพิ่มความตื่นเต้นแปลกใหม่ให้แก่ 4 2 เ ท ่ า ท ั น ค ว า ม คิ ด

รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต ตัวเอง  อะไรก็ได้ท่ีมันแปลกใหม่ก็เอาท้ังน้ันแหละ  แม้แต่เป็นเรื่องท่ีเรา ไม่เคยสนใจมาก่อน  เช่น  เรื่องธรรมะ  หรือ  เรื่องงานเร่ืองการ  มันก็จะ ออกมา  ให้เรารู้เท่าทันมัน  โดยเฉพาะคนที่ย่ิงมีการศึกษามาก  มีความรู้ มากฉลาดมาก  กิเลสมันก็จะฉลาด  ความคิดและเหตุผลข้ออ้างมันจะ ซับซ้อนแยบยลตามไปด้วย  น่ีเราต้องรู้เท่าทัน  เราต้องอาศัยสติให้มาก เพราะถ้าเราไมม่ สี ติ เราก็จะหมดเน้อื หมดตัวไปกบั สง่ิ เหล่านี้ การปฏบิ ตั ใิ หไ้ ดผ้ ลและตอ่ เนอ่ื งไมเ่ ลกิ กลางคนั  ขนั้ แรกเราตอ้ งตง้ั จติ อธิษฐาน  อธิษฐานในท่ีนี้หมายถึง  ความตั้งจิตมั่นว่า  ฉันจะท�ำอย่างน้ัน อย่างน้ี  อธิษฐานไม่ได้แปลว่า  การร้องขอ  อย่างท่ีเข้าใจ กันในเวลาน้ี  เด๋ียวน้ีคนชอบอธิษฐานกับเทวดากับ พระอินทร์พระพรหมกันเยอะแยะ  น่ันไม่ใช่อธิษฐาน ตามความหมายเดมิ  อธษิ ฐานในทางพทุ ธศาสนาหมาย ถงึ การตง้ั จติ มน่ั ทจ่ี ะทำ�  เปน็ การบำ� เพญ็ บารมอี ยา่ งหนงึ่  ท่ี เรยี กวา่  อธษิ ฐานบารม ี เวลาปฏบิ ตั  ิ เราควรตง้ั จติ อธษิ ฐานวา่ ตลอด ๗ วนั  หรอื ตลอดเดอื นน ี้ ฉนั จะไม่ยอมท้ิงการปฏิบัติ  ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นก็ตาม แม้จะประสบกับปัญหาก็ไม่ย่อท้อ  แม้จะลังเลสงสัยก็จะยังไม่เลิก  ต่อเมื่อ พ้นกำ� หนดอธษิ ฐานแลว้  ถึงคอ่ ยว่ากนั ใหม่ อย่างนเ้ี ป็นตน้ พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 43

รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต ในการตงั้ จติ อธษิ ฐานแบบน ี้ เราจำ� เปน็ ตอ้ งมวี ริ ยิ ะเปน็ ทพั หนา้  คอื มี ความเพยี ร ความขยนั  ความตง้ั ใจ ไมท่ อ้ ถอย วริ ยิ ะยงั หมายถงึ ความกลา้ คือกล้าเอาชนะอุปสรรค  ไม่กลัว  เมื่อเอาวิริยะเป็นทัพหน้าแล้ว  ก็ให้ เอาปัญญาเป็นทัพหลัง  ปัญญาเป็นตัวสอดส่องดูว่าที่เราท�ำนี้มันถูกไหม เวลาเราทำ� นเ่ี ครยี ดหรอื เปลา่  ถา้ เครยี ดแสดงวา่ ท�ำผดิ แลว้  อยา่ ทำ� ตะพดึ - ตะพือไป  การปฏิบัตินี่ถ้าท�ำถูกจะเบา  ไม่เครียดหรือตื้อ  ต้องรู้จักใช้ ปญั ญา แตใ่ หเ้ อาปญั ญาเปน็ ทพั หลงั  เอาวริ ยิ ะเปน็ ทพั หนา้ กอ่ น เพราะถา้ เอาปัญญาเป็นทัพหน้าแล้ว  กิเลสมันจะหลอกในรูปของความลังเลสงสัย ไม่รู้จบ  เป็นวิจิกิจฉา  มันจะมาหลอกปัญญาให้สับสนจนเลิกปฏิบัติได้ ใหพ้ ยายามเอาวริ ยิ ะเปน็ ตวั นำ� หนา้ ในการปฏบิ ตั  ิ เพยี ร ไม่หยุด  ไม่ท้อถอย  ไม่เลิกกลางคัน  ขณะเดียวกันก็ เอาปัญญามาสอดส่อง เพ่ือกำ� กับการปฏิบัติของเราให้ ถูกทิศถูกทาง  บางครั้งก็ต้องรู้จักใช้ปัญญา ในการสลดั ความคดิ ฟงุ้ ซา่ นทงิ้ ไป เชน่  เวลา ฟุ้งซ่านเร่ืองงานหรือห่วงบ้าน  ก็ต้องรู้จัก ปลงใจดว้ ยปัญญาวา่  คดิ ไปตอนนกี้ ไ็ มม่ ีประโยชน์ เพราะตัวเราไม่ได้อยู่ในที่ท�ำงาน  เราไม่ได้อยู่บ้าน  จะเป็นห่วงลูกหลาน ญาตพิ นี่ อ้ งแคไ่ หน ตอนนเี้ รากช็ ว่ ยอะไรเขาไมไ่ ด ้ เพราะฉะนน้ั ใหว้ างเรอื่ ง เหล่านั้นไว้ก่อน  อันนี้คือการใช้ปัญญาเพื่อใช้ในการแก้อารมณ์  หรือตัด 4 4 เ ท ่ า ท ั น ค ว า ม คิ ด

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ความคิดฟุ้งซ่าน  จะเรียกว่าใช้ความคิดละความคิดก็ได้  แต่ต้องรู้จักคิด คดิ ทีจ่ ะวาง ไม่ใช่คดิ เพือ่ จะฟุ้ง อนั น้ีเรยี กว่าปญั ญา ปัญญาในการปฏิบัติน้ัน  ช่วยให้เรารู้จักละ  อะไรท่ีท�ำให้จิตฟุ้งนั่น ไม่ใช่ปัญญาแล้ว  แต่ว่าเป็นเหตุผลท่ีมาจากกิเลส  อย่าไปคิดว่าเหตุผล ทุกอย่างจะต้องเกิดจากปัญญา  เหตุผลที่มาจากความหลงหรือจากกิเลส น้นั มเี ยอะแยะ พอไดม้ าปฏบิ ตั เิ จรญิ สตอิ ยา่ งน้ีแหละ เราถงึ จะรวู้ า่ เหตผุ ล บางทีก็เชื่อไม่ได้  เพราะว่ากิเลสมันจะสร้างเหตุผลและข้ออ้างต่างๆ  ออก มามากมาย เพอื่ หลอกใหเ้ ราเลกิ ปฏบิ ตั  ิ ใหเ้ หนอื่ ยหนา่ ยคลายความเพยี ร ตอนนี้แหละท่ีเราจะรู้ว่าเหตุผลบางทีก็เชื่อไม่ได้  อย่าไป เช่ือเหตุผลไปเสียหมด  เพราะว่าคนเรานี่มันมีเหตุผล รอ้ ยประการเพอ่ื ทจี่ ะสนองกเิ ลส เวลาพก่ี บั นอ้ งทะเลาะกนั เพื่อแบ่งขนม  ต่างคนต่างก็มีเหตุผลว่าท�ำไมตนควรจะ ได้มากกว่าอีกคน  พี่ก็บอกว่าฉันเป็นพี่ตัวโตกว่า กนิ จกุ วา่  ฉนั ควรจะไดม้ ากกวา่ นอ้ ง สว่ นนอ้ งกบ็ อก ว่าเป็นพี่กินของดีๆ  มามากแล้ว  ควรจะเสียสละ ให้แก่น้อง  เพราะฉะน้ันน้องควรจะได้มากกว่า ท้งั พี่ทัง้ นอ้ งต่างกม็ เี หตผุ ลท่จี ะเขา้ ขา้ งตัวเอง พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 45

รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต คนเรามีเหตุผลเยอะแยะ  คนที่จะตัดไม้ท�ำลายป่า  เขาก็มีเหตุผล เหตุผลท่ีเขามักอ้างก็คือว่า  ถ้าเขาไม่ตัดคนอื่นก็ตัด  ถึงฉันไม่ท�ำคนอื่น กท็ ำ�  เพราะฉะนน้ั ฉนั ทำ� กอ่ นดกี วา่  ถงึ ฉนั ไมต่ ดั ปา่  ยงั ไงปา่ กต็ อ้ งหมดอยดู่ ี พวกที่ท�ำธุรกิจเขาก็มีเหตุผลที่จะหนีภาษี  เป็นเหตุผลที่ดูสวย  เขาอาจจะ บอกว่าฉันหาเงินแทบเป็นแทบตาย  แต่พวกนักการเมืองพวกข้าราชการ ไม่เห็นท�ำอะไร  ท�ำไมฉันต้องเอาเงินของฉันไปให้พวกนั้น ด้วย  จ่ายภาษีไปมากๆ  พวกนักการเมืองพวกข้าราชการ มนั กเ็ อาไปกนิ กนั  มนั ไมไ่ ดเ้ อาไปพฒั นาประเทศหรอก มนั ตง้ั หนา้ แต่จะกินเงินภาษีของฉัน  เพราะฉะนั้นฉันเล่ียงภาษีดีกว่า  ฉันจ่ายภาษี น้อยๆ  ดีกว่า  แล้วเอาเงินไปช่วยคนยากคนจนหรือเด็กก�ำพร้าจะไม่ดี กว่าหรือ  น่ีก็คือเหตุผลท่ีพวกพ่อค้านักธุรกิจใช้เป็นข้ออ้างเพ่ือหนีภาษี นกั การเมอื งกม็ เี หตผุ ลวา่ ฉนั ตอ้ งคอรปั ชนั่ เพอ่ื วา่ ฉนั จะไดช้ นะการเลอื กตง้ั จะได้บริหารประเทศให้เกิดประโยชนแ์ ก่ประชาชนใหม้ ากที่สดุ  หากปลอ่ ย ให้อกี พรรคได ้ มันคงพาประเทศไปเปน็ ทาสต่างชาติ อะไรทำ� นองน้นั  จะ เห็นว่าคนเรามีเหตุผลร้อยแปดเพื่อจะท�ำช่ัวได้เสมอ  จนกระท่ังมีบางคน บอกว่า  แม้กระท่ังผีห่าซาตานก็มีเหตุผลของมัน  เพราะฉะนั้นเราอย่า ไปเชื่อเหตุผลมากเกินไป  ใช่ว่าพอเป็นเหตุผลแล้วมันจะดีไปเสียทุกอย่าง กไ็ มใ่ ช ่ เราจะตอ้ งระวงั  ถา้ เราเจรญิ สต ิ อยา่ งนแ้ี หละ เราจะเหน็ ไดเ้ ลยวา่ เหตุผลมันเช่ือไม่ได้ทั้งหมด  ทุกคนก็มีเหตุผลของตัวเอง  เป็นเหตุผลจะ 4 6 เ ท ่ า ท ั น ค ว า ม คิ ด

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต เอาเขา้ ตวั เองหรือสนองกเิ ลสกเ็ ยอะแยะ เพราะฉะน้ันเราต้องระวงั อยา่ ไป เชอื่ ความคิดมาก อย่าไปเชอื่ เหตผุ ลมาก ถ้าเราเข้าใจเหตุผล  มีสติเท่าทันเหตุผล  เท่าทันความคิด  เราก็จะ เริ่มรู้จักตัวเองมากขึ้น  เราก็จะไม่ลืมไม่หลง  สตินี่คือความไม่ลืม  ถ้าเรา ลืมเม่ือไหร่แสดงว่าเราเผลอสติ  เช่น  เวลาปฏิบัติๆ  บางทีเราลืมไปว่า เราก�ำลังปฏิบัติอยู่ก็เลยไปฟุ้งแทน  เราฟุ้งเพราะเราลืมว่าหน้าท่ีของเรา ตอนนคี้ อื การปฏบิ ตั  ิ แตพ่ อเราระลกึ ไดเ้ มอ่ื ไหรว่ า่ เรามหี นา้ ทจี่ ะตอ้ งปฏบิ ตั ิ เร่ืองอื่นไม่ส�ำคัญทิ้งไว้ก่อน  จะเป็นงานการหรือเรื่องท่ีบ้านให้ท้ิงไว้ก่อน ตวั ทร่ี ะลกึ ไดว้ า่ งานของเราขณะนคี้ อื  เดนิ จงกรม ตามลมหายใจ นน่ั แหละ คือสติ  สติคือเครื่องเตือนใจไม่ให้ลืม  ไม่ลืมว่าขณะนี้เราก�ำลังท�ำอะไรอยู่ เวลาเราสวดมนตท์ �ำวัตร ใจก็คดิ ไปโน่นคิดไปนี่ ตัวท่ีระลกึ ได้ว่าตอนนีฉ้ ัน สวดมนต์อยู่นะ  ให้กลับมาที่น่ี  กลับมาอยู่กับการสวดมนต์  นั่นแหละ คอื สต ิ ทเ่ี ขาเรียกวา่ ความระลึกได ้ ไม่ใช่แคร่ ะลึกไดถ้ ึงเบอร์โทรศพั ทห์ รือ เรื่องนั้นเรื่องน้ีเท่านั้น  แต่ยังหมายถึงการระลึกได้ว่าเวลาน้ีขณะนี้ฉัน ก�ำลงั ท�ำอะไรอย ู่ น้ีเป็นหน้าที่ของสติ เมื่อจิตกลับมาสู่การปฏิบัติ  กลับมาสู่อิริยาบถขณะนั้นๆ  จะเกิด สภาวะที่เรียกว่าความรู้ตัวทั่วพร้อม  ความรู้ตัวท่ัวพร้อมนี่แหละท่ีเรียกว่า พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 47

รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต สัมปชัญญะ คือความไม่หลง เวลาปฏิบัติเราจะต้องจำ� คู่นี้ให้ได้ คือ สติ และสัมปชัญญะ  สติสัมปชัญญะคือคู่ที่มีอุปการะมากต่อการปฏิบัติ ความลมื และความหลงคอื อปุ สรรคตอ่ การปฏบิ ตั แิ ละท�ำใหเ้ รามคี วามทกุ ข์ เมื่อเรามีสติระลึกได้ว่าเราก�ำลังท�ำอะไรอยู่  ก�ำลังกินข้าว  ก�ำลังถูพื้น กำ� ลงั ทำ� วตั ร ดงึ จติ กลบั จากอดตี และอนาคต มาสกู่ ารกระทำ� ในขณะนน้ั ๆ ที่เรียกว่าปัจจุบันขณะ  ก็จะเกิดสัมปชัญญะคือความรู้ตัวทั่วพร้อม  รู้ว่า จะท�ำอะไรได้อย่างถูกต้องไม่ผิดพลาด  เช่น  ล้างจานก็วางจานได้เป็นท่ี เปน็ ทางหรือว่าเวลาเราไปเจรจากับใคร แม้เขาพูดจายั่วยุไมถ่ ูกหูเรา เรา กย็ งั พดู คยุ ใหต้ รงกบั เรอ่ื งหรอื ตรงตามความมงุ่ หมายของเราได ้ รวู้ า่ จะพดู อย่างไรให้เขาเข้าใจและเห็นด้วย  ไม่เฉไฉไปทะเลาะกับเขา  อันน้ีเรียกว่า สัมปชัญญะในงานท่ที �ำ มีตัวอย่างหนึ่งซ่ึงชัดเจน  อาตมาเอามาพูดบ่อย  เป็นตัวอย่างจาก ท่านอาจารย์พุทธทาส  ท่านว่าเมื่อหลายสิบปีก่อนสมัยที่เมืองไทยยัง ใชส้ ตางคแ์ ดงอย ู่ ทารกคนหนงึ่ เผลอไปกลนื สตางคแ์ ดงเขา้ แลว้ ตดิ คอ แม่ รู้เข้าก็ตกใจท�ำอะไรไม่ถูก  แต่แล้วก็นึกข้ึนมาได้ว่าน้�ำกรดน้ันกัดทองแดง ได้  ก็เลยรีบไปคว้าเอาน�้ำกรดมากรอกใส่ปากลูก  กรอกแล้วสตางค์แดง หลุดออกจากคอไหม  หลุด  แต่ว่าลูกน้ีแย่เลย  น่ีเป็นเพราะขาดสติและ สมั ปชญั ญะ แมต่ นื่ ตกใจแสดงวา่ ไมม่ สี ต ิ ลมื ตวั ปลอ่ ยใหค้ วามตน่ื ตกใจเขา้ 4 8 เ ท ่ า ท ั น ค ว า ม คิ ด

รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต มาครอบง�ำ  เมื่อความต่ืนตกใจเข้ามาครอบง�ำ  ส่ิงที่ท�ำตามมาคือความ หลง  คือรู้ผิดๆ  รู้อย่างครึ่งๆ  กลางๆ  แม่รู้ว่าน้�ำกรดน้ันกัดทองแดงได้ อันนี้จะเรียกปัญญาก็ได้  แต่เป็นปัญญาท่ีไม่ครบถ้วนหรือเป็นปัญญาท่ี ใช้ผิดที่ผิดทาง เพราะเอาน้ำ� กรดไปใช้กับคนกับลูกของตัว นำ้� กรดมันกัด ทองแดงได้ก็จริง  แต่ก็เป็นอันตรายกับร่างกาย  การใช้น�้ำกรดอย่างผิดท่ี ผิดทางน้ีเป็นเพราะขาดสัมปชัญญะ  เม่ือขาดสัมปชัญญะคือความหลง  ก็ ท�ำให้ท�ำกิจต่างๆ  อย่างผิดพลาดไม่ถูกต้องตามจุดมุ่งหมาย  ที่นี้ถ้าเรามี สติก็จะเกิดสัมปชัญญะคือความรู้ตัวตามมา  เมื่อรู้ตัวก็ไม่หลง  สามารถ ใช้ปัญญาอย่างถูกต้องว่า  ในสถานการณ์เช่นน้ีใช้น้�ำกรดได้หรือเปล่า สัมปชัญญะเป็นตัวช่วยให้ใช้ปัญญาได้อย่างถูกต้องทุกกรณี  สัมปชัญญะ นี้ถือเป็นธรรมฝ่ายปัญญาที่ช่วยให้เราทำ� งานท�ำกิจต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง เนื่องจากมคี วามร้ตู ัวท่วั พร้อม สติกบั สมั ปชัญญะนเ้ี ป็นของค่กู นั  เม่อื ไมล่ ืมกไ็ มห่ ลง เม่ือไมล่ มื ตวั กไ็ มท่ �ำอะไรผดิ ๆ พลาดๆ สตแิ ละสมั ปชญั ญะน ี้ พระพทุ ธองคต์ รสั วา่ เปน็ ธรรมอนั มอี ปุ การะมาก แตบ่ อ่ ยครงั้ เรามกั พดู วา่  สต ิ คอื ความรตู้ วั  อนั นี้ เป็นการพูดแบบรวบรัด  ซึ่งก็ไม่ผิด  เพราะว่าสติและสัมปชัญญะเป็น พ่ีน้องท่ีใกล้กันมาก  มีสติเมื่อไหร่  สัมปชัญญะก็เกิดข้ึนเม่ือนั้น  ระลึกได้ เม่ือไหร่ว่าตัวเองก�ำลังท�ำอะไรอยู่  เมื่อนั้นก็เกิดความรู้สึกตัวทั่วพร้อม พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล 49