Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรปรับปรุง 2559

หลักสูตรปรับปรุง 2559

Published by suwaphitcha, 2018-06-12 00:03:58

Description: หลักสูตรปรับปรุง 2559

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ตบ์ ัณฑติ หมายเหตุ ปรับชื่อกล่มุ วชิ าสาขาวิชาการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2559กสูตรศึกษาทว่ั ไป ไม่น้อยกวา่ 30 หนว่ ยกติวชิ าภาษาเพื่อการส่ือสาร ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิตวชิ าอัตลักษณแ์ ละคณุ ภาพชวี ติ 4 หน่วยกิตตบูรพา ไมน่ ้อยกว่าทักษะชีวติ และความรับผิดชอบต่อ 7 หน่วยกิตและสิ่งแวดลอ้ ม ไม่น้อยกวา่วิชานวัตกรรมและความคดิ สรา้ งสรรค์ 4 หนว่ ยกติยกวา่วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไมน่ ้อยกวา่ 3 หน่วยกติ 82

หลกั สตู รการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์บณั ฑิต ห สาขาวิชา การแพทย์แผนไทยประยุกต์ โครงสร้างหลกั 2) หมวดวิชาเฉ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 กลุ่มวชิ าพื้นฐาโครงสร้างหลกั สูตร (ต่อ) ก. วทิ ยา ข. พ้นื ฐ2) หมวดวชิ าเฉพาะ 106 หน่วยกิต ค. วทิ ยา กล่มุ วิชาชพีกลุ่มวชิ าพ้ืนฐานวชิ าชีพ 60 หนว่ ยกติ ก. วิชาช ข. ฝกึ ปก. วทิ ยาศาสตร์ 13 หน่วยกิต 3) หมวดวิชาเล อาจารย์ผู้รับผข. พนื้ ฐานวิทยาศาสตร์การแพทย์ 25 หน่วยกิต 1. นางสาวพล 2. นางสาววรัมค. วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 22 หน่วยกติ 3. นางสาวชลา 4. นางสาวจริ ากลมุ่ วชิ าชพี 46 หนว่ ยกติ 5. เภสัชกรหญก. วิชาชีพ 31 หน่วยกิตข. ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ 15 หนว่ ยกติ3) หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกติอาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบหลกั สตู ร (เดิม)1. นางสาวพลอยชนก ปทมุ านนท์2. เภสชั กรหญงิ ดร. สภุ าภรณ์ ปติ ิพร3. นางสาวชลกร ขวัญชัยนนท์4. นางลักษณา จันทร์แจ่มหล้า5. เภสัชกรหญงิ ศริ วิ ดี บุญมโหตม์

หลกั สูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑติ หมายเหตุ ปรบั เปลี่ยนสาขาวิชา การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ คงเดิมหลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2559 ปรับเปลย่ี นกสูตร (ต่อ)ฉพาะ 108 หน่วยกิตานวิชาชพี 61 หนว่ ยกติาศาสตร์ 13 หนว่ ยกิตฐานวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 27 หนว่ ยกิตาศาสตรก์ ารแพทย์ 21 หนว่ ยกิต 47 หนว่ ยกติชีพ 30 หนว่ ยกิตประสบการณ์วิชาชีพ 17 หนว่ ยกติลอื กเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกิตผดิ ชอบหลักสูตร (ใหม่)ลอยชนก ปทมุ านนท์มพา สวุ รรณรตั น์าลยั โชคดีศรจี ันทร์าภรณ์ โยวทติ ย์ญงิ ศริ ิวดี บุญมโหตม์ 83

ตารางเปรยี บเทียบรายวิชา (หลกั ส หลกั สตู รการแพทย์แผนไทยประยุกตบ์ ัณฑติ สาขาวชิ า การแพทย์แผนไทยประยุกต์ หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554รหสั วชิ า ชื่อวิชา หน่วยกติ รหสั วิชาหมวดวชิ าเฉพาะ 3 (3-0-6) 30310759 3 (3-0-6) 30610059พืน้ ฐานวิชาชพี 1 (0-3-0) 30610159 3 (3-0-6) 30810659ก. วทิ ยาศาสตร์ 3 (3-0-6) 30322059303107 เคมีพน้ื ฐาน Basic Chemistry306100 ชวี วิทยาทว่ั ไป 1 General Biology I306101 ปฏบิ ัติการชีววทิ ยาทั่วไป General Biology Laboratory I308106 ฟสิ ิกสส์ าหรับวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ Physics for Health Science303220 เคมีอินทรยี ์ Organic Chemistry

สตู รเดิมและหลักสตู รปรับปรุง) หมายเหตุ หลกั สตู รการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์บัณฑิต สาขาวชิ า การแพทย์แผนไทยประยุกต์ หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559 ชื่อวิชา หน่วยกิตเคมพี น้ื ฐาน 3 (3-0-6) เปลี่ยนรหสั วชิ าBasic Chemistry 3 (3-0-6) เปลย่ี นรหสั วชิ า 1 (0-3-1) เปล่ยี นรหัสวิชาชวี วทิ ยาท่วั ไป 1 3 (3-0-6) เปล่ยี นรหัสวิชาGeneral Biology I 3 (3-0-6) เปลี่ยนรหสั วิชาปฏบิ ตั ิการชีววิทยาท่ัวไปGeneral Biology Laboratory Iฟสิ กิ ส์สาหรบั วทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพPhysics for Health Scienceเคมีอนิ ทรยี ์Organic Chemistry 84

หลกั สตู รการแพทย์แผนไทยประยุกตบ์ ณั ฑิต 2 (2-0-4) 31620259 สาขาวิชา การแพทย์แผนไทยประยุกต์ 1 (1-0-2) 65110159 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 3 (2-3-4) 65110259ข. พนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ 316202 ชวี เคมีสาหรับวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ Biochemistry for Health Sciences 651101 ศัพท์แพทย์ Medical terminology 651202 เภสัชพฤกษศาสตร์และพฤกษศาสตรพ์ ้นื บา้ น Pharmaceutical Botany and Ethnobotany651203 เภสัชเวท 3 (2-3-4) 65130359680103 Pharmacognosy 4 (3-3-6) 68010359680211 กายวิภาคศาสตรข์ องมนุษย์ 3 (2-3-4) 68021159 Human Anatomy สรรี วิทยาพนื้ ฐานของมนุษยส์ าหรบั วทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ Principle of Human Physiology for Health Sciences

หลกั สูตรการแพทยแ์ ผนไทยประยุกตบ์ ัณฑติ หมายเหตุ สาขาวิชา การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2559ชวี เคมสี าหรบั วิทยาศาสตร์สุขภาพ 2 (2-0-4) เปลี่ยนรหัสวิชาBiochemistry for Health Sciences 1 (1-0-2) เปลยี่ นรหสั วิชาศพั ท์แพทย์ 3 (2-3-4) เปลย่ี นรหสั วชิ าMedical terminologyเภสัชพฤกษศาสตรแ์ ละพฤกษศาสตร์ 3 (2-3-4) เปล่ยี นรหสั วชิ าพ้นื บา้ น 4 (3-3-6) เปล่ียนรหัสวชิ าPharmaceutical Botany and 3 (2-3-4) เปลีย่ นรหัสวิชาEthnobotanyเภสชั เวทPharmacognosyกายวภิ าคศาสตรข์ องมนุษย์Human Anatomyสรรี วิทยาพื้นฐานของมนษุ ย์สาหรับวิทยาศาสตรส์ ุขภาพPrinciple of Human Physiology forHealth Sciences 8354

680213 หลักสูตรการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์บณั ฑติ 3 (3-0-6) 68021359 สาขาวิชา การแพทย์แผนไทยประยุกต์ 68024259 หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554 พยาธสิ รีรวทิ ยาสาหรบั วิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ Pathophysiology for Health Sciences 703313 จลุ ชวี วิทยา ปรสิตวทิ ยาและวทิ ยาภูมิค้มุ กนั 3 (2-2-5) 65124359 Microbiology Parasitology and 3 (3-0-6) 79223559 Immunology 1 (1-0-2) 65110459 792235 เภสัชวิทยาเบอ้ื งตน้ 2 (2-0-4) 65120659 Principle of Pharmacologyค. วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ 652101 มานุษยวิทยาการแพทย์ Medical Anthropology 652102 ทักษะการใหค้ าปรึกษาและส่ือสารในการ บรกิ ารแพทยแ์ ผนไทย Counseling and Communication skill in Thai Traditional Medicine

หลักสตู รการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์บัณฑติ 3 (3-0-6) หมายเหตุ สาขาวิชา การแพทย์แผนไทยประยุกต์ 2 (2-0-4) เปลี่ยนรหัสวิชา หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2559 3 (2-2-5) 3 (3-0-6) เพม่ิพยาธสิ รรี วทิ ยาสาหรบั วทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ เปลี่ยนรหสั วชิ าPathophysiology for Health Sciences เปล่ียนรหสั วชิ าพยาธวิ ทิ ยาสาหรับการแพทย์แผนไทยPathology for Thai Traditional เปลยี่ นรหสั วิชาMedicineจลุ ชีววิทยา ปรสติ วทิ ยาและวทิ ยาภูมคิ ุม้ กนั แกค้ าอธิบายรายวชิ าMicrobiology Parasitology andImmunologyเภสัชวิทยาเบอื้ งต้นPrinciple of Pharmacologyมานษุ ยวทิ ยาการแพทย์ 1 (1-0-2) เปลย่ี นรหัสวิชาMedical Anthropology 2 (2-0-4) เปลย่ี นรหสั วชิ าทกั ษะการใหค้ าปรึกษาและสื่อสารในการบริการแพทยแ์ ผนไทยCounseling and Communication skillin Thai Traditional Medicine 86

652114 หลักสูตรการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ตบ์ ณั ฑิต 1 (1-0-2) 65110559 สาขาวชิ า การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์652203 หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2554 4 (2-4-6) 65130759652204 4 (2-4-6) 65130859652215 บทนาการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ 2 (1-2-3) Introduction to Applied Thai -652305 Traditional Medicine 2 (1-2-3)652306 การตรวจรา่ งกายและวนิ จิ ฉัยโรค 2 (1-2-3) 65130959 Physical Examination and Diagnosis 65131059 เวชศาสตรท์ ั่วไป General Medicine การฝึกงานในชุมชนสาหรบั แพทย์แผนไทย ประยุกต์ Community Training for Applied Thai Traditional Medicine การดูแลรักษาแบบองคร์ วม Holistic health care การวจิ ยั ทางการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ Research in Applied Thai Traditional Medicine

หลกั สตู รการแพทย์แผนไทยประยุกต์บณั ฑติสาขาวิชา การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ หมายเหตุ เปล่ยี นรหัสวิชาหลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2559 เปล่ยี นรหสั วชิ าบทนาการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ 1 (1-0-2) เปลี่ยนรหสั วชิ าIntroduction to Applied Thai ลดTraditional Medicineการตรวจรา่ งกายและวนิ จิ ฉัยโรค 4 (2-4-6)Physical Examination and Diagnosisเวชศาสตร์ทั่วไป 4 (2-4-6)General Medicine --การดูแลรกั ษาแบบองค์รวม 2 (1-2-3) เปลย่ี นรหัสวชิ าHolistic health care 2 (1-2-3) เปลีย่ นรหสั วชิ าการวจิ ยั ทางการแพทย์แผนไทยประยุกต์Research in Applied Thai TraditionalMedicine 8374

652307 หลกั สูตรการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์บณั ฑิต 1 (1-0-2) 65131159 สาขาวชิ า การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2554 การสืบคน้ และรังสีวทิ ยา Common Investigations 652308 คุณธรรม จรยิ ธรรมและกฎหมายทางการ 1 (1-0-2) 65131259 แพทย์ 2 (2-0-4) 65124259 Moral, Medical Ethics and Law 3 (2-3-4) 65121359 704102 อาหารและโภชนาการ 3 (2-3-4) 65131459 Food and Nutrition 3 (2-3-4) 65131559หมวดวิชาชพี แพทย์แผนไทยก. วิชาชีพ 653301 เวชกรรมไทยประยุกต์ 1 Applied Thai Traditional Medicine 1 653302 เวชกรรมไทยประยกุ ต์ 2 Applied Thai Traditional Medicine 2 653403 เวชกรรมไทยประยกุ ต์ 3 Applied Thai Traditional Medicine 3

หลกั สตู รการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์บัณฑิตสาขาวชิ า การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ หมายเหตุ หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2559 เปลี่ยนรหัสวิชา เปลี่ยนชอื่ วิชาการสืบคน้ ทางเวชศาสตรท์ ว่ั ไป 2 (1-2-3) เพ่มิ หน่วยกิต เปลี่ยนรหัสวชิ าCommon Investigation In General เปลย่ี นรหัสวิชาMedicine เปล่ียนชื่อวิชาคุณธรรม จริยธรรมและกฎหมายทางการ 1 (1-0-2)แพทย์Moral, Medical Ethics and Lawอาหารและโภชนาการวิถีไทย 2 (2-0-4)Thai Style of Food and Nutritionเวชกรรมไทยประยกุ ต์ 1 3 (2-3-4) เปลย่ี นรหสั วชิ าApplied Thai Traditional Medicine I 3 (2-3-4) เปล่ยี นรหัสวิชาเวชกรรมไทยประยุกต์ 2 3 (2-3-4) เปลย่ี นรหัสวชิ าApplied Thai Traditional Medicine IIเวชกรรมไทยประยุกต์ 3Applied Thai Traditional Medicine II 88

654301 หลักสตู รการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์บัณฑติ 3 (2-3-4) 65121659654302 สาขาวิชา การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ 3 (2-3-4) 65131759654403 หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554 3 (2-3-4) 65131859655301 3 (2-3-4) 65121959655302 เภสัชกรรมไทยประยุกต์ 1 3 (2-3-4) 65122059655403 Applied Thai Traditional Pharmacy 1 3 (2-3-4) 65132159 เภสัชกรรมไทยประยุกต์ 2 Applied Thai Traditional Pharmacy 2 เภสชั กรรมไทยประยุกต์ 3 Applied Thai Traditional Pharmacy 3 หัตถเวชกรรมไทยประยุกต์ 1 Applied Thai Traditional Massage 1 หตั ถเวชกรรมไทยประยุกต์ 2 Applied Thai Traditional Massage 2 หัตถเวชกรรมไทยประยุกต์ 3 Applied Thai Traditional Massage 3656301 ผดงุ ครรภแ์ ผนไทยประยกุ ต์ 3 (3-0-6) 65132259 Midwifery for Applied Thai Traditional Medicine

หลกั สตู รการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑติสาขาวชิ า การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ หมายเหตุ เปลย่ี นรหสั วิชาหลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559 เปล่ยี นรหสั วิชา เปลย่ี นรหัสวิชาเภสัชกรรมไทยประยุกต์ 1 3 (2-3-4) เปลี่ยนรหัสวชิ า เปลี่ยนรหัสวชิ าApplied Thai Traditional Pharmacy I เปล่ียนรหสั วชิ าเภสชั กรรมไทยประยุกต์ 2 3 (2-3-4) เปล่ียนรหสั วิชาApplied Thai Traditional Pharmacy IIเภสัชกรรมไทยประยุกต์ 3 3 (2-3-4)Applied Thai Traditional Pharmacy IIIหัตถเวชกรรมไทยประยุกต์ 1 3 (2-3-4)Applied Thai Traditional Massage Iหตั ถเวชกรรมไทยประยุกต์ 2 3 (2-3-4)Applied Thai Traditional Massage IIหตั ถเวชกรรมไทยประยุกต์ 3 3 (2-3-4)Applied Thai Traditional Massage IIIผดงุ ครรภ์แผนไทยประยกุ ต์ 3 (2-3-4)Midwifery for Applied Thai TraditionalMedicine 89

หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์บัณฑิตสาขาวชิ า การแพทย์แผนไทยประยุกต์หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2554656302 การปฏิบัตกิ ารผดงุ ครรภแ์ ผนไทยประยุกต์ 1 (0-6-0) Midwifery Practice for Applied ThaiTraditional Medicineข. ฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี653404 การฝกึ เวชกรรมปฏบิ ัติแพทย์แผนไทย 5 (0-20-10) 65142359ประยกุ ต์Applied Thai Traditional MedicinePractice654404 การฝกึ เภสชั กรรมปฏิบตั ิแพทย์แผนไทย 5 (0-20-10) 65142459ประยกุ ต์Applied Thai Traditional PharmacyPractice655404 การฝึกหตั ถเวชกรรมปฏบิ ตั ิแพทยแ์ ผนไทย 5 (0-20-10) 65142559 ประยุกต์ Applied Thai Traditional MassagePractice

หลกั สูตรการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ตบ์ ณั ฑติ หมายเหตุ สาขาวิชา การแพทย์แผนไทยประยุกต์ เปลยี่ นกลุ่ม หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559ฝึกประสบการณเ์ วชกรรมแพทย์แผนไทย 5 (0-15-8) เปล่ียนรหสั วชิ าประยุกต์ 5 (0-15-8) เปลย่ี นชอื่ วิชาApplied Thai Traditional Medicine 5 (0-15-8) ปรับหน่วยกิตPractice เปล่ียนรหสั วิชาฝกึ ประสบการณเ์ ภสชั กรรมแพทยแ์ ผนไทย เปลยี่ นช่อื วชิ าประยกุ ต์ ปรับหนว่ ยกติApplied Thai Traditional PharmacyPractice เปลีย่ นรหสั วชิ า เปล่ียนช่อื วิชาฝึกประสบการณห์ ัตถเวชกรรมแพทยแ์ ผน ปรับหนว่ ยกิตไทยประยุกต์Applied Thai Traditional MassagePractice 90

หลักสตู รการแพทย์แผนไทยประยุกตบ์ ัณฑติ สาขาวิชา การแพทย์แผนไทยประยุกต์ หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554 65142659หมวดวชิ าเลือกเสรี 2 (1-3-2) 65122759 651207 การแพทยท์ างเลือก 2 (2-0-4) 65132859 2 (1-4-1) 65132959 Alternative Medicine 2 (2-0-4) 65143059 651305 พืชสมนุ ไพรเกษตรอนิ ทรยี ์ Organic Agricultural Herb 651309 ระบาดวิทยาและชีวสถิติเบอื้ งตน้ Basic epidemiology and biostatistics 651407 การจัดการบริการสุขภาพแผนไทย Thai Traditional Health Service Management

หลกั สตู รการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑติ หมายเหตุ สาขาวิชา การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559 เปลย่ี นกลมุ่ วชิ า เปลี่ยนรหัสวชิ าฝกึ ประสบการณก์ ารผดงุ ครรภแ์ ผนไทย 2 (0-12-6) เปล่ียนชอ่ื วิชาประยกุ ต์ เพิ่มหน่วยกติMidwifery Practice for Applied Thai ปรับหนว่ ยกติTraditional Medicineการแพทยท์ างเลือก 2 (1-2-3) เปลี่ยนรหัสวชิ าAlternative Medicine 2 (2-0-4)พชื สมุนไพรเกษตรอนิ ทรยี ์ 2 (1-2-3) เปลี่ยนรหสั วิชาOrganic Agricultural Herb 2 (2-0-4) เปล่ยี นรหัสวชิ าระบาดวิทยาและชวี สถติ ิเบอื้ งตน้ แก้ไขหนว่ ยกิตBasic epidemiology and biostatistics เปลยี่ นรหัสวิชาการจดั การบริการสขุ ภาพแผนไทย ThaiTraditional Health ServiceManagement 91

652116 หลักสตู รการแพทยแ์ ผนไทยประยุกตบ์ ัณฑิต 3 (2-2-5) 65113159 สาขาวชิ า การแพทย์แผนไทยประยุกต์ 65113259652117 หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2554 2 (1-2-3)652118 2 (1-2-3) 65133859 การดแู ลสขุ ภาพและบาบดั เบ้ืองต้นโดย 65133959652309 ศาสตร์กดจดุ สะท้อนท่ีใบหู 2 (2-0-4)652310 Global Health Care by Ear 2 (2-0-4)652411 Acupressure 3 (2-2-5) สมนุ ไพรในชีวิตประจาวัน Herbal in Daily Life การดแู ลสขุ ภาพด้วยการแพทยแ์ ผนไทย Health care with Thai Traditional Medicine การบาบดั ด้วยเครื่องหอม Aromatherapy จติ และสมาธเิ พ่ือสุขภาพ Mental and Meditation for Health พ้นื ฐานศาสตรก์ ารแพทยจ์ ีน Basic Theory of Traditional Chinese Medicine

หลักสตู รการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ตบ์ ณั ฑิต หมายเหตุ สาขาวิชา การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ ลด หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2559สมุนไพรในชวี ติ ประจาวนั 2 (1-2-3) เปล่ียนรหสั วชิ า 2 (1-2-3) เปลี่ยนรหสั วชิ าHerbal in Daily Lifeการดูแลสุขภาพดว้ ยการแพทย์แผนไทย 2 (2-0-4) เปลย่ี นรหัสวชิ าHealth care with Thai Traditional 2 (2-0-4) เปล่ยี นรหสั วชิ าMedicineการบาบัดดว้ ยเครื่องหอม ลดAromatherapyจติ และสมาธิเพ่ือสขุ ภาพMental and Meditation for Health 92

หลกั สตู รการแพทย์แผนไทยประยุกตบ์ ัณฑิต สาขาวิชา การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2554 652412 การวินิจฉยั เบ้อื งตน้ ของศาสตรก์ ารแพทย์ 3 (2-2-5) 652413 แผนจนี652119 Basic Diagnosis in Traditional Chinese 652120 652121 Medicine 652122 652123 สมั มนาทางแพทย์แผนไทยประยุกต์ 2 (1-3-3) 65144059 Seminar in Applied Thai Traditional 65113359 65113459 Medicine 65113559 65113659 ธรรมชาตบิ าบัดกับการท่องเที่ยวเชงิ สุขภาพ 3 (3-0-6) 65113759 Natural Therapy for Medical Tourism ฤาษดี ัดตนเพื่อสขุ ภาพ 1 (0-2-1) Rue-si dotton for Health สขุ ภาพความงามและสปา 2 (2-0-4) Beauty health and Spa เภสชั ภณั ฑ์จากสมนุ ไพร 2 (1-2-3) Medical supplies from herb การดแู ลสขุ ภาพด้วยการนวดไทย 2 (1-2-3) Health care with Thai massage

หลักสตู รการแพทยแ์ ผนไทยประยุกตบ์ ณั ฑิต หมายเหตุ สาขาวชิ า การแพทย์แผนไทยประยุกต์ ลด หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559สัมมนาทางแพทย์แผนไทยประยุกต์ 2 (1-2-3) เปล่ียนรหัสวชิ าSeminar in Applied Thai TraditionalMedicine 3 (3-0-6) เปลีย่ นรหสั วิชาธรรมชาตบิ าบดั กบั การทอ่ งเที่ยวเชิงสุขภาพ 1 (0-2-1) เปลี่ยนรหัสวิชาNatural Therapy for Medical Tourism 2 (2-0-4) เปลยี่ นรหัสวชิ าฤาษดี ดั ตนเพื่อสขุ ภาพ 2 (1-2-3) เปลย่ี นรหัสวิชาRue-si dotton for Health 2 (1-2-3) เปลี่ยนรหัสวชิ าสขุ ภาพความงามและสปาBeauty health and Spaเภสชั ภัณฑจ์ ากสมุนไพรMedical supplies from herbการดแู ลสขุ ภาพด้วยการนวดไทยHealth care with Thai massage 93

หลกั สูตรการแพทย์แผนไทยประยุกตบ์ ณั ฑติ สาขาวชิ า การแพทย์แผนไทยประยุกต์ หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554 65114159

หลักสตู รการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์บัณฑติสาขาวิชา การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ หมายเหตุ เพมิ่หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2559การแพทยแ์ ผนไทยเพ่ือความงาม 2 (1-2-3)Science Thai Traditional Medicine forbeauty 94

เอกสารแนบหมายเลข 5 95 (สำเนำ) คำส่งั คณะกำรแพทย์แผนไทยอภยั ภูเบศร ที่ ๐๐๗/๒๕๕๙เรือ่ ง แตง่ ต้งั คณะกรรมกำรดำเนนิ กำรปรับปรงุ หลักสูตรกำรแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ตบ์ ัณฑิต ------------------------------------------------------------------- เพือ่ ให้กำรดำเนนิ กำรปรับปรุงหลกั สตู รกำรแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ตบ์ ัณฑติ สำขำวชิ ำกำรแพทย์แผนไทยประยุกต์ เป็นไปตำมกรอบมำตรฐำนคุณวุฒริ ะดบั อุดมศกึ ษำ อำศัยอำนำจ ข้อ ๑๑ (๑)ของคำสง่ั มหำวิทยำลยั บรู พำ ท่ี ๓๕๐๒/๒๕๕๓ ลงวันท่ี ๒๓ ธันวำคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เรือ่ ง กำรมอบอำนำจของอธิกำรบดดี ำ้ นกำรบรหิ ำรท่ัวไป ใหร้ องอธิกำรบดี ผู้ชว่ ยอธกิ ำรบดี หัวหน้ำส่วนงำน หวั หน้ำสว่ นงำนภำยใน หัวหน้ำหน่วยตรวจสอบภำยในปฏิบัติกำรแทน ประกอบกบั คำสง่ั มหำวทิ ยำลยั บูรพำ ท่ี ๑๐๗๐/๒๕๕๗ เรอื่ ง กำรมอบอำนำจใหห้ วั หน้ำส่วนงำนปฏบิ ตั กิ ำรแทน จึงขอยกเลิกคำสั่งแต่งต้ังคณะกรรมกำรดำเนินกำรปรบั ปรุงหลักสูตร ท่ี ๐๔๗/๒๕๕๘ ลงวันท่ี ๑๘ พฤศจิกำยน พ.ศ. ๒๕๕๘ และแตง่ ตั้งบคุ คลเป็นคณะกรรมกำรดำเนินกำรปรับปรงุ หลักสตู ร ดงั น้ีคณะกรรมกำรดำเนนิ กำรปรับปรงุ หลกั สตู ร ประธำนกรรมกำร ๑. คณบดีคณะกำรแพทยแ์ ผนไทยอภัยภูเบศร กรรมกำรประเภทผู้แทนองค์กรวิชำชพี ๒. นำงสำวศภุ ะลักษณ์ ฟกั คำ กรรมกำรประเภทผทู้ รงคณุ วุฒิ ๓. รองศำสตรำจำรยส์ ุนนั ทำ โอศิริ กรรมกำรประเภทผูท้ รงคุณวุฒิ ๔. นำงบวั คลำย ตนั กิมหงษ์ กรรมกำร ๕. ผอู้ ำนวยกำรวิทยำลยั กำรแพทยแ์ ผนไทยอภยั ภเู บศร จังหวดั ปรำจีนบุรี กรรมกำร ๖. นำงสำวพลอยชนก ปทมุ ำนนท์ กรรมกำร ๗. นำงสำวชลกร ขวญั ชยั นนท์ กรรมกำร ๘. นำงสำวพรรณภัทร อนิ ทฤทธ์ิ กรรมกำร ๙. นำงสำววรมั พำ สุวรรณรตั น์ กรรมกำร ๑๐.นำงสำวศริ วิ ดี บญุ มโหตม์ กรรมกำร ๑๑.นำงสำวกำญจนำ บัวดอก กรรมกำร ๑๒.นำงสำวยุพำภรณ์ พรมมำนนท์ กรรมกำร ๑๓.นำงสำวจรัญญำ ยอดมำนะ กรรมกำร ๑๔.นำงสำวรัตนำ ศรสี วสั ด์ิ เลขำนกุ ำร ๑๕.นำงจุฬำลักษณ์ เทยี นรุง่ รัศมี /ให้คณะกรรมกำร...

ประยกุ ต์ 96 ใหค้ ณะกรรมกำรมีหน้ำที่ดังนี้ ๑. ปรับปรงุ หลักสูตรกำรแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต สำขำวชิ ำกำรแพทย์แผนไทย ๒. ดำเนนิ กำรอ่นื ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง ท้ังนี้ ต้งั แตบ่ ัดนเ้ี ปน็ ต้นไป สง่ั ณ วนั ที่ ๑๑ กมุ ภำพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ (ลงชอ่ื ) วชิ ำญ เกิดวชิ ัย (นำยแพทยว์ ิชำญ เกิดวชิ ัย) คณบดคี ณะกำรแพทยแ์ ผนไทยอภัยภเู บศร สำเนำถูกตอ้ ง (นำงจฬุ ำลกั ษณ์ เทียนรุง่ รัศมี) นักวชิ ำกำรศึกษำ

(สําเนา) ข้อบังคบั มหาวิทยาลัยบรู พา วา่ ดว้ ยการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๕ --------------------- โดยทเี่ ป็นการสมควรใหม้ ีขอ้ บังคบั วา่ ด้วยการศกึ ษาระดับปริญญาตรี อาศยั อํานาจตามความในมาตรา ๓๒ (๑๑) แห่งพระราชบญั ญตั ิมหาวทิ ยาลัยบูรพา พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกอบมาตรา ๒๑ (๒) แหง่ พระราชบัญญตั มิ หาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. ๒๕๕๐ และมตสิ ภามหาวิทยาลัยบรู พา ในการประชมุ ครัง้ ท่ี ๔/๒๕๕๑ วนั ท่ี ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ มหาวิทยาลัยบรู พา จึงออกข้อบังคบั ไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ขอ้ ๑ ขอ้ บงั คับน้ีเรียกว่า “ข้อบังคบั มหาวิทยาลัยบรู พา วา่ ด้วยการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรีพ.ศ. ๒๕๕๕” ข้อ ๒ ข้อบังคับนใ้ี ห้ใช้บงั คบั สําหรับนิสติ ทเี่ ข้าศกึ ษาในมหาวทิ ยาลัยบูรพาต้งั แตภ่ าคต้นปีการศึกษา ๒๕๕๕ เป็นต้นไป  มใิ ห้นาํ ขอ้ บงั คับมหาวิทยาลยั บูรพา ว่าดว้ ยการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๒ และท่ีแก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๒ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๒ และ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๓ มาใช้บังคบั กับนิสติ ตามวรรคหน่งึ ขอ้ ๓ ในขอ้ บงั คับน้ี “คณะ” ให้หมายความรวมถงึ วิทยาลัยและสถาบันท่ีจดั การเรยี นการสอน “คณบด”ี หมายความวา่ หวั หนา้ ส่วนงานท่จี ัดการเรยี นการสอนท่มี ีนสิ ิตสงั กัด หรือหัวหน้าส่วนงานทีร่ ายวชิ าสังกัด “หัวหน้าภาควิชา” ให้หมายความรวมถงึ ประธานสาขาวิชา หรอื หัวหนา้ หนว่ ยงานในคณะที่จดั การเรยี นการสอนทเ่ี รยี กชอ่ื เปน็ อยา่ งอื่น “วชิ าหลัก” หมายความวา่ วชิ าท่ีอยใู่ นกลมุ่ วชิ าวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศาสตร์มนุษยศาสตร์ และภาษาตา่ งประเทศ “นสิ ติ ” หมายความว่า นสิ ิตระดบั ปรญิ ญาตรี และให้หมายรวมถงึ นิสติ นกั ศึกษาจากสถาบนั อื่นท่ลี งทะเบยี นเรียนรายวิชาของมหาวทิ ยาลยั “นิสิตภาคปกต”ิ หมายความวา่ นสิ ิตท่ีลงทะเบียนเรียนเต็มเวลาและไมเ่ ตม็ เวลา ในระบบการศกึ ษาภาคปกติ ซ่ึงเรียนในเวลาทาํ งานและอาจเรยี นนอกเวลาทาํ งานบางส่วนกไ็ ด้ “นสิ ิตภาคพิเศษ” หมายความว่า นิสติ ท่ลี งทะเบยี นเรียนเต็มเวลาและไมเ่ ตม็ เวลาในระบบการศึกษาภาคพิเศษ ซงึ่ เรยี นนอกเวลาทํางานและอาจเรียนในเวลาทาํ งานบางส่วนก็ได้

-๒-  “หน่วยกติ ” หมายความว่า หนว่ ยทใ่ี ชแ้ สดงปรมิ าณการศกึ ษาท่ีนิสติ ได้รับและเปน็ ตัวเลขแสดงสทิ ธทิ น่ี สิ ติ จะพงึ ไดร้ บั เมอ่ื ไดศ้ กึ ษาตรงตามกําหนดเวลาและไดร้ ับการประเมนิ ใหผ้ ่านวชิ านน้ั ข้อ ๔ คณุ วุฒแิ ละคุณสมบตั ขิ องผ้สู มคั รเข้าเป็นนสิ ิต ผูส้ มัครเข้าเปน็ นิสติ จะต้องมีคณุ วฒุ แิ ละคณุ สมบัติ ดงั ตอ่ ไปน้ี ๔.๑ สาํ เร็จการศกึ ษาชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย หรอื เทียบเท่าที่มหาวิทยาลยั รบั รองหรอื ๔.๒ สาํ เรจ็ การศึกษาข้ันอนุปริญญา หรือเทียบเทา่ ทมี่ หาวทิ ยาลยั รบั รอง เพ่อื เขา้ศกึ ษาในขั้นปรญิ ญาตรี ในคณะใดคณะหนงึ่ ของมหาวทิ ยาลยั ตามระเบียบหรือเงอ่ื นไขของคณะน้ันหรอื ๔.๓ สาํ เรจ็ การศึกษาระดับเกรด ๑๒ จากโรงเรียนนานาชาตทิ ่กี ระทรวงศกึ ษาธิการรับรอง หรอื ๔.๔ ผผู้ ่านการศึกษาจากตา่ งประเทศ มีคณุ วฒุ ิดงั น้ี ๔.๔.๑ สาํ เร็จการศกึ ษาเกรด ๑๒ จากประเทศสหรัฐอเมรกิ า โดยมีประกาศนยี บัตรและใบแสดงผลการเรียนเปน็ หลักฐานการจบการศกึ ษา หรอื ๔.๔.๒ สาํ เร็จการศกึ ษาจากประเทศสหราชอาณาจักรหรอื ประเทศท่ีใช้ระบบของประเทศสหราชอาณาจักร โดยมีหลักฐานแสดงผลการเรยี น วา่ ได้สอบผ่าน (๑) General Certificate of Education (GCE) ‘O’ Level หรอื GeneralCertificate of Secondary Education (GCSE) หรอื International General Certificate ofSecondary Education (IGCSE) จาํ นวน ๕ วิชาหลกั แตล่ ะวชิ ามีคะแนนไดเ้ กรด A B C D และ E หรอื (๒) GCE ‘A’ Level จํานวน ๓ วิชาหลกั แต่ละวิชามคี ะแนนไดเ้ กรด AB C D และ E หรอื (๓) GCE ‘O’ Level หรือ GCSE หรือ IGCSE และ GCE ‘A’ Levelรวมกนั ไม่ตํ่ากว่า ๕ วิชาหลกั   หรอื ๔.๔.๓ สาํ เรจ็ การศกึ ษาระดับ Form ๖ จากประเทศนวิ ซีแลนด์โดยมปี ระกาศนียบัตรจาก New Zealand Qualifications Authority (NZQA) แสดงการสําเร็จการศกึ ษาพรอ้ มท้งั แสดงผลการเรียนไมน่ อ้ ยกว่า ๕ วชิ าหลัก หรือ ๔.๔.๔ สาํ เร็จการศกึ ษาเกรด ๑๒ จากประเทศเครือรัฐออสเตรเลยี โดยมีใบประกาศนยี บัตรออกในนามของรัฐนนั้ และต้องมีหลักฐานแสดงผลการเรียน หรอื

-๓-  ๔.๔.๕ สาํ เร็จการศกึ ษาจากประเทศอืน่ ๆ ทก่ี ระทรวงศึกษาธิการออกใบรบั รองใหห้ รอื มีประกาศนียบตั รเทยี บเท่ามธั ยมศกึ ษาตอนปลายของประเทศไทย หรอื ไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาํ คณะ   หรอื ๔.๕ สาํ เร็จการศึกษาข้ันปริญญาตรหี รอื เทยี บเทา่ ท่ีมหาวิทยาลยั รบั รองเพอื่ เขา้ ศึกษาในขัน้ ปริญญาตรใี นคณะใดคณะหนึ่ง ตามระเบียบหรือเงื่อนไขของคณะน้ัน ๔.๖ เป็นผมู้ คี วามประพฤตดิ ี ตามมาตรฐานของมหาวทิ ยาลยั ๔.๗ ไมเ่ ป็นโรคตดิ ต่อร้ายแรง ซึ่งเป็นโรคท่ีสงั คมรังเกยี จ หรือเปน็ โรคที่จะเปน็ อปุ สรรคตอ่ การศกึ ษา คณะท่จี ัดการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศอาจกําหนดคุณวุฒิและคณุ สมบัติของผ้เู ป็นนสิ ติ เพมิ่ เติมจากท่ีกลา่ วขา้ งต้นได้ โดยใหจ้ ัดทาํ เป็นประกาศของมหาวทิ ยาลยั ขอ้ ๕ การรับผูส้ มคั รเขา้ เป็นนสิ ิต ผู้สมัครเข้าเปน็ นสิ ติ จะตอ้ งผ่านการสอบคัดเลือกหรือการคัดเลอื กตามเกณฑท์ ี่กําหนดไวใ้ นประกาศของมหาวทิ ยาลัย แต่ในกรณีท่ีมีเหตุผลความจาํ เป็นเป็นพิเศษ หรอื เพ่อื ประโยชน์ของทางราชการมหาวทิ ยาลัยอาจพจิ ารณารบั บุคคลที่มคี ณุ สมบัตคิ รบถ้วนตามข้อ ๔ เขา้ เป็นนสิ ิต ตามนโยบายของมหาวิทยาลยั ก็ได้ ขอ้ ๖ ประเภทนสิ ติ ๖.๑ นสิ ติ ภาคปกติ ๖.๒ นสิ ติ ภาคพิเศษ ๖.๓ นสิ ิตทดลองเรยี น เปน็ นิสิตทมี่ หาวิทยาลยั รบั เข้าเรยี น โดยมีเง่อื นไขตามประกาศของมหาวิทยาลัย ๖.๔ นสิ ติ อาคันตกุ ะ เปน็ นสิ ิตจากสถาบันอน่ื ทลี่ งทะเบียนเรียนบางรายวิชาท่ีมหาวิทยาลยั เปิดสอน ข้อ ๗ การขึ้นทะเบียนเปน็ นิสติ ๗.๑ ผทู้ จ่ี ะขน้ึ ทะเบยี นเป็นนิสิตของมหาวทิ ยาลยั จะต้องข้นึ ทะเบียนเปน็ นิสติ ประเภทใดประเภทหนึง่ ตามขอ้ ๖ ๗.๒ ผ้สู มคั รเข้าเป็นนิสติ จะมีสภาพเปน็ นิสติ ต่อเม่อื ได้ขน้ึ ทะเบียนเปน็ นิสติ แลว้ รายละเอยี ดของการขึน้ ทะเบียนเปน็ นสิ ติ นนั้ ใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย

-๔-  ขอ้ ๘ ระบบการจัดการศึกษา ใชร้ ะบบทวภิ าค โดย ๑ ปีการศกึ ษาแบ่งออกเปน็ ๒ภาคการศึกษาปกติ ซ่งึ ๑ ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๕ สัปดาห์ และอาจมีการจดัการศกึ ษาภาคฤดรู ้อน โดยมรี ะยะเวลาการศึกษา ไม่นอ้ ยกว่า ๘ สปั ดาห์ ขอ้ ๙ วธิ กี ารจัดการศึกษา อาจจดั ในรูปแบบใดรูปแบบหน่งึ หรอื หลายรปู แบบรว่ มกนั ดังนี้  ๙.๑ การศึกษาแบบเต็มเวลา ให้ลงทะเบยี นเรียนในภาคการศึกษาปกติ ไมน่ อ้ ยกว่า๙ หน่วยกติ และไมเ่ กนิ ๒๒ หน่วยกติ และภาคฤดูรอ้ น ไมเ่ กนิ ๙ หน่วยกติ  ๙.๒ การศกึ ษาแบบไม่เต็มเวลา ใหล้ งทะเบยี นเรยี นในภาคการศึกษาปกตแิ ละภาคฤดรู อ้ น ไม่เกิน ๙ หน่วยกติ  ๙.๓ การศกึ ษาแบบเฉพาะบางช่วงเวลา เปน็ การจดั การศึกษาในบางช่วงเวลาของปกี ารศึกษา หรือเปน็ ไปตามเงือ่ นไขของคณะ หรือขอ้ ตกลงตามทม่ี หาวิทยาลัยกาํ หนด ๙.๔ การศกึ ษาแบบทางไกล (Distance Education) เป็นการจัดการศึกษาโดยใช้การสอนทางไกลผ่านระบบการส่ือสารหรือเครอื ข่ายสารสนเทศตา่ ง ๆ หรือเป็นไปตามเงอื่ นไขของคณะ หรอื ขอ้ ตกลงตามทมี่ หาวทิ ยาลัยกาํ หนด ๙.๕ การศกึ ษาแบบชุดวิชา (Module System) เปน็ การจัดการเรียนการสอนเป็นรายวชิ าหรอื กล่มุ รายวิชา ตามกาํ หนดเวลาของคณะนน้ั ๆ ๙.๖ การศกึ ษาแบบนานาชาติ เปน็ การจดั การศึกษาโดยใช้ภาษาต่างประเทศทงั้ หมดซ่งึ อาจจะเป็นความรว่ มมือของสถานศึกษาหรือหนว่ ยงานในประเทศ หรอื ต่างประเทศ และมีการจดั การและมมี าตรฐานเช่นเดียวกับหลกั สูตรสากล ๙.๗ การศกึ ษาหลักสตู รควบระดับปรญิ ญาตรี ๒ ปริญญา ตามประกาศของมหาวทิ ยาลัย ๙.๘ การศึกษาเพื่อรับปริญญาทส่ี อง ระดับปรญิ ญาตรี ตามประกาศของมหาวิทยาลัย ๙.๙ รูปแบบอน่ื ๆ ทม่ี หาวิทยาลัยเห็นวา่ เหมาะสม ตามประกาศของมหาวิทยาลยั ขอ้ ๑๐ การคดิ หน่วยกิต แต่ละรายวิชาจะมีจาํ นวนหน่วยกติ กําหนดไว้ ดงั นี้ ๑๐.๑ รายวิชาภาคทฤษฎี ทใ่ี ชเ้ วลาบรรยายหรอื อภปิ รายปญั หา ไมน่ อ้ ยกว่า ๑๕ชวั่ โมงตอ่ ภาคการศึกษา ใหม้ คี ่าเท่ากบั ๑ หน่วยกิต ๑๐.๒ รายวชิ าภาคปฏิบตั ิ ที่ใช้เวลาฝึกหรอื ทดลอง ไมน่ ้อยกว่า ๓๐ ชั่วโมงตอ่ ภาคการศกึ ษา ใหม้ คี า่ เทา่ กับ ๑ หน่วยกติ

-๕-  ๑๐.๓ รายวิชาฝึกงานหรอื ฝึกภาคสนาม ทใี่ ชเ้ วลาไมน่ อ้ ยกวา่ ๔๕ ชว่ั โมงตอ่ ภาคการศกึ ษา ใหม้ คี ่าเทา่ กบั ๑ หนว่ ยกติ ๑๐.๔ การทําโครงงานหรือกิจกรรมการเรยี นอ่ืนใด ตามทไ่ี ด้รับมอบหมายทใ่ี ช้เวลาทาํ โครงงานนั้นหรือกจิ กรรมน้นั ๆ ไม่น้อยกวา่ ๔๕ ชว่ั โมงต่อภาคการศึกษา ให้มคี า่ เทา่ กบั ๑ หนว่ ยกติ ๑๐.๕ กรณีอน่ื ๆ ให้เปน็ ไปตามทค่ี ณะกาํ หนดตามเกณฑข์ องสภาวชิ าชีพของสาขาวชิ านั้น ๆ ขอ้ ๑๑ การลงทะเบยี นเรยี น ๑๑.๑ กาํ หนดวนั เวลา และวธิ กี ารลงทะเบียนเรยี นในแตล่ ะภาคการศึกษาใหเ้ ป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลยั ๑๑.๒ นิสิตตอ้ งไดร้ ับความเหน็ ชอบจากอาจารย์ทป่ี รึกษาในการเลอื กเรยี นรายวชิ าใด ๆ ในแต่ละภาคการศึกษา ก่อนการลงทะเบียนเรียน ถ้ารายวิชาใดบังคับว่าต้องเรียนรายวิชาอ่นื ก่อน นิสิตตอ้ งเรยี นรายวชิ าน้ันแล้ว หรือไดร้ บั อนมุ ัติจากหวั หนา้ ภาควิชาที่รายวชิ าน้นั สังกัด จงึ จะมสี ิทธิลงทะเบียนเรยี นรายวชิ าดังกลา่ วได้ ๑๑.๓ ในแตล่ ะภาคการศึกษา กรณที ีน่ สิ ติ มีความจาํ เป็นต้องลงทะเบียนเรยี นขา้ มประเภทนิสิต ตามข้อ ๖ ใหเ้ ป็นไปตามประกาศมหาวทิ ยาลยั ๑๑.๔ การลงทะเบียนเรียนจะสมบรู ณ์ ตอ่ เมอ่ื ไดช้ าํ ระค่าบาํ รุงและค่าธรรมเนยี มต่าง ๆ ของมหาวทิ ยาลัยเรยี บรอ้ ยแล้ว นสิ ติ ผูใ้ ดชําระค่าบาํ รงุ และค่าธรรมเนียมตา่ ง ๆ ภายหลังวันที่มหาวทิ ยาลยั กาํ หนด จะต้องชําระคา่ ปรับตามระเบียบมหาวทิ ยาลัยบรู พา ว่าดว้ ยการเกบ็ เงินคา่ บาํ รุงและคา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา กรณีทีก่ ารลงทะเบียนเรียนยงั ไมส่ มบรู ณ์ ในภาคการศึกษาใด ภายในกําหนดตามประกาศของมหาวทิ ยาลยั จะไมม่ ีสิทธิเรยี นในภาคการศึกษานัน้ เว้นแต่จะได้รบั อนมุ ัติจากคณบดี เปน็ ราย ๆ ไป ๑๑.๕ จํานวนหน่วยกิต แต่ละภาคการศึกษา ๑๑.๕.๑ ภาคตน้ และภาคปลาย นสิ ิตที่ลงทะเบียนเรียนแบบเต็มเวลาต้องลงทะเบยี นเรยี นไมต่ าํ่ กวา่ ๙ หน่วยกิต และไมเ่ กนิ ๒๒ หน่วยกติ สําหรับนิสติ ที่ลงทะเบยี นเรยี นแบบไมเ่ ต็มเวลา ใหล้ งทะเบียนเรยี นไมเ่ กิน ๙ หนว่ ยกติ ภาคฤดูรอ้ นนสิ ิตทีล่ งทะเบียนเรียนแบบเตม็ เวลาและนสิ ิตท่ีลงทะเบียนเรียนแบบไมเ่ ตม็ เวลาใหล้ งทะเบียนเรียนไดไ้ ม่เกนิ ๙ หน่วยกิต ๑๑.๕.๒ นิสิตที่จะลงทะเบยี นเรยี นน้อยหรอื มากกวา่ เกณฑ์ทกี่ าํ หนดในขอ้ ๑๑.๕.๑ ได้ ต่อเม่ือได้รบั อนมุ ัติจากคณบดี ๑๑.๕.๓ นสิ ติ ที่จะสาํ เรจ็ การศกึ ษาตามหลักสูตรและเหลอื วชิ าเรยี นตามหลกั สูตรมจี ํานวนหน่วยกิตต่าํ กว่าเกณฑ์ทีก่ ําหนดไว้ใน ข้อ ๑๑.๕.๑ ใหล้ งทะเบยี นเรียนเทา่จํานวนหน่วยกิตทีเ่ หลือได้

-๖-  ขอ้ ๑๒ การลงทะเบยี นเรียนรายวชิ าโดยไมน่ บั หนว่ ยกิต (Audit) ๑๒.๑ นสิ ิตอาจลงทะเบยี นเรียนรายวชิ าโดยไมน่ ับหนว่ ยกติ ก็ได้ แตต่ อ้ งชาํ ระคา่หน่วยกติ เชน่ เดียวกบั นสิ ติ ทีล่ งทะเบียนเรยี นรายวชิ าโดยนบั หน่วยกิต ท้ังน้ี โดยไดร้ บั ความเห็นชอบจากอาจารย์ทปี่ รกึ ษาและอาจารย์ผูส้ อน ๑๒.๒ การเรยี นรายวชิ าโดยไม่นับหน่วยกติ ไม่บังคับให้นิสติ สอบ และให้บันทึกลงในใบแสดงผลการเรยี นในช่องผลการเรียนว่า “au” เฉพาะผูท้ ม่ี ีเวลาเรยี นไมน่ ้อยกว่าร้อยละ๘๐ ของเวลาเรยี นท้ังหมดของรายวชิ านน้ั ขอ้ ๑๓ การลงทะเบียนเรยี นของบุคคลภายนอก หรอื ผูท้ ม่ี คี ุณสมบัตไิ ม่เปน็ ไปตามขอ้ ๔ มหาวทิ ยาลยั อาจอนมุ ัตใิ ห้บคุ คลภายนอก หรอื ผทู้ ี่มคี ุณสมบตั ไิ มเ่ ปน็ ไปตามขอ้ ๔เข้าเรยี นบางรายวิชาทเ่ี ปิดสอนในมหาวทิ ยาลัยได้ แต่ผ้นู น้ั จะต้องมีคุณสมบตั ิและพนื้ ความรตู้ ามที่คณะพิจารณาเห็นสมควร โดยไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณบดที ี่รายวิชาสังกัด และต้องปฏิบตั ิตามข้อบงั คับและระเบยี บตา่ ง ๆ เชน่ เดียวกบั นิสิต ท้ังนี้ ตอ้ งชําระค่าบาํ รุงและค่าธรรมเนียมการศึกษาตามระเบยี บมหาวทิ ยาลยั บูรพา ว่าดว้ ยการเก็บเงินคา่ บาํ รุงและคา่ ธรรมเนียมการศกึ ษา สําหรบั นิสิตภาคพิเศษ ขอ้ ๑๔ การขอเพม่ิ หรอื ลดรายวชิ า ๑๔.๑ การขอเพ่ิมหรือขอลดรายวชิ าทเี่ รียน ตอ้ งไดร้ บั ความเห็นชอบจากอาจารย์ผ้สู อน และได้รับอนมุ ตั จิ ากอาจารยท์ ีป่ รกึ ษา แลว้ ให้นสิ ิตผู้นัน้ แจ้งใหน้ ายทะเบียนทราบ ๑๔.๒ การขอเพมิ่ หรือขอลดรายวิชาทเ่ี รียน ต้องได้รับอนุมัติภายใน ๒ สปั ดาหแ์ รกของภาคการศึกษา ท้งั น้ี ต้องเปน็ ไปตามข้อ ๑๑.๒ และ ๑๑.๕ ขอ้ ๑๕ การของดเรยี นรายวิชา ๑๕.๑ การของดเรยี นรายวิชาท่ีเรียน ตอ้ งได้รบั ความเหน็ ชอบจากอาจารยผ์ ้สู อนและได้รับอนุมตั ิจากอาจารย์ทป่ี รึกษา แล้วให้นิสติ ผ้นู นั้ แจง้ ใหน้ ายทะเบยี นทราบ ๑๕.๒ การของดเรยี นบางรายวิชาหรือทกุ รายวชิ า ต้องกระทาํ กอ่ นวนั เริ่มสอบปลายภาคการศกึ ษาวันแรก ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ สัปดาห์ และนสิ ติ ไมม่ สี ทิ ธิขอคนื ค่าลงทะเบียนเรียน ขอ้ ๑๖ การขอลดรายวิชาและการคืนเงนิ ค่าลงทะเบียนเรียนรายวิชา ๑๖.๑ การขอลดรายวิชาใด ในกรณที ม่ี หาวิทยาลยั ประกาศปดิ รายวชิ าน้ันตลอดภาคการศึกษา นสิ ิตมีสทิ ธิขอคืนคา่ ลงทะเบียนเรียนรายวิชานั้นได้เต็มจํานวน ๑๖.๒ การขอลดรายวิชาใดภายใน ๒ สปั ดาห์แรกของภาคการศึกษา นสิ ติ มีสทิ ธิขอคืนคา่ ลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ าน้ันได้เต็มจํานวน

-๗-  ขอ้ ๑๗ เวลาเรยี น ๑๗.๑ นสิ ติ ต้องใช้เวลาเรยี นในรายวชิ าหนง่ึ ๆ ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทั้งหมดของรายวชิ านัน้ จงึ จะมีสิทธเิ ขา้ สอบในรายวชิ านนั้ ๑๗.๒ นิสิตต้องเรยี นตามหลกั สตู รใหส้ าํ เรจ็ การศึกษา ภายในกาํ หนดเวลา ดังน้ี ๑๗.๒.๑ หลักสูตร ๔ ปี สําเรจ็ การศกึ ษาได้ไมก่ ่อน ๖ ภาคการศึกษาปกติและไมเ่ กนิ ๘ ปีการศึกษา สาํ หรับนิสิตทล่ี งทะเบยี นเรยี นแบบเต็มเวลา และสาํ เร็จการศกึ ษาได้ไมก่ อ่ น๑๔ ภาคการศกึ ษาปกติหรอื เทยี บเทา่ และไม่เกิน ๑๒ ปกี ารศกึ ษา สาํ หรับนิสติ ทลี่ งทะเบยี นเรยี นแบบไม่เต็มเวลา ๑๗.๒.๒ หลกั สูตร ๕ ปี สําเร็จการศกึ ษาไดไ้ ม่กอ่ น ๘ ภาคการศกึ ษาปกติและไมเ่ กนิ ๑๐ ปกี ารศกึ ษา สาํ หรับนิสิตทลี่ งทะเบยี นเรยี นแบบเตม็ เวลา และสําเร็จการศกึ ษาได้ไมก่ อ่ น๑๗ ภาคการศกึ ษาปกตหิ รอื เทียบเทา่ และไม่เกิน ๑๕ ปกี ารศกึ ษา สาํ หรบั นิสติ ท่ลี งทะเบียนเรยี นแบบไมเ่ ต็มเวลา ๑๗.๒.๓ หลักสตู ร ๖ ปี สาํ เรจ็ การศกึ ษาไดไ้ ม่ก่อน ๑๐ ภาคการศกึ ษาปกติและไม่เกิน ๑๒ ปกี ารศึกษา สาํ หรับนิสติ ทลี่ งทะเบียนเรียนแบบเตม็ เวลา และสําเรจ็ การศกึ ษาไดไ้ มก่ ่อน๒๐ ภาคการศกึ ษาปกติหรือเทยี บเทา่ และไมเ่ กิน ๑๘ ปกี ารศกึ ษา สาํ หรบั นิสติ ที่ลงทะเบียนเรียนแบบไมเ่ ตม็ เวลา ในกรณีทมี่ กี ารเทียบโอนผลการเรยี นและหน่วยกิต ระยะเวลาท่ีใช้ในการศกึ ษาให้เปน็ ไปตามประกาศมหาวิทยาลยัข้อ ๑๘ ระบบการใหค้ ะแนน๑๘.๑ ระบบการใหค้ ะแนนแบบมีคา่ ระดบั ข้นั ระบบการให้คะแนนของแตล่ ะรายวิชาแบบมีค่าระดบั ขน้ั มีความหมายและมคี า่ระดบั ขั้นดงั นี้ ระดบั ขัน้ ความหมาย คา่ ระดบั ขนั้ A ดีเยยี่ ม ๔.๐ B+ ดมี าก ๓.๕ B ดี ๓.๐ C+ ค่อนข้างดี ๒.๕ C พอใช้ ๒.๐ D+ ออ่ น ๑.๕ D ออ่ นมาก ๑.๐ F ตก ๐

-๘-  ๑๘.๒ ระบบการให้คะแนนแบบไม่มีค่าระดบั ข้ัน ในบางรายวชิ าอาจให้คะแนนแบบไมม่ คี ่าระดับขนั้ โดยแสดงดว้ ยสัญลักษณต์ า่ ง ๆซงึ่ มคี วามหมาย ดงั น้ี สัญลกั ษณ์ ความหมาย S ผลการศกึ ษาผา่ นตามเกณฑ์ (Satisfactory) U ผลการศึกษาไม่ผา่ นตามเกณฑ์ (Unsatisfactory) I การประเมนิ ผลยงั ไม่สมบูรณ์ (Incomplete) W งดเรียนโดยได้รับอนุมตั ิ (Withdrawn) au การศกึ ษาโดยไม่นบั หนว่ ยกติ (audit)๑๘.๓ การให้ F ใหก้ ระทําได้ในกรณตี ่อไปน้ดี ว้ ย ๑๘.๓.๑ นิสิตขาดสอบโดยไมไ่ ดร้ บั อนมุ ัตจิ ากคณบดีของคณะทร่ี ายวชิ าสังกัด ๑๘.๓.๒ นสิ ิตใชเ้ วลาเรียนไม่ครบตามเกณฑใ์ นข้อ ๑๗.๑ ๑๘.๓.๓ นสิ ติ ทจุ รติ ในการวัดผล๑๘.๔ การให้ S หรือ U ในแต่ละรายวิชาใหเ้ ปน็ ไปตามทกี่ าํ หนดไวใ้ นหลักสูตรหากไมเ่ ปน็ ไปตามทีก่ าํ หนดไวใ้ นหลักสตู รให้เป็นไปตามดุลพินิจของคณะกรรมการประจาํ คณะ ๑๘.๕ การให้ I ในรายวิชาใดจะกระทําไดใ้ นกรณตี อ่ ไปนี้ ๑๘.๕.๑ นสิ ติ ใช้เวลาเรียนครบตามเกณฑ์ในขอ้ ๑๗.๑ แตไ่ ม่ได้สอบเพราะป่วยหรือเหตสุ ุดวสิ ยั และได้รบั อนมุ ตั ิจากคณบดขี องคณะที่รายวชิ าสงั กดั ๑๘.๕.๒ อาจารยผ์ ้สู อน หวั หนา้ ภาควชิ าและคณบดขี องคณะทรี่ ายวชิ าสังกัด เห็นสมควรให้รอผลการศึกษา เพราะนสิ ิตยังปฏบิ ัติงานซ่งึ เปน็ ส่วนประกอบการศึกษารายวิชานน้ั ยงั ไมส่ มบูรณ์ โดยมีเหตุสดุ วิสัยทมี่ ิใช่เป็นความผดิ ของนิสติ ๑๘.๕.๓ นสิ ติ ท่ีได้รับคะแนนระดับข้ัน I จะตอ้ งได้รบั การประเมินผลเพือ่แกร้ ะดับข้นั I ให้เสร็จสน้ิ ภายในภาคการศกึ ษาถัดไป ซ่งึ การเปลยี่ นระดับขนั้ I เปน็ คา่ ระดบั ข้ันอ่ืนให้อยู่ในการกํากบั ดูแลของคณบดีของคณะทร่ี ายวิชาสงั กัด หากการแกร้ ะดับขัน้ I ไม่เสรจ็ สน้ิ ภายในภาคการศกึ ษาถัดไป ใหอ้ ยูใ่ นดลุ พนิ ิจของคณะกรรมการประจําคณะทรี่ ายวิชาสงั กดั ภายใต้กําหนดเวลาเรียนตามข้อ ๑๗ ๑๘.๖ การให้ W ในรายวชิ าใด จะกระทาํ ได้ในกรณตี อ่ ไปนี้ ๑๘.๖.๑ นสิ ติ ได้รับอนุมตั ิให้งดเรียนในรายวชิ านน้ั ตามข้อ ๑๕ ๑๘.๖.๒ นสิ ิตไดร้ ับอนญุ าตใหล้ าพกั การเรยี นตามข้อ ๒๔ ๑๘.๖.๓ นิสติ ถูกสัง่ พกั การเรียนในภาคการศกึ ษานน้ั    

-๙-  ๑๘.๖.๔ นสิ ติ ทไี่ ด้รับอนุมัตจิ ากคณบดีของคณะทีร่ ายวิชาสงั กดั ใหไ้ ด้รบัระดับขั้น I ตามข้อ ๑๘.๕.๑ และครบกาํ หนดเวลาของการเปลยี่ นระดับขน้ั I แลว้ แต่การปว่ ยหรอื เหตุสุดวสิ ยั ยังไม่สนิ้ สดุ โดยได้รับอนมุ ัติจากคณบดขี องคณะทีร่ ายวชิ าสงั กดั ๑๘.๗ การนบั จาํ นวนหน่วยกิตเพอื่ คาํ นวณหาคา่ ระดบั ขนั้ เฉล่ยี ใหน้ ับจากรายวชิ าทมี่ ีระบบการให้คะแนนแบบมคี า่ ระดบั ขนั้ ในกรณีทีน่ ิสิตลงทะเบียนเรียนซาํ้ ในรายวิชาใด ให้นาํ เฉพาะคา่ระดับขัน้ และจาํ นวนหน่วยกิตของรายวิชาที่สอบได้ในการเรยี นซ้าํ หรอื เรยี นแทน ไปใช้ในการคาํ นวณ โดยไม่นาํ คา่ ระดับขั้นและจาํ นวนหน่วยกิตเดิมไปคาํ นวณดว้ ย ๑๘.๘ การหาคา่ ระดับขนั้ เฉลีย่ เฉพาะรายภาคการศกึ ษา ใหค้ าํ นวณจากผลการเรยี นของนสิ ิตในภาคการศึกษานน้ั โดยนําผลรวมของผลคณู ของจาํ นวนหนว่ ยกิตกบั คา่ ระดบั ขั้นของแตล่ ะรายวชิ าเป็นตัวตงั้ หารดว้ ยจาํ นวนหน่วยกติ รวมของรายวชิ าที่มคี ่าระดบั ขัน้ ของภาคการศึกษานนั้ ๑๘.๙ การนับจํานวนหนว่ ยกิตสะสมของนสิ ติ เพือ่ ให้ครบหลกั สูตรใหน้ ับเฉพาะหน่วยกติ ของรายวิชาทส่ี อบไดเ้ ท่านัน้ ๑๘.๑๐ การคํานวณหาค่าระดบั ขน้ั เฉลีย่ สะสม ให้คาํ นวณจากผลการเรียนของนสิ ิตต้งั แต่เริ่มเขา้ เรียนจนถึงภาคการศกึ ษาสุดทา้ ยทีน่ ิสติ ลงทะเบยี นเรยี น โดยนาํ ผลรวมของผลคณู ของจาํ นวนหน่วยกิตกบั ค่าระดับข้ันของแตล่ ะรายวิชาทเี่ รียนทัง้ หมด เป็นตวั ตง้ั หารดว้ ยจาํ นวนหนว่ ยกิตรวมของรายวชิ าท่มี คี า่ ระดับข้นั ตามขอ้ ๑๘.๗ ๑๘.๑๑ เมอ่ื มีการประเมินผลเพือ่ แก้ระดบั ขั้น I แล้ว ใหน้ าํ มาประมวลผลใหมอ่ ีกครั้งหนงึ่ ข้อ ๑๙ การเรียนซ้าํ หรือเรยี นแทน ๑๙.๑ รายวิชาใดทน่ี ิสิตสอบได้ D+ หรือ D นิสิตจะลงทะเบยี นเรยี นซํา้ ไดต้ ่อเมอ่ืได้รบั อนุมัตจิ ากคณบดีของคณะทรี่ ายวชิ าสังกัด ๑๙.๒ นสิ ติ ทไ่ี ดร้ บั F หรอื U ในรายวชิ าบังคับ จะต้องลงทะเบยี นเรยี นรายวิชาน้ันซา้ํ อีก จนกวา่ จะได้รบั A, B+, B, C+, C, D+, D หรอื S ๑๙.๓ นิสติ ทีไ่ ด้รับ F หรือ U ในรายวิชาเลอื ก ในหมวดวชิ าศึกษาท่ัวไปและหมวดวชิ าเฉพาะ สามารถลงทะเบียนเรยี นรายวชิ าอื่นๆ ในกลุ่มวิชาเดยี วกนั แทนได้ เพ่อื ให้ครบตามเง่อื นไขทก่ี าํ หนดไวใ้ นหลกั สูตร ๑๙.๔ นสิ ิตที่ได้รับ F หรือ U ในรายวชิ าเลือกเสรี สามารถลงทะเบยี นเรียนรายวิชาอ่ืน ๆ แทนได้ ทัง้ นห้ี ากเรียนครบตามเงอ่ื นไขท่กี ําหนดไว้ในหลกั สตู รแล้ว จะไมเ่ ลอื กรายวิชาเรียนแทนกไ็ ด้

-๑๐-  ข้อ ๒๐ การจาํ แนกสภาพนสิ ิต ๒๐.๑ การจําแนกสภาพนสิ ติ จะกระทําเมื่อเรยี นครบสองภาคการศกึ ษานับแต่เรมิ่ เข้าศึกษา โดยต้องกระทําเม่อื สนิ้ ภาคการศึกษาแต่ละภาค ๒๐.๒ สภาพนิสติ มดี งั นี้ ๒๐.๒.๑ นสิ ิตสภาพสมบรู ณ์ ได้แก่ นสิ ติ ที่ลงทะเบยี นเรียนเป็นปีแรก หรือนสิ ติ ทสี่ อบได้คา่ ระดับขนั้ เฉลยี่ สะสมไม่ต่าํ กวา่ ๒.๐๐ ๒๐.๒.๒ นิสิตสภาพรอพนิ จิ ได้แก่ นสิ ิตทส่ี อบได้คา่ ระดับข้นั เฉลย่ี สะสมตั้งแต่ ๑.๗๕ ถงึ ๑.๙๙ ขอ้ ๒๑ ภายหลังทม่ี ีการคํานวณระดบั ข้ันเฉลยี่ สะสมประจาํ ในแตล่ ะภาคการศกึ ษาแลว้พบวา่ นสิ ติ อยู่ในสภาพรอพินิจ นายทะเบยี นตอ้ งแจ้งให้นสิ ติ และอาจารยท์ ่ปี รกึ ษาของนสิ ิตผ้นู น้ั ทราบภายใน ๒ สัปดาห์ ข้อ ๒๒ นิสติ ทลี่ งทะเบยี นเรยี นแบบเต็มเวลาทไี่ ดร้ บั อนญุ าตให้เรียนในภาคฤดูรอ้ น ใหน้ าํ ผลการเรียนในภาคฤดรู อ้ นไปรวมกับผลการเรยี นในภาคการศกึ ษาถดั ไปทนี่ ิสิตลงทะเบียนเรยี น หากพบวา่ ผลการเรียนของภาคฤดูรอ้ นมีผลทาํ ใหน้ ิสิตอยูใ่ นสภาพรอพินิจ ใหน้ ายทะเบยี นแจ้งให้นิสิตและอาจารย์ทีป่ รึกษาของนิสติ ผนู้ ้นั ทราบโดยเร็วที่สุด ข้อ ๒๓ การทุจริตในการวดั ผล นิสิตทที่ าํ การทจุ รติ ดว้ ยประการใด ๆ กต็ ามเกย่ี วกับการวดั ผลทุกชนดิ จะต้องไดร้ ับโทษสถานใดสถานหนง่ึ ดงั ต่อไปน้ี ๒๓.๑ ตกในรายวชิ านน้ั หรอื ๒๓.๒ ตกในรายวิชานน้ั และพักการเรียนในภาคการศกึ ษาถัดไป หรือ ๒๓.๓ พน้ จากสภาพนิสติ ท้งั น้ี ขนึ้ อย่กู บั ดุลยพินจิ ของคณะกรรมการพิจารณาการทุจรติ ในการวดั ผลโดยความเห็นชอบของคณบดขี องคณะท่รี ายวิชาสงั กัด ขอ้ ๒๔ การลาพกั การเรียน ๒๔.๑ นิสิตอาจย่นื คาํ ร้องขออนุญาตลาพักการเรียนต่อคณบดีได้ในกรณีต่อไปน้ี ๒๔.๑.๑ ได้รับทนุ แลกเปล่ียนนกั ศกึ ษาระหวา่ งประเทศ หรือทนุ อืน่ ใดซ่งึ มหาวทิ ยาลยั เห็นสมควรสนบั สนุน    

-๑๑-  ๒๔.๑.๒ เจ็บปว่ ยจนตอ้ งพกั รักษาตวั เป็นเวลานาน เกนิ รอ้ ยละ ๒๐ของเวลาเรยี นทั้งหมดในภาคการศกึ ษาน้ันตามคําสง่ั แพทย์ โดยมใี บรับรองแพทยจ์ ากสถานพยาบาลของทางราชการหรือสถานพยาบาลของเอกชนตามกฎหมายวา่ ด้วยสถานพยาบาลซึ่งเปน็ ของเอกชนและที่กระทรวงสาธารณสขุ กาํ หนด ๒๔.๑.๓ มคี วามจาํ เปน็ สว่ นตวั โดยอาจยืน่ คํารอ้ งขออนุญาตลาพกัการเรียนได้ เมอื่ ไดเ้ รียนในมหาวิทยาลัยมาแล้วอย่างนอ้ ยหนึง่ ภาคการศกึ ษา ๒๔.๒ การลาพักการเรียน นิสติ ตอ้ งยนื่ คาํ ร้องตอ่ คณบดภี ายใน ๒ สปั ดาห์นับจากวนั เปิดภาคการศกึ ษาหรือตามท่คี ณบดเี หน็ สมควร และให้คณบดเี ปน็ ผ้พู จิ ารณาอนุญาตแล้วแจง้ ใหน้ ายทะเบยี นทราบ ๒๔.๓ การลาพักการเรียน ใหอ้ นญุ าตครง้ั ละไมเ่ กินหนง่ึ ภาคการศึกษาถา้ นสิ ิตยังมคี วามจําเป็นที่จะตอ้ งขอลาพกั การเรยี นต่อไปอีกใหย้ ืน่ คําร้องใหม่ ๒๔.๔ ในกรณที ่นี สิ ิตไดร้ ับอนุญาตใหล้ าพักการเรียน ให้นบั ระยะเวลาท่ีลาพกั การเรยี นรวมอยู่ในระยะเวลาเรยี น ตามขอ้ ๑๗ ดว้ ย ๒๔.๕ ในระหวา่ งทไ่ี ดร้ บั อนุญาตใหล้ าพกั การเรียน นสิ ิตจะตอ้ งชําระเงนิคา่ บาํ รุงมหาวิทยาลัยและค่าบํารงุ คณะตามระเบียบทกุ ภาคการศึกษาภายใน ๒ สัปดาห์ นบั จากวันเปิดภาคการศึกษา เพือ่ รักษาสภาพนสิ ิต มฉิ ะน้ันจะถูกคดั ชือ่ ออกจากมหาวิทยาลัย ๒๔.๖ นสิ ิตทไ่ี ด้รับอนญุ าตใหล้ าพักการเรยี น เมือ่ จะขอกลับเขา้ เรียนจะต้องยื่นคําร้องขอกลับเขา้ เรยี นต่อคณบดี และเมือ่ คณบดอี นญุ าตแลว้ ให้คณะแจง้ ใหน้ ายทะเบยี นทราบ ข้อ ๒๕ การย้ายคณะ ๒๕.๑ นิสิตทจี่ ะขอยา้ ยคณะ ตอ้ งมีคณุ สมบัติ ดงั นี้ ๒๕.๑.๑ ไดเ้ รียนในคณะเดิมมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า ๒ ภาคการศึกษาทง้ั น้ี ไมน่ ับภาคการศกึ ษาทลี่ าพักการเรียนหรือถูกสัง่ ใหพ้ กั การเรยี น ๒๕.๑.๒ ไมเ่ คยได้รบั อนมุ ตั ใิ ห้ยา้ ยคณะมาก่อน ๒๕.๑.๓ มคี ณุ สมบตั ิเพมิ่ เติมตามประกาศมหาวิทยาลยั ๒๕.๒ การขอยา้ ยคณะ นสิ ิตต้องแสดงเหตุผลประกอบการขอย้าย และตอ้ งดําเนนิ การให้เสรจ็ สนิ้ ก่อนการลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาทจ่ี ะย้ายคณะ ๒๕.๓ รายวิชาต่าง ๆ ท่ีนสิ ติ ยา้ ยคณะได้เรียนมา ถงึ แมจ้ ะไม่ตรงกบัหลกั สูตรของคณะท่ีย้ายเขา้ ก็ตาม ให้นํามาคาํ นวณคา่ ระดบั ขัน้ เฉลีย่ สะสมด้วย ๒๕.๔ ระยะเวลาเรยี น ใหน้ บั ตง้ั แต่เร่ิมเข้าเรยี นในคณะเดิม ๒๕.๕ การพจิ ารณาอนุมตั กิ ารขอยา้ ยให้เปน็ ไปตามประกาศมหาวทิ ยาลยั

-๑๒-  ข้อ ๒๖ การเปลี่ยนสาขาวิชา นิสติ อาจขอเปล่ียนสาขาวชิ าภายในคณะได้เพียงครัง้ เดยี ว ทง้ั น้ี ต้องได้รับความเห็นชอบจากหวั หน้าภาควิชาที่เกีย่ วข้อง โดยไดร้ บั อนมุ ตั ิจากคณบดี และใหค้ ณบดแี จ้งให้นายทะเบียนทราบ ข้อ ๒๗ การเปลี่ยนประเภทนิสติ นิสิตสามารถเปล่ียนประเภทได้ ทง้ั นีใ้ หเ้ ปน็ ไปตามประกาศมหาวทิ ยาลยั ขอ้ ๒๘ การรับโอนนิสติ นักศึกษาจากสถาบันอดุ มศึกษาอืน่ มหาวทิ ยาลยั อาจพจิ ารณารบั โอนนิสิตนกั ศกึ ษาจากสถาบนั อุดมศึกษาอนื่ท่มี ีวทิ ยฐานะเทยี บเท่า ตามประกาศมหาวทิ ยาลัย ขอ้ ๒๙ การเทียบโอนหน่วยกิต มหาวทิ ยาลัยอาจพิจารณาเทียบโอนหนว่ ยกิตไดต้ ามประกาศมหาวทิ ยาลัย ข้อ ๓๐ การพน้ จากสภาพนิสติ นสิ ติ ตอ้ งพน้ จากสภาพนสิ ิตในกรณีต่อไปน้ี ๓๐.๑ สําเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สูตรและได้รบั ปริญญาตามขอ้ ๓๒ ๓๐.๒ ไดร้ บั อนุมัตจิ ากคณบดีให้ลาออก ๓๐.๓ ถูกคัดชอื่ ออกจากมหาวทิ ยาลัยในกรณีดงั ตอ่ ไปนี้ ๓๐.๓.๑ ไมล่ งทะเบยี นเรียนในภาคการศกึ ษาแรกที่ขึ้นทะเบียนเป็นนสิ ิต ๓๐.๓.๒ ไมล่ งทะเบียนเรียนในภาคการศกึ ษาใดภาคการศึกษาหนงึ่หรือ การลงทะเบยี นเรียนไม่สมบรู ณ์ โดยมิไดล้ าพักการเรยี นตามขอ้ ๒๔ ๓๐.๓.๓ ขาดคณุ วฒุ หิ รอื คณุ สมบตั อิ ยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ตามขอ้ ๔ ๓๐.๓.๔ เมื่อคา่ ระดบั ขนั้ เฉล่ียสะสมตา่ํ กวา่ ๑.๗๕ ๓๐.๓.๕ มีระยะเวลาเรยี นครบกําหนดตามขอ้ ๑๗.๒ แลว้ ยงั ไม่สาํ เรจ็ การศกึ ษา ๓๐.๓.๖ เปน็ นิสิตสภาพรอพินจิ ท่มี คี ่าระดบั ขัน้ เฉลย่ี สะสมตา่ํ กว่า ๑.๘๐ เปน็ ระยะเวลา ๒ ภาคการศึกษาต่อเน่อื งกนั ๓๐.๓.๗ เป็นนสิ ิตสภาพรอพินจิ ท่ีมีค่าระดบั ขน้ั เฉล่ยี สะสมตํ่ากวา่ ๒.๐๐ เปน็ ระยะเวลา ๔ ภาคการศึกษาต่อเนอื่ งกนั ๓๐.๓.๘ ทําการทุจรติ อยา่ งร้ายแรงในการวัดผล ๓๐.๓.๙ มีความประพฤตเิ สอ่ื มเสียอย่างรา้ ยแรงในขณะทเ่ี ปน็ นิสติ ๓๐.๓.๑๐ ทําผิดระเบียบของมหาวิทยาลยั อยา่ งร้ายแรง

-๑๓-  ผทู้ ีพ่ น้ จากสภาพนิสิตเพราะถกู คดั ชอ่ื ออกจากมหาวิทยาลยั ตามขอ้ ๓๐.๓.๒หากประสงคข์ อคืนสภาพเปน็ นสิ ติ อีก ใหย้ ่ืนคาํ รอ้ งผ่านอาจารยท์ ป่ี รึกษา หวั หน้าภาควิชา และคณบดีตามลาํ ดับ เพ่อื เสนอใหอ้ ธกิ ารบดอี นุมัติ ท้ังนี้ ผู้นัน้ ตอ้ งชําระเงินค่าบํารุง ค่าธรรมเนยี มการศกึ ษาและคา่ ใช้จ่ายอน่ื ๆ ตามระเบยี บมหาวทิ ยาลัยบรู พา ว่าด้วยการเก็บเงนิ คา่ บาํ รุงและค่าธรรมเนียมการศกึ ษา เมื่อได้รับอนมุ ัตแิ ล้ว ใหผ้ ้นู ้ันได้คนื สภาพเป็นนิสติ ในสาขาวชิ าเดมิ อีกครง้ั หน่ึงตามรหสัประจําตวั นสิ ิตเดมิ และคงสภาพเปน็ นสิ ติ เพียงเท่าระยะเวลาตามข้อ ๑๗.๒ นบั แตว่ นั ขน้ึ ทะเบียนเป็นนสิ ิตครงั้ แรก ข้อ ๓๑ การขอรับปรญิ ญา ๓๑.๑ ในภาคการศึกษาใดทนี่ สิ ติ คาดวา่ จะสําเร็จการศึกษาใหย้ ่นื คํารอ้ งขอรบั ปริญญาตอ่ นายทะเบียน ภายใน ๑ เดือน นับแตว่ นั เปิดภาคการศึกษา ๓๑.๒ นิสิตทจี่ ะขอรบั ปริญญาไดต้ อ้ งมีเวลาเรยี นในมหาวิทยาลยั ตามระยะเวลาเรียนในขอ้ ๑๗.๒ ๓๑.๓ นสิ ติ ทจ่ี ะขอรับปรญิ ญาไดต้ ้องมีเวลาเรียนในมหาวิทยาลยั ไมน่ ้อยกวา่๑ ปกี ารศกึ ษา สาํ หรบั นสิ ิตที่ขอเทียบโอนผลการศึกษา ข้อ ๓๒ การให้ปรญิ ญา มหาวิทยาลัยจะพิจารณาเสนอชือ่ นิสิตที่ไดย้ ่ืนความจาํ นงขอรบั ปริญญาและมคี วามประพฤตดิ ีต่อสภาวิชาการและสภามหาวิทยาลยั ตามลาํ ดบั เพ่อื อนุมัตปิ ริญญาบณั ฑิต หรือปริญญาบณั ฑติ เกียรตินิยมตามเกณฑ์ ดังตอ่ ไปนี้ ๓๒.๑ ปริญญาบัณฑติ นสิ ิตผมู้ ีสทิ ธไิ ดร้ บั ปริญญาบัณฑติ ตอ้ งสอบไดจ้ ํานวนหน่วยกติครบตามหลกั สตู ร และได้ค่าระดบั ข้นั เฉลย่ี สะสมไมน่ อ้ ยกวา่ ๒.๐๐ ๓๒.๒ ปรญิ ญาบณั ฑิตเกียรตินยิ มอันดบั สอง นสิ ิตผ้มู สี ทิ ธิได้รบั ปรญิ ญาบณั ฑติเกยี รตนิ ยิ มอนั ดับสอง ตอ้ งสอบได้จํานวนหน่วยกติ ครบตามหลักสตู ร ๔ ปี หรอื ๕ ปี หรือ ๖ ปี ได้คา่ระดับข้ันเฉลยี่ สะสมตั้งแต่ ๓.๒๕ ขนึ้ ไป และไมเ่ คยสอบได้ D+, D, F หรือ U ในรายวชิ าใด ๓๒.๓ ปริญญาบัณฑิตเกยี รตินยิ มอันดบั หนึง่ นสิ ติ ผมู้ สี ทิ ธิไดร้ บั ปริญญาบัณฑติเกียรตินยิ มอนั ดบั หน่ึง ต้องสอบไดจ้ าํ นวนหน่วยกติ ครบตามหลกั สูตร ๔ ปี หรือ ๕ ปี หรอื ๖ ปี ไดค้ า่ระดับข้ันเฉลยี่ สะสมตง้ั แต่ ๓.๖๐ ขนึ้ ไป และไม่เคยสอบได้ D+, D, F หรือ U ในรายวิชาใด ข้อ ๓๓ การใหเ้ หรียญรางวลั ในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา นิสิตผ้มู สี ทิ ธิได้รับเหรยี ญรางวัลจะตอ้ งมคี ณุ สมบัตดิ ังนี้ ๓๓.๑ ไดร้ บั ปรญิ ญาบณั ฑิตเกยี รตนิ ยิ มอันดบั หนึ่ง ๓๓.๒ ได้คา่ ระดับขน้ั เฉล่ยี สะสมสูงสดุ ในบรรดาผสู้ าํ เรจ็ การศึกษาในสาขาวชิ าเดียวกัน

-๑๔-  ข้อ ๓๔ หากมขี อ้ ขดั ขอ้ งหรือมปี ัญหาในทางปฏบิ ัติ ใหร้ องอธกิ ารบดที ี่อธิการบดมี อบหมายและคณบดี หารือร่วมกนั และเสนออธิการบดีเพ่ือวนิ จิ ฉัยสง่ั การ ประกาศ ณ วันท่ี ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕ (ลงชื่อ) สมพล พงศไ์ ทย (ศาสตราจารย์ นายแพทยส์ มพล พงศ์ไทย) อธิการบดีมหาวิทยาลยั บูรพาสําเนาถูกตอ้ ง(นางธนวรรณ ศกั ดากมั ปนาท) เจ้าหน้าทบ่ี ริหารงานทั่วไป 



112 เอกสารแนบหมายเลข 8สรุปผลขอ้ เสนอแนะของผูท้ รงคุณวฒุ ิ ภาพรวมของหลักสตู ร- หลกั สูตรมกี ารปรับเลก็ น้อย- ควรปรบั ลดจานวนหน่วยกิตตลอดหลกั สตู รลง รายวิชาท่คี วรปรับปรุงและรายวชิ าทีค่ วรเพ่มิ เติม- รายวชิ า 70331359 จลุ ชีววทิ ยา ปรสติ วทิ ยาและวิทยาภูมิค้มุ กัน 3 (2-2-5) ควรแยกรหสั วชิ า - รายวิชาอาหารและโภชนาการ เสนอเป็นวิชารหัสคณะ เช่น อาหารเพ่ือสขุ ภาพแพทย์แผนไทย - รายวิชาการจดั บรกิ ารสขุ ภาพแพทยแ์ ผนไทย ควรเปน็ รายวชิ าบงั คับ- ควรจดั ให้มรี ายวิชาระบาดวิทยาและสถิติเปน็ รายวิชาบงั คับ การจดั ลาดบั รายวิชาและหมวดวชิ า ไม่มีขอ้ เสนอแนะ อื่น ๆ - ในหลกั สูตรการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ จะเรยี นเนื้อหาตามคมั ภีรซ์ ่ึงส่วนใหญ่เน้ือหาเป็นภาษาบาลี-สนั สกฤต ควรจะมีการเรยี นภาษาบาลี-สันสกฤตเพม่ิ เติม

113 ข้อเสนอแนะหลักสตู รการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์บณั ฑิต สาขาวชิ าการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ คณะการแพทย์แผนไทยอภัยภเู บศร มหาวิทยาลัยบูรพา *************************ชือ่ – สกลุ ...........................ด...ร....ศ..ุภ...ะ..ล..กั...ษ...ณ...์...ฟ..กั...ค..ำ.............................................................................................วฒุ กิ ารศึกษาสูงสดุ …………………………………………………………………………………………………………………………….สถาบนั /หนว่ ยงาน..............ว..ิท..ย...ำ..ล..ัย..ส...ห..เ..ว..ช..ศ..ำ..ส...ต..ร..์..ม..ห...ำ..ว..ทิ ..ย...ำ..ล..ยั..ร..ำ..ช...ภ..ัฎ...ส..ว..น...ส..นุ...นั...ท..ำ........................................ความคดิ เหน็ ต่อหลักสูตร ภาพรวมของหลักสูตร.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .................................. รายวิชาทคี่ วรปรับปรุงและรายวิชาทคี่ วรเพมิ่ เตมิ........................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .................................. การจัดลาดับรายวิชา และหมวดวชิ า.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................ อน่ื ๆ........................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ..................................




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook