Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

Published by sisagolf1212, 2018-05-30 00:59:10

Description: sisa1212

Search

Read the Text Version

งานชนิ้ ท่ี1เรื่อง องคป์ ระกอบของคอมพวิ เตอร์ จดั ทาโดย นางสาว จันจิรา ภูร่ อ้ ย ปวส1 เลขท่8ี คอมพิวเตอร์ 2 เสนอ อาจารย์ ทวศี กั ด์ิ หนทู มิ วิทยาลยั อาชีวะนครศรีธรรมราช

1. ฮาร์ดแวร์ (HARDWARE) ฮาร์ดแวรเ์ ปน็ องค์ประกอบของตวั เคร่ืองทสี่ ามารถจบั ตอ้ งได้ ได้แก่ วงจรไฟฟา้ ตวั เครอื่ ง จอภาพเครื่องพิมพ์ ครี ์บอรด์ เป็นต้นซึ่งสามารถแบง่ ส่วนพ้ืนฐานของฮาร์ดแวรเ์ ปน็ 4 หนว่ ยสาคัญ 1.1 หนว่ ยรบั ข้อมูลหรอื อินพตุ (Input Unit) ทาหน้าทรี่ บั ขอ้ มูลและโปรแกรมเข้า เคร่อื ง ไดแ้ ก่คียบ์ อรืดหรือแปน้ พิมพ์ เมาส์ เคร่ืองสแกน เครอื่ งรดู บตั ร Digitizer เปน็ ตน้ 1.2 ระบบประมวลผลกลางหรอื ซีพยี ู (CPU : Central Processing Unit) ทาหนา้ ท่ีในการทางานตามคาสัง่ ท่ีปรากฏอย่ใู นโปรแกรม ปจั จบุ นั ซพี ียขู องเคร่ืองพซี ี รจู้ ักในนามไมโครโปรเซสเซอร(์ MicroProcessor) ไมโครโปรเซสเซอร์ มีหนา้ ท่ีในการประมวลผลข้อมลู ในลกั ษณะของการคานวณและเปรียบเทียบโดยจะทางานตามจงั หวะเวลาท่ีแน่นอน เรยี กว่าสญั ญาณClockเมอื่ มกี ารเคาะจงั หวะหนงึ่ ครงั้ กจ็ ะเกดิกจิ กรรม1ครงั้ เราเรียกหน่วยทใ่ี ชใ้ นการวัดความเร็วของซพี ียวู า่ “เฮริ ท์ ”(Herzt) 1.3 หนว่ ยเกบ็ ข้อมูล (Storage) ซึ่งสามารถแยกตามหนา้ ที่ได้เปน็ 2 ลักษณะ คือ1.3.1 หนว่ ยเก็บข้อมลู หลักหรือความจาหลกั (Primary Storage หรอื Main Memory) ทาหน้าทีเ่ กบ็โปรแกรมหรือขอ้ มลู ทร่ี บั มาจากหนว่ ยรบั ข้อมูลเพอื่ เตรยี มสง่ ใหห้ นว่ ยประมวลผลกลางทาการประมวลผล และรบั ผลลัพธ์ทไี่ ดจ้ ากการประมวลผลเพื่อส่งออกหนว่ ยแสดงขอ้ มลู ต่อไป1.3.2 หน่วยเกบ็ ขอ้ มลู สารอง(Secondary Storage) เปน็ หนว่ ยทีท่ าหนา้ ท่ีเก็บข้อมูล หรอื โปรแกรมทจี่ ะป้อนเข้าสหู่ น่วยความจาหลกั ภายในเครือ่ งกอ่ นทาการประมวลผลโดยซีพยี ูและเกบ็ ผลลัพธจ์ ากการประมวลผลน้นั ด้วย ปัจจุบันรู้จักในนามฮาร์ดดิสก(์ Hard disk) หรอื แผน่ ฟร็อปปีดิสก์(Floppy Disk) 1.4 หน่วยแสดงข้อมูลหรือเอาต์พุต(Output Unit) ทาหน้าทใี่ นการแสดงผลลัพธท์ ่ีไดจ้ ากการประมวลผล ไดแ้ ก่ จอภาพ และเครื่องพิมพ์ เปน็ ตน้ ท้งั 4ส่วนจะเชื่อมต่อกนั ดว้ ยบสั (Bus)ere to edit.

2 ซอฟต์แวร์ (SOFTWARE) ซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมหรือชดุ คาสง่ั ทสี่ งั่ ให้ฮาร์ดแวร์ทางาน รวมไปถงึ การควบคุมการทางานของอุปกรณแ์ วดล้อมต่างๆ เช่น ฮารด์ ดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม การด์ อินเตอร์เฟสต่าง ๆ เป็นต้น ซอฟตแ์ วร์เปน็ สง่ิ ทม่ี องไมเ่ หน็ จับต้องไมไ่ ด้ แตร่ บั รู้การทางานของมนั ได้ ซงึ่ ตา่ งกับ ฮารด์ แวร์ (Hardware) ท่ีสามารถจบัตอ้ งได้ ซ่งึ แบง่ เป็น 2 ประเภทคอื 2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) คือโปรแกรม ทใี่ ช้ในการควบคมุ ระบบการ ทางานของเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ทัง้ หมด เชน่ การบตู เครอื่ ง การสาเนาข้อมูล การจดั การระบบของดสิ ก์ ชดุ คาส่งั ทเี่ ขยี นเป็นคาสัง่ สาเรจ็ รูป โดยผ้ผู ลติ เคร่อื งคอมพิวเตอร์ และมีมาพร้อมแลว้ จากโรงงานผลติ การทางานหรอื การประมวลผลของซอฟต์แวรเ์ หลา่ น้ี ขนึ้ กับเครอื่ งคอมพิวเตอร์แตล่ ะเครอ่ื ง ระบบของซอฟตแ์ วรเ์ หล่านี้ ออกแบบมาเพ่ือการปฏิบตั ิควบคุม และมคี วามสามารถในการยดื หยนุ่ การประมวลผลของเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคอื2.1.1 โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System) เปน็ โปรแกรมทีใ่ ช้ควบคุมและติดตอ่ กับอุปกรณ์ต่างๆของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ โดยเฉพาะการจัดการระบบของดิสก์ การบรหิ ารหนว่ ยความจาของระบบ ถ้าขาดซอฟต์แวรช์ นดิ นี้ จะทาใหเ้ ครอ่ื งคอมพวิ เตอรไ์ ม่สามารถทางานได้ ตวั อยา่ งของซอฟต์แวรป์ ระเภทน้ีไดแ้ ก่โปรแกรมระบบปฏบิ ตั ิการ Unix Linux DOS และ Windows (เวอรช์ ั่นต่าง ๆ เชน่ 95 98 XP Vista ) เปน็ต้น2.1.2 ตวั แปลภาษา (Translator) จาก Source Code ให้เปน็ Object Code (แปลจากภาษาที่มนุษย์เขา้ ใจใหเ้ ป็นภาษาท่เี ครอื่ งเข้าใจ) เป็นซอฟตแ์ วรท์ ่ใี ชใ้ นการแปลภาษาระดบั สูง ซ่ึงเป็นภาษาใกล้เคียงภาษามนษุ ย์ ให้เป็นภาษาเครื่องก่อนทจี่ ะนาไปประมวลผล ตัวแปลภาษาแบง่ ออกเปน็ สองประเภทคือ คอมไพเลอร์(Compiler) และอินเตอรพ์ ที เตอร์ (Interpeter) คอมไพเลอร์จะแปลคาสัง่ ในโปรแกรมทัง้ หมดก่อน แล้วทาการลิง้ (Link) เพือ่ ใหไ้ ดค้ าส่งั ท่เี คร่อื งคอมพิวเตอรเ์ ข้าใจ สว่ นอนิ เตอร์พที เตอร์จะแปลทลี ะประโยคคาส่ัง แลว้ทางานตามประโยคคาสั่งนนั้ การจะเลอื กใชต้ ัวแปลภาษาแบบใดน้นั จะขน้ึ อยกู่ บั ภาษาทีใ่ ชใ้ นการเขยี นโปรแกรม2.1.3 ยตู ิลติ ้ี โปรแกรม (Utility Program) คอื ซอฟต์แวร์เสรมิ ชว่ ยให้เคร่ืองทางานมปี ระสทิ ธิภาพ มากขนึ้เชน่ ชว่ ยในการตรวจสอบดิสก์ ชว่ ยในการจัดเกบ็ ขอ้ มลู ในดสิ ก์ ชว่ ยสาเนาขอ้ มูล ช่วยซอ่ มอาการชารุดของ

ดิสก์ ช่วยคน้ หาและกาจดั ไวรสั ฯลฯ เป็นต้น2.1.4 ตดิ ต้งั และปรับปรงุ ระบบ (Diagonostic Program) เป็นซอฟตแ์ วรท์ ี่ใชใ้ นการตดิ ตง้ั ระบบ เพอ่ื ให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อและใช้งานอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ท่ีนามาตดิ ตั้งระบบ ไดแ้ ก่ โปรแกรมSetupและ Driverต่าง 2.2 ซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟตแ์ วรห์ รอื โปรแกรมที่ทาให้คอมพวิ เตอรท์ างานตา่ งๆ ตามทีผ่ ใู้ ชต้ ้องการ ไม่ว่าจะดา้ นเอกสาร บญั ชี การจดั เก็บข้อมูล เปน็ ตน้ ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ตส์ ามารถจาแนกได้เปน็ 2 ประเภท คือ2.2.1 ซอฟตแ์ วร์สาหรบั งานเฉพาะด้าน(Special Purpose Software) คอื โปรแกรมซงึ่ เขยี นขน้ึ เพ่อื การทางานเฉพาะอย่างทีเ่ ราต้องการ บางที่เรยี กวา่ User’s Program เช่น โปรแกรมการทาบัญชีจ่ายเงนิ เดอื นโปรแกรมระบบเชา่ ซ้อื โปรแกรมการทาสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซง่ึ แตล่ ะโปรแกรมก็มกั จะมเี งื่อนไข หรือแบบฟอรม์ แตกต่างกนั ออกไปตามความต้องการหรอื กฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานทใ่ี ช้2.2.2 ซอฟต์แวร์สาหรับงานท่ัวไป(General Purpose Software) เปน็ โปรแกรมประยกุ ตท์ ่มี ีผจู้ ดั ทาไว้ เพอื่ ใช้ในการทางานประเภทตา่ งๆ ท่ัวไป โดยผ้ใู ช้คนอืน่ ๆ สามารถนาโปรแกรมนไ้ี ปประยกุ ต์ใชก้ บั ข้อมูลของตนได้แตจ่ ะไม่สามารถทาการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไมจ่ าเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซง่ึ เปน็ การประหยดั เวลา แรงงาน และคา่ ใช้จ่ายในการเขยี นโปรแกรม ดังนั้นการใช้โปรแกรมสาเร็จรปู จงึ เปน็ สง่ิ ท่อี านวยความสะดวกและเปน็ ประโยชน์อยา่ งยิ่ง ตัวอยา่ งโปรแกรมสาเรจ็ รูปท่นี ยิ มใช้ได้แก่ MS-Office, AdobePhotosho, Internet Explorer และ เกมสต์ า่ งๆ เป็นต้น

3 บุคลากร (PEOPLEWARE) บุคลากรจะเปน็ ส่งิ สาคัญทีจ่ ะเปน็ ตัวกาหนดถงึ ประสทิ ธิภาพถึงความสาเรจ็ และความคมุ้ ค่าในการใชง้ านคอมพิวเตอร์ ซงึ่ สามารถแบง่ บคุ ลากรตามหนา้ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งตามลักษณะงานได้ 6 ด้าน ดงั น้ี 3.1 นกั วเิ คราะห์และออกแบบระบบ (Systems Analyst and Designer : SA) ทาหน้าท่ศี ึกษาและรวบรวมความตอ้ งการของผ้ใู ชร้ ะบบ และทาหน้าที่เป็นส่ือกลางระหว่างผูใ้ ช้ระบบและนกั เขยี นโปรแกรมหรือปรบั ปรงุ คณุ ภาพงานเดมิ นกั วเิ คราะห์ระบบตอ้ งมีความร้เู กี่ยวกับระบบคอมพวิ เตอร์ พื้นฐานการเขยี นโปรแกรม และควรจะเป็นผมู้ คี วามคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์มีมนษุ ย์สมั พนั ธ์ทด่ี ี 3.2 โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คอื บุคคลทีท่ าหนา้ ท่ีเขยี นซอฟต์แวรต์ า่ งๆ(Software) หรอืเขยี นโปรแกรมเพือ่ ส่งั งานใหเ้ ครือ่ งคอมพิวเตอร์ทางานตามความตอ้ งการของผใู้ ช้ โดยเขยี นตามแผนผงั ที่นกั วเิ คราะห์ระบบได้เขยี นไว้ 3.3 ผู้ใช้ (User) เป็นผู้ใชร้ ะบบคอมพิวเตอร์ ซ่งึ จะเปน็ ผปู้ ฏบิ ตั หิ รอื กาหนดความต้องการในการใช้ระบบคอมพิวเตอรว์ ่าทางานอะไรไดบ้ ้าง ผใู้ ช้งานคอมพิวเตอร์ทว่ั ไป จะตอ้ งเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธกี ารใชง้ านโปรแกรม เพ่ือให้โปรแกรมทีม่ อี ยู่สามารถทางานไดต้ ามท่ีต้องการ 3.4 ผ้ปู ฏิบัติการ (Operator) สาหรบั ระบบขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม จะต้องมีเจา้ หน้าที่คอมพิวเตอร์ท่ีคอยปิดและเปิดเครือ่ ง และเฝา้ ดจู อภาพเม่อื มปี ัญหาซ่ึงอาจเกิดขดั ข้อง จะต้องแจ้งSystem Programmer ซ่งึ เปน็ ผูด้ แู ลตรวจสอบแกไ้ ขโปรแกรมระบบควบคุมเครอ่ื งอีกทีหนึง่ 3.5 ผู้บรหิ ารฐานขอ้ มูล (Database Administrator : DBA) บุคคลท่ีทาหนา้ ทีด่ ูแลข้อมลู ผา่ นระบบจัดการฐานขอ้ มลู ซึ่งจะควบคุมให้การทางานเปน็ ไปอย่างราบรน่ื นอกจากนีย้ งั ทาหน้าที่กาหนดสทิ ธกิ ารใชง้ านข้อมูล พร้อมท้งั ดแู ลดาตา้ เบสเซิรฟ์ เวอรใ์ ห้ทางานอย่างปกติด้วย 3.6 ผู้จดั การระบบ (System Manager) คือ ผวู้ างนโยบายการใช้คอมพิวเตอรใ์ ห้เป็นไปตามเปา้ หมายของหน่วยงาน เปน็ ผู้ทมี่ ีความหมายตอ่ ความสาเร็จหรอื ลม้ เหลวของการนาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งานเป็นอย่างมาก

4 ข้อมูลและสารสนเทศ4.1 ข้อมูล (DATA)หมายถึง ข้อเทจ็ จริงหรอื เหตกุ ารณ์ที่เกิดขึ้น แล้วใช้ตวั เลขตวั อักษรหรอื สญั ลกั ษณ์ ต่างๆ ทาความหมายแทนสิ่งเหลา่ นนั้ เชน่· คะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียน· อายขุ องพนักงานในบรษิ ัทชินวัตรจากดั· ราคาขายของหนังสือในรา้ นหนงั สอื ดอกหญ้า· คาตอบทผ่ี ถู้ กู สารวจตอบในแบบสอบถาม4.2 สารสนเทศ (INFORMATION)หมายถงึ ข้อสรปุ ตา่ งๆ ท่ีไดจ้ ากการนาข้อมูลมาทาการวิเคราะห์ หรือผา่ นวธิ กี ารท่ีได้กาหนดขึ้น ทัง้ นี้เพื่อนาข้อสรปุ ไปใช้งานหรอื อา้ งอิง เช่น· เกรดเฉล่ยี ของวชิ าภาษาไทยของนักเรียน· อายเุ ฉลยี่ ของพนกั งานในบริษัทชินวตั รจากดั· ราคาขายสูงสุดของหนงั สอื ในรา้ นหนังสอื ดอกหญ้า· ข้อสรปุ จากการสารวจคาตอบในแบบสอบถาม

5 กระบวนการทางาน (PROCEDURE)องคป์ ระกอบดา้ นนีห้ มายถงึ กระบวนการทางานเพื่อให้ไดผ้ ลลพั ธ์ตามต้องการในการทางานกับคอมพิวเตอรผ์ ้ใู ช้จาเป็นต้องทราบขน้ั ตอนการทางานเพอื่ ใหไ้ ดง้ านที่ถกู ตอ้ งและมีประสทิ ธิภาพ ซึ่งอาจจะมขี ัน้ ตอนสลับซับซ้อนหลายข้นั ตอน ดงั นัน้ จงึ มีความจาเปน็ ต้องมีค่มู ือปฏบิ ัติงาน เชน่คมู่ ือผู้ใช้ ( user manual ) หรือคู่มอื ผดู้ ูแลระบบ ( operation manual ) เปน็ ต้นหลักการทางานของคอมพิ วเตอร์ระบบการทางานของคอมพวิ เตอร์ การทางานของคอมพวิ เตอร์ แบง่ ออกเปน็ 4 สว่ น ดังนี้1. หนว่ ยรบั ข้อมูล (Input Unit) ทาหนา้ ทีใ่ นการรับขอ้ มูลหรอื คาสงั่ จากภายนอกเขา้ ไปเกบ็ ไวใ้ นหนว่ ยความจา เพือ่ เตรียมประมวลผลขอ้ มลู ท่ีตอ้ งการ ซ่งึ อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการนาข้อมลู ท่ใี ชก้ ันอยู่ตั้งแตอ่ ดีตจนถึงปจั จบุ นั น้ัน มีอย่หู ลายประเภทด้วยกันสาหรับอปุ กรณ์ทน่ี ิยมใชใ้ นปัจจบุ นั มี ดังตอ่ ไปน้ี - Keyboard - Mouse - Disk Drive - Hard Drive - CD-Rom - Magnetic Tape - Card Reader - Scanner2. หนว่ ยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ทาหนา้ ที่ในการคานวณและประมวลผล แบ่งออกเปน็ 2 หนว่ ยย่อย คอื - หน่วยควบคมุ ทาหนา้ ท่ใี นการดแู ล ควบคมุ ลาดบั ขน้ั ตอนของการประมวลผล และการทางานของอปุ กรณต์ ่างๆ ภายในหน่วยประมวลผลกลาง และชว่ ยประสานงานระหว่างหนว่ ยประมวลผลกลาง กับอุปกรณ์นาเข้าขอ้ มลู อปุ กรณใ์ นการแสดงผล และหนว่ ยความจาสารอง

- หน่วยคานวณและตรรก ทาหน้าทีใ่ นการคานวณและเปรยี บเทียบข้อมลู ต่างๆ ทส่ี ง่ มาจากหน่วยควบคุม และหน่วยความจา3. หน่วยความจา (Memory) ทาหน้าท่ใี นการเกบ็ ขอ้ มลู หรอื คาส่งั ตา่ งๆ ท่รี บั จากภายนอกเข้ามาเก็บไว้ เพอ่ื ประมวลผลและยังเกบ็ผลทไ่ี ด้จากการประมวลผลไว้เพอื่ แสดงผลอีกด้วย ซ่ึงแบ่งออกเปน็ หนว่ ยความจา เปน็ หน่วยความจาทมี่ อี ยู่ ในตวั เครื่องคอมพิวเตอร์ ทาหนา้ ทใ่ี นการเก็บคาสั่งหรือขอ้ มลู แบง่ ออกเป็น - ROM หน่วยความจาํ แบบถาวร - RAM หน่วยความจาํ แบบชว่ั คราว - หนว่ ยความจาสารอง เป็นหนว่ ยความจาทอ่ี ยนู่ อกเคร่ือง มหี น้าท่ชี ว่ ยใหห้ น่วยความจาหลักสามารถเกบ็ ขอ้ มลู ไดม้ ากขน้ึ4. หนว่ ยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าท่ีในการแสดงผลลัทธท์ ี่ไดห้ ลงั จากการคานวณและประมวลผล สาหรบั อปุ กรณท์ ่ี ทาหน้าที่ในการแสดงผลขอ้ มลู ที่ไดน้ นั้ มตี ่อไปน้ี - Monitor จอภาพ - Printer เคร่อื งพิมพ์ - Plotter เครอื่ งพมิ พ์ที่ใช้ปากกาในการเขยี นข้อมลู ต่างๆ ที่ตอ้ งการลงกระดาษ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook