Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการปกป้องคุ้มครองนักเรียน

คู่มือการปกป้องคุ้มครองนักเรียน

Description: คู่มือการปกป้องคุ้มครองนักเรียน

Search

Read the Text Version

โรงเรียนพระหฤทยั ดอนเมอื ง

คำประกำศเจตจำนงของสภำกำรศกึ ษำคำทอลิกแห่งประเทศไทย เร่อื ง กำรปกป้องคมุ้ ครองนกั เรียน เพ่ือส่งเสรมิ การปฏิบัตภิ ารกจิ การให้การศึกษาอบรมอย่างมคี ุณภาพของโรงเรยี นคาทอลิกทุกสงั กดั สภาการศกึ ษา คาทอลิกแห่งประเทศไทย นาเสนอบรรทัดฐานท่ีทุกโรงเรียนพึงศึกษาและกาหนดนโยบายปฏิบัติของแต่ละโรงเรียนเป็น ลายลักษณ์อักษร เพ่ือเป็นบรรทัดฐานในการกาหนดนโยบายและคู่มือปฏิบัติของโรงเรียนคาทอลิก ในการส่งเสริม ศักด์ศิ รี ปกปอ้ งสิทธิทีพ่ ึงมี และป้องกนั การลว่ งละเมดิ ตา่ งๆ ซง่ึ อาจเกิดขน้ึ ไดใ้ นโรงเรยี น ดังตอ่ ไปน้ี 1. โรงเรียนคาทอลิกทุกโรงเรียนพึงกาหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติเป็นลายลักษณ์อักษรในการ ส่งเสริม ศักดิ์ศรี ปกป้องสิทธิ และคุ้มครองนักเรียนจากการล่วงละเมิดต่างๆ อย่างชัดเจน ตรงตามจิตตารมณ์พระวรสาร ข้อ เรียกร้องของพระศาสนจักร ปฏิญญาและกฎบัตรสหประชาชาติ กฎหมายบ้านเมือง และจรรยาบรรณวิชาชีพ ตาม กาหนดของคุรสุ ภา 2. นโยบายและแนวทางปฏบิ ัตทิ กี่ าหนดขน้ึ พึงไดร้ บั การศึกษาให้เขา้ ใจถอ่ งแท้ โดยคณะครูบคุ ลากรโรงเรยี น ผู้ปกครองนกั เรียน และทุกคนทเ่ี ข้ามามีส่วนในกิจกรรมของโรงเรยี น รวมถงึ นกั เรียนเอง อย่างเหมาะสมกบั วฒุ ภิ าวะของ แต่ละวยั 3. โรงเรียนพึงกาหนดเงื่อนไขท่ีชัดเจนให้เป็นที่รับทราบ และรับรองของผู้สมัครเข้าร่วมงานใหม่ทุกคน ไม่วา่ จะเปน็ ผู้บริหาร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษาและบุคลากรทวั่ ไปในการปฏิบัติตามนโยบายน้ี 4. โรงเรียนพึงกาหนดมาตรการและบคุ ลากรผู้รับผดิ ชอบอยา่ งชัดเจนในการเฝ้าระวังและรบั เรอื่ งราวร้องทกุ ข์ หากมขี น้ึ และมีแนวทางปฏบิ ัตเิ พอื่ แกไ้ ขและเยยี วยาในกรณเี กดิ การลว่ งละเมดิ บนพนื้ ฐานของการเคารพสทิ ธิ และให้ ความเปน็ ธรรมแกท่ กุ ฝา่ ยท่เี ก่ยี วขอ้ ง โดยคานงึ ถึงนักเรียนเปน็ สาคัญ สภาการศึกษาคาทอลกิ แหง่ ประเทศไทย รว่ มกับฝา่ ยการศึกษาของสงั ฆมณฑล และคณะนกั บวชไดจ้ ัดทาตวั อย่าง นโยบายในการปกป้องคุ้มครองนักเรียนและตัวอย่างคู่มือปฏิบัติของโรงเรียนในการปกป้องคุ้มครองนักเรียน เพื่อให้ โรงเรียนคาทอลิกได้ศึกษาและปรับให้เข้ากับบริบทของตนเอง ก่อนที่จะนาไปประกาศและบังคับใช้จนเกิดผลอย่างมี คณุ ภาพตามวัตถปุ ระสงค์ของความเป็นโรงเรยี นคาทอลิก บาทหลวงเดชา อาภรณร์ ัตน์ เลขาสภาการศกึ ษาคาทอลกิ แหง่ ประเทศไทย 6 กุมภาพนั ธ์ 2019

นโยบำยของโรงเรียนพระหฤทยั ดอนเมือง ในกำรปกปอ้ งคุม้ ครองนกั เรยี น เพ่ือให้โรงเรียนเปน็ สนามและเปน็ ฐานของการประกาศข่าวดี โรงเรยี นต้องเปน็ สถานทที่ ่ีปลอดภัยและนกั เรยี นได้ สมั ผสั ความรกั และความเมตตาของพระเจ้าผา่ นการปฏิบัติหนา้ ทข่ี องบุคลากรโรงเรียนทกุ คนบนพน้ื ฐานของความเคารพ ในศักด์ิศรี และความเสมอภาค เพอื่ ให้พวกเขารบั การพฒั นาและเรียนรเู้ ตม็ ตามศักยภาพ และสามารถค้นหาและค้นพบ กระแสเรยี กท่พี ระเจา้ ประทานใหพ้ วกเขาแตล่ ะคน เพอ่ื รว่ มกนั สร้างโลกท่ีดกี วา่ เดิม ทงั้ น้ี เพือ่ สร้างหลกั ประกนั วา่ นกั เรยี นทกุ คนของโรงเรยี นจะได้รบั การปกปอ้ งและค้มุ ครองสิทธิความเปน็ มนษุ ย์ ของตน โรงเรียนจึงประกาศนโยบายโรงเรียน ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. การปกปอ้ งและคุ้มครองนักเรียนเปน็ มาตรการท่ีโรงเรยี นดาเนนิ การอยา่ งจริงจงั และต่อเนอ่ื ง เพือ่ ให้แน่ใจ ว่า นกั เรยี นทุกคนเตบิ โตในสภาพแวดลอ้ มทป่ี ลอดภัย อบอวลไปดว้ ยความรกั และเอ้ืออาทร และไดร้ บั การพฒั นาใหเ้ ป็น มนษุ ย์ทส่ี มบรู ณใ์ นทกุ มิติ ท้ังร่างกาย สตปิ ญั ญา จิตใจ และจติ วญิ ญาณ จนเตม็ ตามศกั ยภาพของเขา ท่สี าคัญคือ นกั เรยี น ได้รบั การปกป้องคุ้มครองจากการล่วงละเมิดใดๆ บคุ ลากรของโรงเรยี นทุกคนจึงต้องตระหนักในหน้าทแี่ ละความ รับผิดชอบนี้ ทั้งในทางวิชาชพี และทางจรรยาบรรณ และจะต้องร่วมในวิถปี ฏิบัตอิ ย่างเป็นหนงึ่ เดยี วกนั ในชีวติ โรงเรยี น 2. การเฝ้าระวังและการดาเนินการในการปกป้องและคุ้มครองนักเรียนเป็นการรับรองสิทธิความเป็นมนุษย์ ของนักเรียน ตามข้อความเชื่อคาทอลิก ข้อเรียกร้องของพระศาสนจักร กฎบัตรของสหประชาชาติ และกฎหมาย บ้านเมือง เพ่ือให้แน่ใจว่านักเรียนจะปลอดจากการถูกล่วงละเมิดใดๆ ทั้งทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และทางเพศ รวมถึงปลอดจากการถูกปล่อยปละละเลย 3. เพ่อื ให้บุคลากรโรงเรยี นมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ โรงเรยี นกาหนดและอธิบายประเภทและความหมายเชิง พฤติกรรมของการลว่ งละเมิดด้านตา่ งๆ และยงั ไดใ้ หต้ ัวอย่างของรอ่ งรอยของการถูกล่วงละเมิดไว้ในแนวทางการปฏิบัติ ของโรงเรียน เพ่ือให้บุคลากรของโรงเรียนสามารถดูแล สังเกต เฝ้าระวัง และแจ้งเหตุสงสัยหากเกิดการล่วงละเมิด นกั เรียนไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งและทันท่วงที 4. โรงเรยี นกาหนดแนวทางการปฏิบัตขิ องบุคลากรโรงเรยี นตอ่ นักเรยี นอย่างมอื อาชพี แนวทางการปฏิบัติด้าน ความปลอดภัย แนวทางการปฏิบัติเก่ียวกับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมทางเพศและการสัมผัสทางกายภาพ รวมถึงการ ปฏิบัติผ่านส่ือออนไลน์ เพื่อเป็นข้อกาหนดในการปฏิบัติต่อนักเรียน บุคลากรโรงเรียนต้องตระหนักเสมอว่า ทุกคนต้องใช้ดุลยพินิจด้วยจรรยาบรรณทางวิชาชีพในการกาหนดพฤติกรรมของตนเองตลอดเวลาที่มีปฏิสัมพันธ์ กบั นกั เรียน อันเปน็ การส่งเสริมศกั ด์ศิ รีของทกุ คน 5. โรงเรยี นกาหนดและบงั คับใชแ้ นวทางการปฏบิ ตั ิเพ่อื ปกปอ้ งคุม้ ครองนักเรยี น โดยเรมิ่ ต้ังแต่การสรรหาและ รับบุคลากรเข้ามาทางานในโรงเรียน เพ่ือให้ม่ันใจว่าบุคลากรโรงเรียนทุกคนเป็นผู้เหมาะสมท่ีจะปฏิบัติงานกับเด็ก รวมท้ังกาหนดให้มีการตรวจสอบและประเมินบุคคลหรือองค์กรใดๆ ท่ีเข้ามามีส่วนร่วมกับกิจกรรมใดๆ ของโรงเรียน และจัดให้บุคคลเหล่านั้นลงนามในคารับรองในคาสัญญาของบุคลากรโรงเรียนในการปฏิบัติต่อนักเรียนก่อนเข้ามา รว่ มงานกบั โรงเรยี นดว้ ย 6. โรงเรียนกาหนดข้ันตอนการปฏิบัติในกรณีมีเหตุสงสัยว่า มีการล่วงละเมิดนักเรียน สาหรับบุคลากร โรงเรยี น เพื่อเฝ้าระวงั ป้องกัน แจง้ เหตุ รายงานและตรวจสอบข้อเท็จจรงิ รวมถงึ ขอ้ ปฏิบตั ิหากมีการล่วงละเมิดเกิดข้ึน ในการดูแลและสนบั สนุนนักเรยี นทีไ่ ด้รับหรืออาจได้รับผลกระทบ โดยมีการหารือรว่ มกับผูป้ กครอง และในกรณที ่จี าเป็น และเหมาะสมจะปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือหน่วยงานภายนอกการดาเนินการทั้งหมดนี้จะทาอย่างรวดเร็ว รอบคอบและ เป็นธรรมกับทุกฝ่ายโดยคานึงถึงสวัสดิภาพของนักเรียนเป็นสาคัญข้อมูลและเอกสารท่ีเก่ียวข้องท้ังหมดต้องเก็บรักษา

เป็นความลับโดยเคร่งครัด และจะเปิดเผยเฉพาะแก่ผู้มีหน้าท่ีปฏบิ ัติที่เก่ียวข้องภายในโรงเรียน และหน่วยงานของรัฐท่ี เกี่ยวข้องในกรณีจาเป็นเท่าน้ัน หากการล่วงละเมิดเด็กเก่ียวข้องกับบุคลากรของโรงเรียน โรงเรียนต้องดาเนินการตาม นโยบายหลักจรยิ ธรรม และข้อบงั คบั ทางวินัยของโรงเรยี นโดยเครง่ ครดั 7. โรงเรียนจัดตั้งคณะทางานในการปกป้องคุ้มครองนักเรียนให้เป็นหน่วยงานหลักในการทาหน้าท่ี และปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบาย และแนวทางปฏิบัติของโรงเรียนในการปกป้องคุ้มครองนักเรียน คณะทางานข้ึน ตรงและรายงานต่อผู้อานวยการโรงเรียน ในภาระหน้าที่เกี่ยวกับการกากับ ติดตามและดาเนินการปกป้องคุ้มครอง นักเรยี น 8. ผู้อานวยการมีหน้าท่ีในการรายงานการดาเนินงานในการปกป้องและคุ้มครองนักเรียนต่อคณะ กรรมการบริหารโรงเรียนเป็นวาระประจาปี และคณะกรรมการบริหารโรงเรียนต้องทบทวนและปรับปรุงให้ทันสมัยซึ่ง นโยบายในการปกป้องคมุ้ ครองของนกั เรยี นอย่างน้อยในทุก 3 ปี นโยบายน้ไี ด้รบั อนมุ ตั ิโดยคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น และเร่มิ บังคบั ใช้ เม่อื วันที่ 3 มถิ นุ ายน 2565 ลงชอ่ื ..................................................... (ซสิ เตอร์ ดร.พชั รา นนั ทจนิ ดา) ผอู้ านวยการโรงเรยี นพระหฤทยั ดอนเมือง

คมู่ อื ปฏิบตั ขิ องโรงเรยี น ในกำรปกปอ้ งคุ้มครองนักเรียน เพอื่ ให้โรงเรยี นเปน็ สนามและเปน็ ฐานของการประกาศขา่ วดี โรงเรียนตอ้ งเป็นสถานที่ทีป่ ลอดภัย และนักเรียน ได้รู้จักพระเจ้าและสัมผัสความรักและความเมตตาของพระเจ้า ผ่านการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรโรงเรียนทุกคนบน พื้นฐานของความเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และความเสมอภาค ทง้ั นี้ เพ่ือให้พวกเขาพัฒนาและเรียนรู้เต็มตาม ศักยภาพ และสามารถคน้ หาและพบกระแสเรยี กทพี่ ระเจ้าประทานให้พวกเขาแต่ละคน เพ่อื ร่วมกันสรา้ งโลกทีด่ กี ว่าเดมิ 1. ท่มี ำ หลักกำรและวตั ถุประสงค์ 1.1 ทม่ี ำ แนวทางการปฏิบัติน้ีพัฒนาข้ึนตามจิตตารมณ์พระวรสาร ข้อเรียกร้องของพระศาสนจักรสากล พระศาสนจักรในประเทศไทย กฎหมายบ้านเมอื ง และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ท่พี งึ มีของโรงเรียนและบุคลากรโรงเรยี น 1. อัตลกั ษณ์ของโรงเรียนคำทอลกิ พระเจ้าทรงสร้างมนุษย์ตามฉายาลักษณ์ของพระองค์และทรงมอบความรักอย่างไม่มีเงื่อนไข โดยส่ ง พระเยซูครสิ ตเจา้ พระบุตรของพระองค์มาบงั เกดิ เปน็ มนุษย์ เพื่อการไถก่ ู้มนุษยใ์ ห้รอดพ้น มนษุ ย์จึงพงึ เคารพในศักด์ศิ รี ของตนเองและผู้อ่ืนอย่างจริงใจ เพื่อสะท้อนถึงหลักการพื้นฐานนี้ สมณสาส์นโรงเรียนคาทอลิก ค .ศ. 1978 ไดร้ ะบุพันธกจิ ของโรงเรยี นคาทอลกิ ไวว้ ่า “โรงเรียนคาทอลกิ มพี ันธกจิ เพอื่ การพัฒนามนุษย์ทงั้ ครบ เพราะในพระคริสตผ์ ู้เป็นมนุษยท์ ่ี สมบรู ณแ์ บบทค่ี ณุ คา่ ของมนษุ ยท์ งั้ มวลจะพบกับความบรบิ รู ณ์และเปน็ หนง่ึ เดียว น่คี ือฐานรากของ คณุ ลกั ษณค์ วามเปน็ คาทอลกิ ของโรงเรียน โดยเฉพาะหนา้ ที่ในการปลูกฝงั คุณคา่ ของมนุษย์ตามสิทธิ อันชอบธรรมของโรงเรียนคาทอลกิ ทสี่ อดคลอ้ งกับพันธกิจในการรับใชม้ นษุ ยท์ งั้ มวลนัน้ มีตน้ กาเนดิ ในองคพ์ ระคริสตเจา้ พระองคค์ ือผู้ทาให้มนษุ ยเ์ ปน็ ผูม้ ีเกยี รติ มศี กั ด์ศิ รี ทาให้ชีวิตมนุษยม์ ีความหมาย และ เป็นตน้ แบบทโ่ี รงเรียนคาทอลิกมอบใหน้ ักเรียนทกุ คน” (โรงเรยี นคาทอลิก, 1978 ขอ้ 35) ดงั น้นั โรงเรียนคาทอลิกเชือ่ วา่ เด็กและเยาวชนทุกคนมสี ิทธทิ จ่ี ะ (1) เตบิ โตในสภาพแวดลอ้ มที่มนั่ คง ปลอดภยั และเออื้ อาทร (2) ไดร้ ับการรบั ฟัง และไดร้ ับความเคารพในฐานะบคุ คล (3) ไดร้ บั การเหน็ คุณค่าโดยไมค่ านงึ ถงึ เช้อื ชาติ ภาษา วัฒนธรรม ศาสนา เพศ และฐานะทางเศรษฐกิจและ สังคมของครอบครวั (4) ได้รับการปกปอ้ งจากการทาร้ายตา่ งๆ รวมท้งั การถูกทอดทิง้ ลว่ งละเมดิ และถกู เอารัดเอาเปรยี บ ดว้ ยเหตุผลน้ี ผู้ใหญท่ ุกคนในโรงเรยี นคาทอลกิ จงึ มีหนา้ ทรี่ ับผดิ ชอบร่วมกันท่จี ะ (1) สร้างความมนั่ ใจว่า เด็กและเยาวชนได้รับการปกป้องดูแล (2) สรา้ งสภาพแวดล้อมทป่ี ลอดภยั มั่นคง และอบอนุ่ ด้วยความรกั และทุ่มเทเอาใจใส่ (3) ใหก้ ารสนบั สนุน กระตนุ้ และหนนุ นาให้เดก็ แต่ละคนได้พฒั นาเต็มศักยภาพทีพ่ ระเจา้ ประทานให้

2. นโยบำยของพระศำสนจักรในประเทศไทย สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทยได้ออกแถลงการณ์นโยบายมาตรฐานในการปกป้องคุ้มค รอง เด็ก/ผู้เยาว์ เม่อื วนั ท่ี 2 ตลุ าคม ค.ศ. 2016 ไว้ว่า “สมาชกิ ทุกทา่ นของสภาพระสังฆราชคาทอลิกแหง่ ประเทศไทยตระหนักและเคารพในศักดิ์ศรีและสทิ ธิ ของเด็ก/ผู้เยาว์ กลา่ วคือผู้ท่ีมีอายตุ ่ากว่า 18 ปี และพรอ้ มท่จี ะสร้างหลกั ประกันใหพ้ วกเขามีความปลอดภัย และชีวิตท่ีดี สมาชิกทุกท่านของสภาพระสังฆราชฯ และผู้ร่วมงานในแต่ละสังฆมณฑล รวมทั้งคณะนักบวช ชายหญิงแตล่ ะคณะในประเทศไทย มีหน้าทต่ี ้องสร้างหลกั ประกนั วา่ สิทธขิ น้ั พื้นฐานของเด็ก/ผู้เยาว์” แถลงการณน์ โยบายฯ ไดก้ าหนดขอ้ ปฏิบัตใิ นเชงิ รูปธรรมทสี่ าคญั คือ “(1) ต้องพยายามอย่างท่ีสุดที่จะสร้างหลักประกันว่า เด็ก/ผู้เยาว์ ซึ่งอยู่ในสภาวะอันเส่ียงท่ีจะ ไดร้ บั อันตราย ต้องไดร้ บั การเอาใจใสเ่ ป็นอันดบั แรกและได้รบั การปฏิบัตดิ ว้ ยความเคารพ โดยใหส้ ทิ ธพิ วกเขา ได้รับการปกป้องค้มุ ครองสวัสดภิ าพของพวกเขา และไดร้ บั การสง่ เสริม (2) ต้องลดความเส่ียงให้เหลือน้อยที่สุดเพ่ือปกป้องคุ้มครองผลประโยชน์ของเด็ก/ผู้เยาว์ ซึง่ อยใู่ นสภาวะลอ่ แหลมอนั อาจจะไดร้ บั อันตราย” นอกจากนี้ กฤษฎีกาสมัชชาใหญ่ของพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย ค.ศ. 2015 กาหนดให้ สถานศึกษาคาทอลกิ ต้องเป็นสนำมและเป็นฐำนแห่งกำรประกำศข่ำวดีอยา่ งมีประสิทธิภาพ เปน็ แปลงบ่มเพาะคุณค่า ชวี ติ ตามแนวทางพระวรสารที่เหมาะสมท่ีสดุ เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนไดร้ ู้จักพระเจ้ำ สมั ผสั ควำมรักและควำมเมตตำของ พระเจ้ำ โดยต้องทาให้เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของการศึกษาคาทอลิกปรากฏอย่างชัดเจนเสมอ และต้องบริหารและ จัดการการเรียนการสอนโดยครูและบุคลากรท่ียึดถืออย่างมั่นคงในคุณค่าแห่งพระวรสารและวัฒนธรรมแบบคาทอลิก อย่างตอ่ เนื่องจนผอู้ านวยการ ครู และบุคลากรทกุ คนทุกระดบั เจรญิ ชีวิตเป็นแบบอยา่ ง แก่ทกุ คน ค. กฎหมำยคุ้มครองเดก็ พระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 กาหนดถึงการคุ้มครองเด็ก ส่วนที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับโรงเรียน ดังตอ่ ไปนี้ (1) กำรปฏิบตั คิ ุ้มครองเด็ก กฎหมายกาหนดให้การปฏบิ ัติต่อเด็กไม่ว่ากรณใี ด ให้คานึงถึงประโยชน์สูงสุดของเดก็ เป็นสาคัญและไม่ มีการเลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม นอกจากน้ี ยังกาหนดให้ผู้ปกครองต้องให้การเลี้ยงดู อบรมส่ังสอน และพัฒนาเด็ก ตามสมควรโดยยดึ ขนบธรรมเนยี มและวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน นอกจากน้ี กฎหมายยังบญั ญตั ิถึงข้อห้ามการกระทาตอ่ เดก็ ไว้ดว้ ย (2) กำรสง่ เสริมควำมประพฤตินกั เรยี นและนกั ศกึ ษำ กฎหมายกาหนดให้โรงเรียนและสถานศึกษาต้องจัดให้มีระบบงานและกิจกรรมในการแนะแนว ให้คาปรึกษาและฝึกอบรมแก่นักเรียน นักศึกษาและผู้ปกครอง เพ่ือการส่งเสริมความประพฤติท่ีเหมาะสม ความรับผิดชอบต่อสังคม และความปลอดภัยแก่นักเรียนและนักศึกษา และกาหนดให้นักเรียนและนักศึกษาต้องแต่ง กายและตอ้ งประพฤติตนตามระเบียบของโรงเรยี น

1.2 หลักกำรและวัตถปุ ระสงค์ คู่มือปฏิบัติในการปกป้องคุ้มครองนักเรียนจัดทาข้ึนเพ่ือเป็นแนวทางให้บุคลากรโรงเรียนทุกคนปฏิบัติเพื่อ ปกป้องคุ้มครองนักเรียนให้ปลอดภัยและอยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม สามารถเติบโตและพัฒนาศักยภาพได้อย่าง เต็มท่ีและได้รับการคุ้มครองให้ปราศจากการล่วงละเมิดใดๆ ซ่ึงรวมถึงหน้าที่โดยเฉพาะการให้ความช่วยเหลือและ สนับสนุนนักเรยี นท่ถี ูกลว่ งละเมิดจนแนใ่ จได้วา่ นกั เรยี นสามารถปรบั ตัวและพฤติกรรมจนเข้าสสู่ ภาวะปกตไิ ด้ เพ่ือเป็นหลกั ประกันว่า นักเรียนจะได้รับการการส่งเสริมศักดิ์ศรี ปกป้องสิทธิที่พึงมีและรับการคุม้ ครองจาก การลว่ งละเมิดตา่ งๆ ซง่ึ อาจเกดิ ขึน้ ได้ในโรงเรียน คู่มอื ปฏิบตั จิ งึ มวี ตั ถปุ ระสงค์ ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) เพ่ือการส่งเสรมิ ศกั ดิ์ศรี ปกป้องสิทธิ และป้องกันการลว่ งละเมิดใดๆ อย่างสอดคล้องกับพระวรสารใน ดา้ นความรกั และอสิ รภาพ ข้อเรียกร้องของพระศาสนจกั ร ปฏญิ ญาและกฎบตั รสหประชาชาติ กฎหมายบ้านเมือง และ จรรยาบรรณวิชาชพี ตามกาหนดของครุ ุสภา (2) เพื่อให้เป็นขอ้ ปฏิบัตทิ บ่ี คุ ลากรโรงเรียนได้ศึกษาใหเ้ ขา้ ใจถ่องแท้ นาสกู่ ารปฏบิ ัตติ อ่ นกั เรียนและระหวา่ ง นกั เรียนด้วยกนั เองอย่างเหมาะสมกับวฒุ ภิ าวะของแต่ละวยั (3) เพื่อเป็นเง่ือนไขที่ชัดเจนให้เป็นท่ีรับทราบและเห็นชอบของบุคลากรโรงเรียนและผู้ สมัคร เข้ารว่ มงานใหมข่ องโรงเรียนทกุ คน ทั้งเป็นผบู้ ริหาร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา ผปู้ กครองและบุคลากรทัว่ ไป (4) เพ่ือกาหนดมาตรการและบุคลากรในการสังเกตเฝ้าระวังและแจ้งเหตุสงสัยถึงการล่วงละเมิด อย่างชัดเจนและเป็นแนวทางปฏิบัติบนพื้นฐานการเคารพสิทธิและการให้ความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง รวมถึง การจัดให้มีการอบรมทีเ่ หมาะสมแก่บุคลากรโรงเรยี น คูม่ ือปฏบิ ัตใิ นการปกปอ้ งคุม้ ครองนกั เรียนน้ใี ชก้ ับ “บุคลำกรโรงเรยี นทกุ คน” ซงึ่ หมายความถึงแตไ่ มจ่ ากัด แต่เฉพาะบุคคล ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ผรู้ ับใบอนุญาต คณะกรรมการบริหารโรงเรยี น ผอู้ านวยการ รองและผ้ชู ่วยผอู้ านวยการ (2) บคุ ลากรทีร่ ับคา่ จ้างทุกคนในโรงเรียน ไดแ้ ก่ ครู ผชู้ ว่ ยสอน พนกั งานธุรการ เจ้าหนา้ ทฝี่ า่ ยปฏิบตั กิ าร แม่ ครัว แม่บา้ น นกั การภารโรง (3) ผจู้ ัดกจิ กรรมจากภายนอกในบางเวลา รวมถึง ทป่ี รกึ ษา วิทยากรรับเชิญ ผูเ้ ช่ียวชาญรบั เชญิ (4) ผฝู้ กึ สอน อาสาสมคั ร นสิ ติ นกั ศกึ ษาฝกึ สอน (5) ผู้รับจา้ ง รวมถงึ ผรู้ ับเหมางานตา่ งๆ ผู้ท่ีมาคา้ ขายในโรงเรยี น (6) ผปู้ กครอง ผรู้ ว่ มกิจกรรมของโรงเรียน นักเรียนผู้ได้รับการปกป้องคุ้มครองตามคู่มือปฏิบัติน้ี นอกจากหมายถึง เด็ก ผู้เยาว์ เยาวชน ผู้ รั บ ก า ร ศึ ก ษ า จ า ก โ ร ง เ รี ย น แ ล้ ว ยั ง ห ม า ย ค ว า ม ร ว ม ถึ ง เ ด็ ก แ ล ะ ผู้ เ ย า ว์ ทุ ก ค น ที่ โ ร ง เ รี ย น บุ ค ล า ก ร โ ร ง เ รี ย น และนกั เรยี นของโรงเรียน เขา้ ไปเกีย่ วขอ้ งในการทากจิ กรรมของโรงเรยี นดว้ ย โรงเรียนได้จัดทาประกาศรับรองสิทธิและการปกป้องคุ้มครองของโรงเรียนเพ่ือให้ทราบถึงข้อพึงปฏิบัติ อันเป็นประกันและมาตรฐานการดูแลสูงสุดอย่างต่อเนื่องและได้ติดประกาศนี้ตามที่ต่างๆ ในบริเวณโรงเรียน

ท่ีบุคลากรโรงเรียนและบุคคลที่มาติดต่อ สามารถเห็นและอ่านได้ง่ายและจะนาไปปรับใช้ โรงเรียนจะปรับปรุง และเปลยี่ นแปลงคาประกาศน้ีใหส้ อดคลอ้ งกับสถานการณ์และกาลเวลาทเ่ี ปลีย่ นแปลงไปอยู่เสมอ ตัวอย่างคาประกาศมีอยู่ใน ภำคผนวก ค. คำประกำศรับรองสิทธิและกำรปกป้องคุ้มครองนักเรียน 2. กำรทำงำนในกำรปกป้องคุ้มครองนกั เรยี น บุคลากรโรงเรียนทุกคนจะต้องตระหนักและรับรู้ถึงหน้าที่ความรับผดิ ชอบของตน ในการให้ความสนับสนุนและ ความสาคัญต่อสวัสดิภาพและความปลอดภัยของนักเรียน อีกท้ัง หากมีเหตุการณ์หรือพฤติการณ์น่าสงสัยถึงการล่วง ละเมิดต่อนักเรียน จะต้องรายงานเรื่องดังกล่าวต่อโรงเรียนทันที นอกจากน้ี บุคลากรโรงเรียนในทุกระดับ ต้องรู้ถึงบทบาทหน้าท่ีของตนในการดาเนินการตามนโยบายปกป้องคุ้มครองนักเรียน เพื่อการกากับ ติดตาม และดาเนินการตามนโยบายเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพสงู สุด โรงเรียนจัดตั้งคณะทางาน และกาหนดบทบาทหน้าท่ีและความรับผิดชอบในการปกป้องคุ้มครองนักเรียน ดังต่อไปน้ี 2.1 กำรแตง่ ต้ังคณะทำงำน คณะทางานในการปกปอ้ งและคมุ้ ครองนักเรยี นประกอบด้วยสมาชกิ ดังต่อไปน้ี 1. รอง/ผูช้ ว่ ยผู้อานวยการ ผ้รู บั ผดิ ชอบดา้ นสวสั ดภิ าพของนักเรยี น เปน็ หวั หนำ้ คณะทำงำน 2. ครูหวั หนา้ แนะแนว เป็นเลขำนกุ ำรคณะทำงำน 3. ครูหัวหนา้ ชว่ งชน้ั อนบุ าล 4. ครหู วั หนา้ ช่วงชนั้ ประถม 5. ครูหัวหน้าช่วงชนั้ มธั ยม 6. ครูจิตตาภบิ าล 7. ครูพยาบาล 8. ผแู้ ทนผปู้ กครอง 9. ผู้เชย่ี วชาญจากภายนอก คณะทางานขนึ้ ตรงและรายงานตอ่ ผูอ้ านวยการโรงเรยี นในภาระหนา้ ทเี่ ก่ยี วกับการกากบั ติดตาม และดาเนนิ การเร่ืองการปกป้องคุ้มครองนกั เรยี น 2.2 บทบำท หน้ำท่ีและควำมรบั ผดิ ชอบของคณะทำงำน บทบาท หนา้ ท่ีและความรับผิดชอบของคณะทางาน มดี ังต่อไปนี้ 1. เป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบและให้การสนับสนุนการปกป้องคุ้มครองนักเรียนรวมถึงมาตรการ ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ผ ลั ก ดั น แ ล ะ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ก า ร ล่ ว ง ล ะ เ มิ ด โ ด ย มี แ ผ น ง า น ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ และการติดตามตรวจสอบ เพอื่ ใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพสงู สดุ 2. รเิ ริ่ม พัฒนา และดาเนนิ การตามมาตรการปกปอ้ งคุ้มครองนกั เรียน 3. กากับ ดูแลและควบคุมการดาเนินการหากเกิดการล่วงละเมิด รวมถึงการสรรหาและว่าจ้างบุคลากร การให้ความรู้และฝกึ อบรม ให้เปน็ ไปตามนโยบายและคู่มือปฏบิ ตั งิ านน้ี

4. สารวจ เฝ้าระวัง และติดตาม เม่ือมีเหตุอันสงสัย หรือมีเหตุในการล่วงละเมิดนักเรียน เพื่อสนับสนุน ดูแลและพัฒนานักเรียนที่ได้รับหรืออาจได้รับผลกระทบเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและทัศนคติอย่างเป็นระบบและ ตอ่ เนอ่ื ง 5. จัดการประชุมคณะทางานอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 2 คร้ัง จัดทารายงานสรุปต่อผู้อานวยการ โรงเรียนเก่ียวกับการปกป้องคุ้มครองนักเรียน พร้อมท้ังให้ข้อมูลต่างๆ การอบรม การจัดสรรงบประมาณ และการวาง ระบบทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับการปกปอ้ งคมุ้ ครองสวัสดิภาพนักเรยี น 6. จดั เก็บวางระบบการเก็บรกั ษา และบริหารจดั การรายงาน แฟ้มข้อมูลและเอกสารตา่ งๆ ที่เกีย่ วกบั การ ลว่ งละเมิดนักเรยี น 7. จัดการประชุมรายปีเกี่ยวกับสวัสดิภาพของนักเรียน การรับฟังความเห็นของผู้ ปกครอง และการวางแผนพัฒนาประจาปีเก่ียวกับแนวทางการปกป้องคุ้มครองนักเรียน เสนอต่อผู้อานวยการโรงเรียน เพอ่ื เสนอขออนมุ ตั ิตอ่ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนต่อไป 2.3 กำรมสี ่วนรว่ มของผูป้ กครอง การมีสว่ นร่วมของผู้ปกครองจะดาเนินการร่วมกับสมาคมผปู้ กครองและสมาคมน้ีถือวา่ เป็นอีกองค์กรหน่งึ ท่มี ี บทบาทหนา้ ทสี่ าคัญเป็นอยา่ งยงิ่ ในการสนบั สนนุ ชว่ ยเหลือ และส่งเสรมิ การปฏบิ ตั ติ ามนโยบาย อกี ท้งั ใหค้ วามตระหนัก รแู้ ก่สงั คม คณะทางานจะต้องมกี ารทาแบบสารวจและเปดิ การอบรมให้แก่ผ้ปู กครอง นอกจากนี้ สมาคมผปู้ กครองและ ครยู ังต้องสง่ ตัวแทนเพ่ือเขา้ รว่ มประชุมคณะทางาน และเข้าร่วมการประชมุ แบบกลมุ่ ยอ่ ย (Focus Group) ที่โรงเรียนจัดขน้ึ เปน็ ประจาปดี ว้ ย 2.4 กำรสรรหำหรอื กำรวำ่ จำ้ งบุคลำกรโรงเรยี น กระบวนการสรรหาหรือการว่าจ้างบุคลากรโรงเรียนทุกตาแหน่งน้ัน ถือว่าเป็นกระบวนการกลั่นกรอง ในขน้ั ต้นเร่ืองนโยบายการปกป้องคุม้ ครองนักเรียน โรงเรียนจึงตระหนักและใหค้ วามสาคัญในเร่ืองการดาเนนิ การคดั กรองบคุ ลากรทจี่ ะเข้ามาร่วมเป็นสว่ นหนึง่ ของโรงเรียน โดยเริ่มตง้ั แต่กระบวนการสรรหาและว่าจ้าง ตรวจสอบ และเก็บ ข้อมูลที่เพยี งพอเพ่อื ให้โรงเรยี นมีบคุ ลากรท่ีมคี ณุ ภาพ โดยโรงเรยี นจะดาเนินการดงั ต่อไปน้ี 1. โรงเรียนจะค้นหาและตรวจสอบข้อมูลจากสารบบของโรงเรียนทวั่ ประเทศ ในกรณที เี่ ปน็ บคุ ลากร ตา่ งชาติ ให้รวมถงึ ประเทศอ่ืนๆ ท่บี คุ ลากรคนนั้นเคยทางานด้วย 2. การอ้างอิงบุคคลของบุคลากรนั้น ประกอบด้วยบุคคลอ้างอิง 2 คน ซึ่งหนึ่งในสองคนน้ันจะต้องเป็น นายจ้างปัจจุบันของบุคคลน้ัน หรือหากเป็นผู้สาเร็จการศึกษาใหม่ หน่ึงคนนั้นต้องเป็นอาจารย์ประจา ของสถาบนั การศกึ ษาทบี่ ุคคลนน้ั สาเรจ็ การศึกษา 3. หากบคุ คลนัน้ เคยทางานมามากกว่า 2 โรงเรยี น ในช่วงระยะเวลา 5 ปี บคุ คลนนั้ จะตอ้ งแจง้ หมายเลข โทรศพั ท์ของโรงเรียนทเ่ี ปน็ นายจ้างกอ่ นหนา้ ให้แก่โรงเรยี นดว้ ย เพอื่ ท่โี รงเรยี นจะตรวจสอบถึงสาเหตทุ ่ีบุคคลนน้ั ลาออก และประเมินวา่ สาเหตุน้ันเปน็ เร่อื งทีอ่ าจเกยี่ วกบั ความปลอดภัยของนักเรียนหรือไม่ 4. บุคลากรโรงเรียนท่ีเข้ามาใหม่น้ันจะต้องอ่านและลงลายมือช่ือเพ่ือยืนยันว่าตนได้อ่าน ทาความเข้าใจ แ ล ะ ต ก ล ง ป ฏิ บั ติ ต า ม น โ ย บ า ย เ ร่ื อ ง ก า ร ป ก ป้ อ ง คุ้ ม ค ร อ ง นั ก เ รี ย น แ ล ะ ก า ร ป ร ะ พ ฤ ติ ป ฏิ บั ติ ต่ อ นั ก เ รี ย น อยา่ งเคร่งครดั SP TN

2.5 กำรอบรมและใหค้ วำมรใู้ นกำรคุ้มครองนักเรยี น คณะทางานในการปกปอ้ งคุ้มครองนกั เรยี น จะต้องดาเนนิ การใหม้ กี ารอบรมให้ความรู้ในการปกป้อง คุ้มครองนกั เรียน รวมถึงดาเนินการตา่ งๆ ดงั ต่อไปนี้ 1. กาหนดให้มีระเบียบวาระเร่ืองการปกป้องคุ้มครองนักเรียนเม่ือมีการจัดอบรมหรือการประชุม ของบุคลากรโรงเรียนอยเู่ สมอ 2. จัดอบรมบุคลากรโรงเรียนทุกคนเร่ืองการปกป้องคุ้มครองนักเรียนอย่างสม่าเสมอ โดยถือว่า การอบรมนัน้ เปน็ ภาคบังคับ 3. จัดอบรมเร่ืองการปกป้องคุ้มครองนักเรียนบุคลากรใหม่ของโรงเรียน ซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของการแนะนา โรงเรียน 4. จัดเก็บขอ้ มลู และเอกสารการอบรมตา่ งๆ อันเก่ียวกับการคมุ้ ครองนักเรียน 5. กาหนดไว้ในกฎเกณฑ์ข้อบังคับทว่ั ไปของบุคลากรโรงเรียนเก่ยี วกับความประพฤติและข้อพึงปฏบิ ัตขิ อง บุคลากรให้สามารถคน้ หาไดง้ ่ายจากค่มู ือบคุ ลากรโรงเรียน 6. เม่ือเริ่มปีการศึกษา จะต้องแจ้งข้อมูล กฎระเบียบข้อบังคับและขั้นตอนการดาเนินการต่างๆ เกี่ยวกับ การคุ้มครองนักเรยี น ใหแ้ ก่บุคลากรโรงเรยี น 7. สมาชิกของคณะทางานปกป้องค้มุ ครองนักเรยี นจะต้องเขา้ รับการอบรมและการศึกษาข้อมูลใหม่ๆ อยู่ เสมอจากหนว่ ยงานหรอื องคก์ รทเี่ กย่ี วข้อง เพอ่ื พัฒนาทักษะและองคค์ วามร้ทู ีด่ ีและทันสมยั อยูเ่ สมอ 3. ขอ้ กำหนดในกำรปฏบิ ตั ิตอ่ นกั เรียนดว้ ยจรรยำบรรณวชิ ำชีพ (Professional Code of Conduct) เพื่อให้โรงเรียนเป็นสถานท่ีที่ปลอดภัยสาหรับนักเรียนทุกคน บนพ้ืนฐานของการเคารพในสิทธิและศักด์ิศรี ความเป็นมนุษย์ของทุกคน การปฏิบตั ิต่อนักเรียนจึงต้องเป็นไปในแนวทางท่เี หมาะสม บุคลากรโรงเรียน ไม่ว่าจะได้รับ ค่าตอบแทนหรือไม่กต็ าม มีหนา้ ทีต่ ้องปฏบิ ัติตามแนวทางการปฏิบตั ติ อ่ นกั เรียนฉบับนีอ้ ยา่ งเครง่ ครัด 3.1 แนวทำงกำรปฏบิ ตั ิทว่ั ไป บุคลากรโรงเรียนต้องปฏิบัติต่อนักเรียนด้วยจรรยาบรรณวิชาชีพ บนพื้นฐานของการเคารพให้เกียรติ และความเสมอภาค โดยมุ่งหมายให้นักเรียนเกิดการพัฒนาและการเรียนรู้เป็นสาคัญ แนวทางการปฏิบัติทั่วไป มีดังตอ่ ไปนี้ 1. ปฏิบตั ติ ่อนกั เรียนอยา่ งมอื อาชพี มีจรรรยาบรรณและด้วยความเคารพและใหเ้ กยี รติ 2. ปฏิบัตติ อ่ นักเรียนดว้ ยความเสมอภาคเท่าเทียมกนั โดยไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ โดยไมค่ านึงถึง เพศ อายุ เช้ือชาติ สญั ชาติ ศาสนา และสถานะทางเศรษฐกิจและสงั คมของครอบครวั 3. ใชค้ วามรกั เมตตาในการปรบั พฤตกิ รรมนกั เรียน และไม่ใช้ความรุนแรงทกุ ประเภท ไม่วา่ ดว้ ยวาจาหรอื ด้วยการกระทา โดยเฉพาะในการลงโทษนกั เรยี น 4. รักษาสถานภาพครูอย่างชัดเจน และไม่ติดต่อสัมพันธ์กับนักเรียนทางสื่อสังคมฉันเพื่อน เช่น ชมภาพยนตร์ เที่ยวเตรด่ ว้ ยกนั 5. ชมเชย เสริมแรง และใหก้ าลงั ใจ และไม่ใชว้ าจาในเชงิ เสยี ดสี ดหู มิน่ ล้อเลียน หมิ่นประมาทนักเรยี น 6. ต้องช่วยเฝ้าระวงั และปกป้องนกั เรียนด้วยการรายงานผูร้ ับผิดชอบโดยพลนั หากพบเห็นหรอื รบั รูก้ าร ล่วงละเมิดใดๆ 7. ไม่ดม่ื เครอื่ งด่ืมหรืออาหารทมี่ ีสว่ นผสมของแอลกอฮอล์ในขณะทป่ี ฏบิ ัตงิ านอยู่ หรอื อยู่ในเวลาทางาน 8. ไมค่ กุ คาม ทะเลาะวิวาท หรอื ข่มขู่บคุ คลอ่นื ภายในบรเิ วณโรงเรยี น

9. ไม่ใช้สถานะบุคลากรโรงเรียนเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว หรือก่อให้เกิดความเสื่อมเสีย ทางชอื่ เสียงของโรงเรยี น หรอื ของตนเองอันส่งผลต่อชือ่ เสียงของโรงเรยี น 10. ไม่แสดงความอนั เป็นเทจ็ หรอื ทาให้ผ้อู ่นื สาคญั ผดิ ในตาแหนง่ คณุ สมบัติ หรอื ประสบการณ์ของตน ท้ังนี้ บุคลากรโรงเรียนจะต้องคานึงถึงจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอนเป็นหลัก และยกระดับมาตรฐาน ความประพฤตขิ องตนเองใหด้ ีขึน้ อยเู่ สมอ โดยไม่นาความคิดเห็นและอารมณ์ท่ีไม่สร้างสรรคเ์ ป็นบวกเขา้ มาเกีย่ วขอ้ ง ในการปฏิบัติหนา้ ท่ี ในกรณีที่มีขอ้ สงสัยวา่ การปฏิบตั ิตอ่ นักเรียนลกั ษณะใดถือเป็นการปฏิบตั ิทเ่ี หมาะสมหรือไม่ ให้ขอ คาปรึกษาจากคณะทางานในการปกป้องคุ้มครองนักเรียน เพื่อหาข้อสรุปก่อนท่ีจะปฏิบัติต่อนักเรียน ในลกั ษณะดงั กลา่ ว 3.2 กำรปฏิบัตดิ ำ้ นควำมปลอดภยั บุคลากรโรงเรียนต้องคานึงถึงความปลอดภัยและสวัสดิภาพของนักเรียนเป็นอันดับแรก และต้องปฏิบัติ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ศึกษาและทาความเข้าใจในขั้นตอนและข้อตกลงเร่ืองความปลอดภัยในสวัสดิภาพของนักเรียน และเป็นแบบอยา่ งในการปฏบิ ตั ิ และรเิ ริ่มเสนอแนะในการปรบั ปรงุ อยเู่ สมอ 2. ต้องรักษาความลับ และความเป็นส่วนตัวของนักเรียกเว้นแต่จาเป็นต้องเปิดเผยต่อบคุ คลท่ีเก่ียวข้องใน กรณเี ปน็ ที่สงสยั วา่ นักเรียนตกอยู่ในสถานการณท์ ไ่ี มป่ ลอดภัยในสวัสดิภาพ 3. เฝ้าระวังสอดส่องและช่วยกันสังเกตบุคคลภายนอกที่มีพฤติการณ์น่าสงสัย หากพบบุคคลเช่นว่าน้ัน จะตอ้ งแจง้ พนกั งานรกั ษาความปลอดภัยใหต้ รวจสอบ 4. แจ้งบุคคลผรู้ ับผดิ ชอบโดยเรว็ ในกรณีบคุ ลากรโรงเรียนผู้ใดมขี ้อสงสัยวา่ นกั เรียนไมม่ ีความปลอดภัยใน สวัสดิภาพ หรอื ได้รับการปฏบิ ัตทิ ี่ผดิ ทีเ่ ส่ยี งตอ่ ความปลอดภัย 5. ไม่นัดพบนักเรียนในสถานท่ีอ่ืนนอกจากโรงเรียน รวมถึงการนัดเรียนพิเศษ โดยมิได้รับอนุมัติ อย่างชัดแจง้ จากโรงเรยี นและมีเหตุอันสมควร 6. ไม่ใช้ส่ิงอานวยความสะดวก หรือเคร่ืองมือเครื่องใช้ท่ีมีไว้สาหรับนักเรียนไปในทางท่ีอาจส่งผลกระทบ ตอ่ สวสั ดภิ าพของนกั เรยี น อาทิ หอ้ งนา้ สาหรับนักเรียน หรอื ห้องแต่งตัวสาหรับนักเรียน เปน็ ต้น 3.3 พฤตกิ รรมที่ไมเ่ หมำะสม พฤตกิ รรมทางเพศของบคุ ลากรโรงเรยี นกับนักเรยี น เป็นส่ิงไมเ่ หมาะสมและผิดกฎหมาย บคุ ลากรโรงเรียนจึง ต้องปกป้องค้มุ ครองนักเรียนจากพฤติกรรมทีไ่ ม่เหมาะสมทางเพศใดๆ และต้องปฏิบตั ิตน ดังนี้ 1. ไม่ปฏิบัติสิ่งใดๆ ไม่เหมาะสมทางเพศต่อนักเรียน แม้ว่าการปฏิบัติน้ันอาจจะผิดกฎหมาย หรือไมก่ ต็ าม โดยคานึงถงึ ความเหมาะสมเก่ียวกบั อายุ เพศ 2. ไม่อยู่ในท่ีลับตาผู้อ่ืนกับนักเรียนตามลาพัง เว้นแต่ในกรณีจาเป็น เช่น การสอบสัมภาษณ์ ท้ังน้ี การอยู่ตามลาพงั ดงั กล่าวจะต้องอยใู่ นสถานท่ีท่ีสามารถมองเห็นจากภายนอกไดง้ า่ ย 3. ไม่ใชว้ าจาทไ่ี มเ่ หมาะสมในเชิงอนาจาร หรอื ทาใหน้ กั เรยี นรสู้ กึ อับอาย หรือสอ่ ไปในทางเพศสมั พันธ์ 4. ไม่ปฏิบัติตอ่ นักเรียนโดยมีเจตนาซ่อนเร้นหรือโดยชัดแจง้ อันส่อถึงเจตนาท่ไี ม่สมควรทางเพศ เช่น การ ประพฤตใิ นเชงิ ชูส้ าวไม่ว่าจะอยภู่ ายในบริเวณโรงเรียนหรือไม่กต็ าม 5. ในกรณีท่ีพบเห็นวา่ บุคลากรโรงเรียนคนใดมีพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสมทางเพศ จะต้องแจ้งคณะทางาน ในทนั ที

3.4 กำรสัมผสั ทำงกำยภำพ บุคลากรโรงเรียนต้องหลีกเลี่ยงการสัมผัสทางกายภาพด้วยวิธีใดๆ ซ่ึงอาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิดต่อ ผู้พบเห็น ไม่อยู่กับนักเรียนสองต่อสองในที่ลับตา ไม่ถูกเนื้อต้องตัว หยอกล้อ หรือเจตนาทาร้ายร่างกาย เว้นแต่เป็นไป เพื่อการเรียนการสอนตามหน้าที่ เช่น กิจกรรมกีฬา ดนตรี ทั้งน้ีต้องทาเท่าท่ีจาเป็นเพ่ือการพัฒนาทักษะ และตอ้ งใชค้ วามระมัดระวงั ตามหนา้ ทีจ่ รรยาบรรณวิชาชพี ในกรณีที่จาเป็นต้องมีการสัมผัสทางกายเกดิ ขึน้ บคุ ลากรโรงเรียนรายดังกลา่ วจะตอ้ งปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1. จะตอ้ งคดิ ไตรต่ รองถึงเหตจุ าเปน็ ในการสมั ผสั เช่นวา่ น้นั อยา่ งมอื อาชพี ในฐานะครกู ับศษิ ย์ 2. จะต้องมคี าอธิบายถึงความจาเปน็ ดงั กลา่ วได้ 3. จะตอ้ งใช้ความระมัดระวังอยา่ งสูงสดุ มิใหเ้ ป็นการกระทาอนาจารตอ่ นักเรียน 4. การสมั ผัสดังกลา่ วจะต้องเปน็ ไปเทา่ ทจี่ าเปน็ และกระทาด้วยความอ่อนโยนโดยคานงึ ถึงสภาพร่างกาย และจติ ใจของนักเรียนเป็นสาคญั 3.5 กำรปฏิบัตผิ ำ่ นส่ือออนไลน์ (Social Media & Online Contact) แมว้ ่าโรงเรียนให้การสนบั สนนุ การใช้สอ่ื ออนไลน์ในฐานะเครื่องมอื แห่งการเรียนรู้ แต่การตดิ ตอ่ ส่อื สารผา่ น สอ่ื ออนไลน์สว่ นตัวอาจกอ่ ใหเ้ กิดความสับสนและความไม่เหมาะสมระหว่างนักเรียนและบุคลากรโรงเรียนได้ ดังน้ัน บคุ ลากรโรงเรียนจงึ ต้องนาแนวทางการประพฤติปฏบิ ตั ขิ า้ งตน้ มาใช้กบั การปฏบิ ัติใดๆ ทดี่ าเนนิ ผ่านสอ่ื ออนไลน์ด้วย และ ติดต่อกับนักเรียนผา่ นสือ่ ออนไลน์ เพอื่ สนบั สนนุ การเรียนในโรงเรียนและกจิ กรรมของโรงเรียนเทา่ นัน้ บุคลากรโรงเรียนต้องทาให้แน่ใจว่า นักเรียนจะไม่สามารถเข้าถึงสื่อออนไลน์ส่วนตัวของตนได้ โดยแยกสอ่ื ออนไลนส์ าหรบั การเรียนการสอนออกจากเรอื่ งสว่ นตวั อยา่ งชัดเจน บุคลากรโรงเรียนตระหนักว่า คู่มือปฏิบัติไม่สามารถเขียนแยกแยะข้อควรปฏิบัติและข้อห้าม ที่ครอบคลุมในทุกกรณีได้ เพียงแต่วางแนวทางและความคาดหวังขั้นต่าไว้ บุคลากรโรงเรียนจึงต้องใช้ดุลยพินิจ ด้วยจรรยาบรรณวิชาชีพในการกาหนดพฤติกรรมของตนเอง ท้ังนี้ กอ่ นเร่ิมปีการศึกษา หรอื ก่อนเรม่ิ เข้าทางานใหม่กับ โรงเรยี น บคุ ลากรโรงเรียนทุกคนต้องลงนามเพื่อรบั รองคาสัญญาในการปฏบิ ตั ิต่อนักเรยี นตามเอกสารใน คำสัญญำของบคุ ลำกรโรงเรียนในกำรปฏบิ ตั ิต่อนกั เรียน

4. กำรลว่ งละเมิดเด็ก (Child Abuse) บุคลากรของโรงเรียนมหี นา้ ที่ในการปกป้องค้มุ ครองนักเรยี นทกุ คน และปฎบิ ัติตนให้รับผดิ ชอบต่อนักเรียนที่อาจ มีความเส่ียงท่ีจะเผชิญปัญหาการถูกล่วงละเมิด บุคลากรโรงเรียนทุกท่านต้องแจ้งคณะทางานเพ่ือให้ทราบ และคณะทางานจะดาเนินการจัดการปกป้องนักเรียน รวมถึงดาเนินคดีตามกฎหมาย บุคลากรโรงเรียนจึงต้อง มีความเข้าใจเป็นอย่างดีถึงประเภทและความหมายของการล่วงละเมิด และร่องรอยของการถูกล่วงละเมิด เพื่อปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ในการเฝ้าระวงั ปกป้อง และคุ้มครองนกั เรยี นไดอ้ ยา่ งเต็มความสามารถและทนั ทว่ งที 4.1 ประเภทและควำมหมำยของกำรลว่ งละเมดิ เด็ก การล่วงละเมิดแบ่งออกไดเ้ ป็น 4 ประเภท แต่ละประเภทมีความหมายเชงิ พฤตกิ รรม และร่องรอยของการถูก ลว่ งละเมดิ ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) กำรล่วงละเมิดทำงร่ำงกำย หมายถึง การทาให้เกิดอันตราย หรือทาให้เส่ียงที่จะเกิดอันตรายต่อ ร่างกายหรืออาจถงึ แก่ชวี ิตของเด็ก จากการกระทาหรือละเลยที่จะกระทาทั้งที่อยู่ในวิสัยที่พึงกระทาได้ อาจเกิดข้นึ ครั้ง เดียวหรือเกิดข้ึนซ้าๆ โดยการกระทาดังกล่าวอาจเกิดจากการใช้ความรุนแรงหรือการพยายามให้เกิดความเจ็บปวด บาดเจ็บ หรือเป็นอันตรายต่างๆ หรือโดยบุคคลท่ีกระทาอยู่ในสถานะที่มีกาลังเหนือกว่า หรือมีอานาจเหนือกว่าด้วย เหตปุ จั จัยใดๆ ก็ตาม การกระทาดังกลา่ ว เชน่ ● การทาใหบ้ าดแผลท่เี กดิ จากกระทาใหเ้ จ็บด้วยการตี ตบ เตะ หยิก ข่วน ดงึ ผม กระทบื และการใช้ของแข็ง หรือของมีคมทารา้ ย ● การสอนและลงโทษด้วยความรนุ แรงทกุ ประเภท ● การประพฤติใดๆ ที่อาจทาใหเ้ ดก็ เกดิ แผล รอยไหม้ รอยต่างๆ ตามรา่ งกาย หรอื อาจถงึ แก่ชวี ติ ● การกอ่ ให้เกดิ ความเสี่ยงภยั ทางด้านร่างกาย ● การบงั คบั ใช้แรงงานหนักเกนิ กาลัง รวมท้งั การใหน้ ักเรียนดื่มของมนึ เมา สบู บหุ รี่ หรอื เสพสารเสพ ติด รอ่ ยรอยของกำรถูกล่วงละเมิดทำงรำ่ งกำย − แผลฟกชา้ และรอยแนวยาวบนสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายท่ีไมส่ ามารถอธบิ ายได้ − สีของแผลฟกชา้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั (แผลเก่า แผลใหม่) − การบาดเจ็บทีแ่ สดงถงึ รปู รา่ งของสิง่ ทใี่ ช้ เชน่ สายไฟ เขม็ ขดั หวั เขม็ ขดั ไม้ตเี ทนนิส มือ − การบาดเจบ็ ท่ีปรากฏเปน็ ประจา − รอยไหมท้ อี่ ธบิ ายไมไ่ ด้ โดยเฉพาะทฝี่ า่ เท้า ฝา่ มอื แผน่ หลังหรอื บ้นั ทา้ ย − รอยไหม้ทีม่ รี ปู รา่ งจากการใช้ หวั เตาไฟฟา้ เตารดี หรอื บหุ รี่

− รอยเชอื กตามแขน ขา คอหรือลาตัว − การบาดเจบ็ ท่ขี ดั กับขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากบาดแผล − ความรอ้ นจากการถูกจบั กดในนา้ ร้อน − เด็กไมแ่ สดงอารมณ์เมอื่ เจบ็ ปวด − เด็กหวาดระแวงเมือ่ อย่ใู กล้กับใครบางคนมากๆ − เดก็ ทใ่ี สเ่ ส้ือผา้ ท่ีปกปดิ รา่ งกายอยา่ งมดิ ชดิ ตลอดเวลา − เด็กแสดงพฤติกรรมทรี่ ุนแรงเกินกวา่ สถานการณ์ อาจกา้ วร้าว เซอื่ งซึม หรือเขินอาย ( 2) กำรล่วงละเมิดทำงจิตใจ หมายถึง การตอบสนองต่ออารมณ์ของเด็กอยา่ งไม่เหมาะสม ซึ่งส่งผลทาใหเ้ กิดผลเสีย รา้ ยแรงและต่อเนื่องตอ่ พัฒนาการทางอารมณ์ของเด็ก นอกจากน้ี ยังมีการกระทาบางอย่างที่ก่อให้เกิดอันตรายหรือมี โอกาสอย่างสูงที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ หรือพัฒนาการของเด็กทางด้านร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ ศีลธรรม และสงั คม เชน่ ● การดา่ ว่าดว้ ยคาหยาบคาย การดถู ูก ถากถาง เยาะเยย้ ดว้ ยวาจา และสายตา ● การขู่ การทาใหก้ ลวั หรือให้อาย การแสดงความรงั เกียจ เฉยเมย และสร้างความโดดเดยี่ วไมใ่ ห้ ผอู้ นื่ คบหรอื ยอมรบั ปล่อยใหถ้ ูกรังเกียจ การกกั ขัง หน่วงเหน่ียว ● การทาใหเ้ ดก็ รู้สกึ ไร้คา่ หรอื ไมม่ ใี ครรัก ไมด่ พี อ หรือจะมีคา่ ตอ่ เมือ่ เด็กทาตามความต้องการของคน อน่ื ● การสงั่ ให้เดก็ เงยี บ หรอื หวั เราะเยาะสิ่งท่เี ด็กพดู หรอื ลักษณะทเ่ี ด็กส่ือสาร โดยการไม่ใหเ้ ดก็ มี โอกาสแสดงความเหน็ ● การตง้ั ความคาดหวงั ท่ีไมส่ มกบั วัยหรอื พฒั นาการของเด็ก เช่น การปฏิบัติตอ่ กนั เกินความสามารถทางพฒั นาการของเดก็ ตลอดจนการปกป้องเดก็ มากเกนิ ไปและการจากดั ความ อยากรอู้ ยากเหน็ และการเรียนรหู้ รือขัดขวางเด็กไม่ใหม้ สี ่วนร่วมในการมปี ฏิสัมพนั ธ์ ทางสงั คมตามปกติ ● การทารณุ จติ ใจในบางระดบั ทเี่ กี่ยวพนั กับการกระทาทโี่ หดรา้ ยตอ่ เดก็ ในทุกประเภท แม้วา่ เกดิ ขึน้ เพียงเหตกุ ารณเ์ ดยี วกต็ าม ร่องรอยของกำรถกู ล่วงละเมิดทำงจติ ใจ − การทารุณทางจิตใจจนเปน็ เหตใุ หเ้ ด็กมีพฤติกรรมเปลยี่ นไป − เด็กไมใ่ สใ่ จสงิ่ ท่ที าหรอื ส่งิ ท่ีเกิดขึ้นต่อพวกเขา ทเ่ี รียกว่าพฤติกรรมตามสิ่งเรา้ ในด้านลบ − เดก็ พยายามทาใหค้ นอน่ื เกลยี ด ซึ่งเรยี กว่าพฤตกิ รรมการแยกตัวโดดเด่ยี ว เด็กทจ่ี ะถูกทารณุ ทางจติ ใจอาจสร้างพฤติกรรมในการรับความเสยี่ ง เชน่ การลักขโมย การกลั่นแกลง้ และการหนอี อกจากบ้าน − การทารา้ ยตวั เองหรือความผดิ ปกตดิ ้านการกนิ − การขาดทักษะทางการเขา้ สงั คม − การตีตวั ออกหา่ งจากพอ่ แม่หรือเพือ่ น

(3) กำรลว่ งละเมิดทำงเพศ หมายถงึ การเข้าไปเกี่ยวขอ้ งกบั เดก็ หรอื ปลอ่ ยใหเ้ ดก็ ทากิจกรรมทางเพศ ซ่ึงเด็กไม่สามารถเข้าใจได้เต็มท่ี หรือไม่สามารถให้ความยินยอม หรือเด็กอยู่ในฐานะที่ยังไม่พร้อมทางด้าน พัฒนาการท่ีจะให้คายินยอมได้ หรือเปน็ กิจกรรมท่ีขัดต่อกฎหมายหรือความเช่ือในสังคม การทารุณกรรมทางเพศ ซ่ึงผู้กระทามีอายุมากกว่าหรืออยู่ในสถานะมีความรับผิดชอบมีอานาจเหนือเด็ก หรือได้รับความไว้วางใจจากเด็ก การล่วงละเมิดทางเพศไม่ได้เกดิ ขน้ึ เฉพาะจากผู้ชายทเี่ ป็นผใู้ หญ่เท่าน้ัน ผู้หญิงก็กระทาทารณุ กรรมทางเพศได้ และ เด็กกส็ ามารถกระทาตอ่ เด็กคนอนื่ ได้เช่นเดยี วกนั การกระทาดังกลา่ ว เช่น ● การกระทาอนาจาร การใช้คาพูดแทะโลม การใชส้ ายตา คาพดู และทา่ ทีสอ่ เจตนาล่วงเกิน ทางเพศ การกอดจูบลบู คลา การอวดอวยั วะเพศ การเผยแพร่สื่อลามก การแตะตอ้ งเน้ือตัว เสยี ดสรี ่างกาย ไปจนกระท่ังข่มขนื ● การสมั ผัสรา่ งกาย รวมถงึ การลว่ งละเมิด เช่น การข่มขืนกระทาชาเราหรือการใชป้ าก กบั อวยั วะเพศ หรือ การกระทาโดยไม่สอดใสอ่ วยั วะเพศ เชน่ การสาเร็จความใคร่ดว้ ยตัวเอง การจูบ การลบู และสมั ผัสนอกเสอ้ื ผา้ ● นอกจากนย้ี ังอาจรวมถึงการทาโดยไมม่ ีการสมั ผสั เชน่ ให้เดก็ ดหู รือรว่ มในการทาภาพเก่ียวกับ เรื่องทางเพศ ดูกิจกรรมทางเพศ ส่งเสรมิ ให้เด็กมพี ฤตกิ รรมทางด้านเพศในลกั ษณะ ที่ไมเ่ หมาะสมหรอื แตง่ ตัวให้เด็กเพอื่ เตรยี มกระทาทารณุ ร่องรอยของกำรถูกละเมิดทำงเพศ − การรับร้เู รอ่ื งเพศ พฤติกรรมหรือการใช้ภาษาทไี่ ม่เหมาะสมกบั ช่วงวยั − รูปแบบความสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คลท่ผี ิดปกติ − หลกั ฐานการบาดเจบ็ ทางรา่ งกายหรอื การมเี ลอื ดออกบริเวณปากอวัยวะเพศ หรือทวารหนัก − การเดนิ หรอื นั่งลาบาก − การไม่ยอมเปล่ียนชุดพละ การหวาดกลัวหอ้ งนา้ − เดก็ หนอี อกจากบ้านและไม่มีมลู เหตทุ ่เี จาะจง − การไม่ชอบอยกู่ ับคนอนื่ ตามลาพงั − การต้งั ครรภ์ โดยเฉพาะในชว่ งอายุนอ้ ย (4) กำรปล่อยปละละเลย หมายถึง การบกพร่องในการจัดหาส่ิงที่จาเป็นสาหรับพัฒนาการของเด็กในทุกๆ ด้าน ตั้งแต่สุขภาพ การศึกษา พัฒนาการทางอารมณ์ โภชนาการ ที่อยู่อาศัย สภาพแวดล้อมท่ีปลอดภัย ในบริบทท่ีครอบครัว หรือผู้ดูแลมีความสามารถท่ีจะจัดหาได้ตามสมควร จนอาจทาให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ของเด็ก หรืออาจเกิดอันตรายต่อพัฒนาการทางร่างกาย หรือจิตใจ ศีลธรรมหรือทางสังคม รวมถึงความบกพร่อง ในการดูแลและปกป้องจากภยันตรายต่างๆ อย่างเหมาะสม พฤติกรรมหรือการกระทาที่แสดงให้เห็นว่า เดก็ ถกู ปลอ่ ยปละละเลย เชน่

● พ่อแม่หรือคนดูแลไมจ่ ัดหาอาหาร เสื้อผา้ และทีพ่ กั ที่เหมาะสมให้ รวมถงึ การไลอ่ อกจากบ้าน ไมไ่ ด้ ปกปอ้ งเดก็ จากภัยหรอื อันตรายทาง รา่ งกายและจิตใจ ไมไ่ ด้ใหก้ ารดแู ลทีเ่ หมาะสม รวมถึงการใช้ คนดแู ลทีข่ าดคุณสมบัตหิ รือทกั ษะหรอื การไมจ่ ดั ใหม้ ีการดูแลหรอื รักษาทางการแพทย์ท่ีเหมาะสม ● การไมส่ นองตอบต่อความตอ้ งการทางรา่ งกายหรอื จติ ใจขั้นพืน้ ฐานของเดก็ ● การขาดวุฒภิ าวะในการเปน็ ผปู้ กครอง เช่น การท้ิงเด็กไว้ทบ่ี ้านโดยไม่มีการดูแลเปน็ ระยะเวลา ยาวนาน รอ่ งรอยของกำรถูกปลอ่ ยปละละเลย − เด็กไม่ไดอ้ าบน้า หรือหิว − เด็กไม่อยากกลับบา้ น − พอ่ แม่ไม่ใสใ่ จผลการเรียนของเด็ก − พ่อแม่ไมต่ อบรับการตดิ ต่อจากโรงเรียนหลายคร้ัง − พ่อแม่หรอื ผู้ปกครองตามกฎหมายไมอ่ ย่เู ป็นประจา − ไมส่ ามารถตดิ ต่อพ่อแม่หรอื ผปู้ กครองได้ เมอ่ื เกิดเหตฉุ ุกเฉนิ 4.2 กำรลว่ งละเมิดระหว่ำงนกั เรียนด้วยกัน หากบุคลากรโรงเรียนพบเห็น หรือทราบถึงการล่วงละเมิดระหว่างนักเรียนด้วยกัน บุคลากรท่านนั้นมีหน้าที่แจ้ง คณะทางานเพ่ือดาเนินการจัดการแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึน โดยคานึงถึงความเหมาะสมและความจาเป็นในการเปิดเผย ข้อมลู เพื่อไม่ให้กระทบตอ่ ความเปน็ สว่ นตัวของนักเรียน และในกรณที ่ีบุคลากร เห็นว่า นักเรียนกาลังประพฤตผิ ิดต่อนกั เรยี นอีกคน บคุ ลากรคนนั้นมหี น้าท่ียุติการกระทาดังกล่าวด้วยความ ระมัดระวัง ด้วยความเคารพท้ังสองฝ่าย ในกรณีท่ีนักเรียนได้รับบาดเจ็บ ให้พานักเรียนไปส่งครูพยาบาล หรือหากไม่ ควรเคล่ือนย้ายตัวนกั เรยี น ให้แจง้ ครพู ยาบาลในทนั ที 4.3 หนำ้ ทีข่ องบุคลำกรโรงเรยี น บุคลากรโรงเรียนทกุ คนมีหน้าทสี่ ังเกตเฝา้ ระวังและปอ้ งกนั ไม่ใหม้ ีการลว่ งละเมิดนกั เรยี น ทงั้ ในและนอก โรงเรียน เม่อื พบเหตสุ งสัยวา่ มีการลว่ งละเมดิ หรือพบรอ่ ยรอยการถกู ล่วงละเมิด ต้องดาเนนิ การ ดงั น้ี (1) กรณที ว่ั ไปที่ไมก่ อ่ ให้เกิดอนั ตรำยแก่นักเรียนในทันที บุคลากรโรงเรยี นผพู้ บเหน็ กรณนี ้ี ควรสังเกตพฤติกรรมและเหตุการณ์ต่างๆ ทเ่ี ปน็ เครอ่ื งบ่งชถี้ งึ การล่วง ละเมดิ เด็ก หากแน่ใจว่ายงั ไม่มีเหตุให้เกิดอันตรายแกเ่ ดก็ นกั เรียนในขณะนน้ั บคุ ลากรโรงเรยี นทา่ นนั้นตอ้ งแจ้งเหตกุ ารณ์ นนั้ พร้อมรายละเอยี ดต่อคณะทางานในการปกป้องคุ้มครองนกั เรียนหรือผอู้ านวยการในทนั ที

(2) กรณรี ำ้ ยแรงที่อำจเกิดอันตรำยกบั นักเรยี น รวมถงึ กำรทำรำ้ ยตัวเอง บุคลากรโรงเรยี นผพู้ บเหน็ กรณีนี้ ควรปฏิบัติดงั ต่อไปนี้ 1. หาความชว่ ยเหลือจากผูเ้ ชยี่ วชาญทอ่ี ยู่ใกล้ท่ีสดุ โดยเรว็ เพ่ือป้องกนั อนั ตรายเบอื้ งตน้ 2. ถ้าจาเป็นตอ่ ความปลอดภยั ของนักเรยี น ใหเ้ ขา้ ไปพดู คยุ กบั นักเรยี นแสดงความเห็นอกเห็นใจ รบั ฟงั อย่างต้งั ใจ และไมต่ ัดสนิ 3. ชักชวนและนานักเรียนไปส่งตอ่ ใหแ้ ก่ครพู ยาบาล หรอื ผู้เชย่ี วชาญด้านจิตวทิ ยาของโรงเรียน 4. รายงานเหตุการณ์ต่อคณะทางานในการปกปอ้ งคุ้มครองนักเรยี นในทนั ที บุคลากรโรงเรียนต้องเก็บรักษาไว้เป็นความลั บซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ท่ีต้องสงสัยเก่ียวกับ การล่วงละเมิดเด็ก และต้องไม่เปิดเผยข้อมูลนั้นแก่สาธารณะผ่านสื่อใดๆ หรือผ่านทางสื่อเทคโนโลยีทุกประเภท การฝ่าฝนื อาจถูกดาเนนิ การตามกฎหมาย 5. ขั้นตอนในกำรแจง้ เหตสุ งสัยและดำเนนิ กำรเม่อื มีกำรลว่ งละเมดิ ต่อนักเรยี น ขั้นตอนการแจ้งเหตุ กระบวนการพิจารณาการตัดสินใจและการดาเนินการ เม่ือเกิดเหตุการณ์อันเกี่ยวกับ การล่วงละเมิดต่อนักเรียนหรือในกรณีที่มีเหตุสงสัยเร่ืองการประพฤติท่ีไม่เหมาะสมกับนักเรียนของโรงเรียน มีดงั ตอ่ ไปนี้ ข้ันตอนท่ี 1 กำรเก็บรวบรวมข้อมลู 1. เม่ือพบเห็นเหตุการณ์เกี่ยวกับการล่วงละเมิดหรือเม่ือมีพฤติการณ์น่าสงสัยอันมีเหตุอันควรเชื่อว่า มีการล่วงละเมิดต่อนักเรียนเกิดข้ึนบุคลากรโรงเรียนคนที่พบเห็นจะต้องแจ้งและขอคาปรึกษาจากครูแนะแนว อย่างเร็วท่ีสุด หากครูแนะแนวไม่อยู่ ให้แจ้งต่อครูหัวหน้าช่วงชั้น หรือหากผู้สงสัยว่าเป็นผู้ล่วงละเมิดเป็นบุคลากร โรงเรียนให้รายงานต่อผู้บังคับบัญชาทีม่ ีระดับสูงข้ึนอย่างน้อย 1 ข้ัน หากเป็นผู้อานวยการให้รายงานต่อผู้รบั ใบอนุญาต หรือหากเป็นผรู้ บั ใบอนุญาตใหร้ ายงานตอ่ ฝ่ายการศึกษาของสังฆมณฑลหรอื คณะนักบวช แลว้ แต่กรณี 2. ครูแนะแนวหรือครูทไี่ ดร้ บั มอบหมายจะต้องรวบรวมข้อมลู เพ่ิมเตมิ ท่ีเกยี่ วข้องรายงาน และในกรณที จ่ี ะต้อง ดาเนนิ การสอบสวนเพ่ิมเตมิ จะตอ้ งแจง้ เร่ืองที่เกดิ ขน้ึ ใหแ้ ก่ครหู วั หนา้ ระดับช้ันพร้อมกนั ดว้ ย ในกรณที ีน่ กั เรยี นกาลังตก อยู่ในภยันตราย ครูแนะแนวพิจารณาว่า นักเรียนจะควรอยู่ในการดูแลของโรงเรียนหรือไม่ หรือจาเป็นต้องได้รับการ ดูแลจากภายนอก เช่น โรงพยาบาล แพทยห์ รอื จิตแพทย์ ตารวจ 3. ครูแนะแนวจะต้องดาเนินการแจ้งเร่ืองดังกล่าวถึงคณะทางานในการปกป้องคุ้มครองนักเรียนทราบ เพ่อื ดาเนนิ การ และรายงานต่อผูอ้ านวยการโรงเรยี นตอ่ ไป 4. ในการรวบรวมพยานหลักฐาน ขอ้ เทจ็ จริง และข้อมูลตา่ งๆ ท่ีเก่ยี วข้อง จะตอ้ งดาเนนิ การดงั ต่อไปน้ี (1) สมั ภาษณบ์ คุ ลากรโรงเรียนตามทเี่ หน็ สมควร รวบรวมและบันทกึ เหตุการณท์ ีเ่ กยี่ วขอ้ ง (2) ปรกึ ษากบั บุคลากรโรงเรยี น เพ่ือสืบสวนถงึ เรื่องราวตา่ งๆ เกี่ยวกบั นกั เรยี นทีเ่ คยมใี นโรงเรียน (3) พูดคุยกันระหว่างครูประจาชั้นและนักเรียนเพ่ือสืบหาข้อมูลเพ่ิมเติมท้ังน้ี ขึ้นอยู่กับ อายุของนักเรียนและเหตุการณ์ การพูดคุยนี้อาจรวมถึงการวาดแผนภาพและมีการสร้างเรอ่ื งสมมุติเข้ามาประกอบเพ่ือ แสดงถงึ เหตกุ ารณ์ทีเ่ กดิ ข้ึน (4) สงั เกตพฤติกรรมเมือ่ นักเรยี นอยู่ในหอ้ งเรียน

ขั้นตอนท่ี 2 กำรพจิ ำรณำและตัดสินใจในกำรดำเนินกำร หลังจากการรวบรวมและบันทกึ ข้อมูลต่างๆ แล้ว คณะทางานต้องพิจารณาวางแผนการดาเนินการข้ันตอน ตอ่ ไป เพ่อื เขา้ ไปใหค้ วามช่วยเหลือสนบั สนนุ นักเรียนและครอบครวั การดาเนนิ การในข้ันตอนน้ี มีดังต่อไปนี้ 1. แจง้ เหตุการณท์ โี่ รงเรียนเป็นห่วงกังวล หารือกบั ผปู้ กครองของนักเรยี นเพื่อหาแนวทางการแกป้ ัญหารว่ มกัน 2. ประเมินความสามารถภายในของบุคลากรโรงเรียนในการจัดการกับสถานการณ์นน้ั ในกรณีร้ายแรงหรือเกนิ กว่า ความสามารถของบุคลากรโรงเรียนในการดูแลช่วยเหลือ ให้เสนอต่อผู้ปกครองเพื่อเข้ารับการปรึกษากับที่ปรึกษามือ อาชีพ หรือจิตแพทย์ 3. ปรกึ ษากบั ท่ีปรกึ ษาของโรงเรยี น หรือทนายความ ในกรณที อ่ี าจเป็นการกระทาทผ่ี ิดกฎหมาย 4. ทารายงานแจ้งกับหน่วยงานภายนอกที่รับผิดชอบ เช่น ตารวจ สถานสงเคราะห์ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กใน กรณีทจ่ี าเปน็ ตามกฎหมาย ระดับควำมรุนแรงของเหตกุ ำรณ์และแนวทำงในกำรดำเนนิ กำร มดี งั ต่อไปนี้ 1. กรณีเหตกุ ารณ์น่าสงสัยเร่ืองการประพฤตทิ ี่ไม่เหมาะสมกับนักเรียน ซึ่งอาจอยู่ภายในความรับผิดชอบของ โรงเรียนได้ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนด้วยกันเอง การอบรมดูแลของผู้ปกครองท่ีมีต่อนักเรียนความสัมพันธ์ ระหว่างผู้ปกครองกับนักเรียน และสภาพจิตใจ อาทิ ความเครียด อาการซึมเศร้า การขาดความเช่ือม่ัน ในตนเอง 2. กรณีเหตุการณ์ซึ่งควรอยู่ภายในความรับผิดชอบและการสอบสวนของหน่วยงานภายนอก เช่น การ พยายามทาร้ายตัวเอง ความคิดท่ีจะฆ่าตัวตาย การประพฤติท่ีไม่เหมาะสมกับนั กเรียนที่รุนแรงต่อเนื่อง การประพฤตทิ ี่ไมเ่ หมาะสมทางเพศอยา่ งร้ายแรง 3. ในกรณีท่ีมีเหตุการณ์รุนแรงอย่างมาก เช่น เมื่อครอบครัวไม่หยุดการกระทาท่ีไม่เหมาะสม และคณะทางานยังคงมีความกังวลต่อความปลอดภัยของนกั เรียนอยู่ จะตอ้ งมีการรายงานเร่อื งดังกล่าวไปยงั หน่วยงาน ของรฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งและมอี านาจในการจัดการดูแล โดยได้รบั อนมุ ัติจากผู้อานวยการโรงเรียนโดยดว่ น ทั้งน้ี คณะทางานสามารถพิจารณาเปล่ียนแปลงการดาเนินการให้เหมาะสมในแต่ละกรณีได้ โดยคานึงถงึ สวสั ดิภาพของนักเรียนเปน็ ลาดบั แรก ขน้ั ตอนท่ี 3 กำรสนับสนุนและชว่ ยเหลือต่อเนือ่ ง เมอ่ื คณะทางานเหน็ ว่า โรงเรยี นมีความสามารถในการจัดการกับเหตุการณท์ ี่รนุ แรง อนั เกย่ี วกบั การลว่ งละเมิด นกั เรยี นน้ันได้ คณะทางานตอ้ งจดั ตัง้ ทีมสนบั สนุนเฉพาะกรณี ซ่งึ อาจประกอบด้วย ครูประจาชน้ั ครแู นะแนว ครู พยาบาล และครจู ิตตาภิบาล ให้มีหน้าทใ่ี นการดาเนินการเฉพาะกรณี ภายใต้การกากับและติดตามอย่างใกลช้ ดิ ของ คณะทางาน ดงั ต่อไปน้ี 1. จัดให้มีแผนการและความชว่ ยเหลอื แก่ครปู ระจาชนั้ กาหนดบทบาทหนา้ ท่ีและเวลารว่ มกบั ผูป้ กครอง 2. ติดต่อกับนักเรียนและผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง และให้ความช่วยเหลือสนับสนุนและเสนอแนะอย่าง เหมาะสม 3. ใหค้ รใู นช้ันของนกั เรียนทงั้ หมดรว่ มกบั หวั หนา้ ระดับช้ันและครูประจาชนั้ ชว่ ยเหลือนักเรียนตามแผนภายใน กาหนดเวลา 4. ตดิ ต่อกับนกั บาบดั หรือจติ แพทย์ และขอคาปรกึ ษาในการชว่ ยเหลือนกั เรียน

กระบวนการและขน้ั ตอนจะต้องดาเนนิ การอยา่ งตอ่ เน่ืองจนกว่านักเรยี นจะไดร้ บั การเยยี วยาและปรับพฤตกิ รรม จนเขา้ สู่สภาวะปกติ ข้อหำ้ ม ห้ามมิใหบ้ คุ ลากรโรงเรยี นโฆษณาหรือเผยแพรท่ างสอ่ื สารมวลชน หรอื สอ่ื สารสนเทศใดซง่ึ ขอ้ มลู เกยี่ วกับนกั เรียนและผปู้ กครอง ซงึ่ อาจทาให้เกดิ ความเสียหายแก่นักเรยี นและผปู้ กครอง หรอื เพ่ือแสวงประโยชน์กำร ฝ่ำฝนื อำจถูกดำเนนิ กำรตำมกฎหมำย ขอ้ มลู และเอกสารที่เก่ียวกับกระบวนการแจง้ ตรวจสอบ สืบสวน สอบสวน และดาเนนิ การนัน้ จะตอ้ งเกบ็ ไวท้ ค่ี ลัง เอกสารและสารบบขอ้ มูลของโรงเรียน และจะตอ้ งเก็บรักษาไว้เป็นความลับ รายงานตา่ งๆ จะต้องมีเคร่ืองหมายแสดง ให้เห็นชัดเจนว่าเป็นข้อมูลความลับของนักเรียน โรงเรียนจะต้องเปิดเผยหรือนาเสนอข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์เท่าที่ กระทาไปเพ่ือการปกป้องดูแลความปลอดภัยของนักเรียนเท่านั้น หรือจาเป็นต้องเปิดเผยต่อหน่วยงานของรัฐตาม กฎหมาย ในกรณีทมี่ ีรายงานเร่ืองการล่วงละเมดิ หรอื เม่ือมเี หตุสงสัยอันควรเชอ่ื ว่ามีการล่วงละเมิดนักเรยี นน้นั เกี่ยวขอ้ ง กับบุคลากรโรงเรียน โรงเรียนจะต้องดาเนินการตามกระบวนการข้ันตอนตามนโยบายหลักจริยธรรมและข้อบังคับทาง วนิ ยั ของโรงเรียนโดยเคร่งครัด

ภำคผนวก ข.

กฎหมำยคุม้ ครองเดก็ พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ กาหนดถึงการคุ้มครองเด็กท่ีเก่ยี วขอ้ งโดยเฉพาะกบั โรงเรยี น มี 2 เครื่องมอื ประกอบด้วย 1. การปฏิบัตติ อ่ เดก็ และ 2. การสง่ เสริมความประพฤติของนกั เรียนและนกั ศกึ ษา 1. กำรปฏบิ ัตติ อ่ เด็ก มบี ทบญั ญัติท่ีเก่ียวขอ้ ง ดังนี้ มาตรา ๒๒ การปฏิบัตติ อ่ เด็กไม่วา่ กรณีใด ให้คานงึ ถงึ ประโยชน์สูงสดุ ของเด็กเปน็ สาคญั และไม่ให้มกี าร เลือกปฏบิ ัตโิ ดยไมเ่ ปน็ ธรรม การกระทาใดเป็นไปเพ่อื ประโยชนส์ งู สุดของเดก็ หรอื เปน็ การเลือกปฏบิ ตั ิโดยไมเ่ ปน็ ธรรมต่อเดก็ หรือไม่ ให้ พิจารณาตามแนวทางที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๓ ผู้ปกครองต้องให้การอุปการะเล้ียงดู อบรมส่ังสอน และพัฒนาเด็กท่ีอยู่ในความปกครองดูแล ของตนตามสมควรแก่ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมแห่งท้องถิ่น แต่ท้ังน้ีต้องไม่ต่ากว่ามาตรฐานขั้นต่าตามที่ กาหนดในกฎกระทรวงและต้องคุม้ ครองสวัสดิภาพเด็กท่ีอยู่ในความปกครองดูแลของตนมใิ ห้ตกอยู่ในภาวะอันนา่ จะเกิด อนั ตรายแก่รา่ งกายหรอื จติ ใจ มาตรา ๒๖ ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งกฎหมายอื่น ไม่ว่าเด็กจะยินยอมหรือไม่ ห้ามมิให้ผู้ใด กระทาการ ดังต่อไปน้ี (1) กระทาหรือละเวน้ การกระทาอันเปน็ การทารณุ กรรมต่อร่างกายหรอื จติ ใจของเด็ก (2) จงใจหรือละเลยไม่ให้ส่ิงจาเป็นแก่การดารงชีวิตหรือการรักษาพยาบาลแก่เด็กท่ีอยู่ในความดูแลของ ตน จนน่าจะเกิดอนั ตรายแกร่ ่างกายหรือจิตใจของเด็ก (3) บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กประพฤติตนไม่สมควรหรือน่าจะทาให้เด็กมีความ ประพฤติเส่ียงต่อการกระทาผดิ (4) โฆษณาทางส่ือมวลชนหรือเผยแพร่ด้วยประการใด เพื่อรับเด็กหรือยกเด็กให้แก่บุคคลอ่ืนที่มิใช่ญาติ ของเดก็ เว้นแต่เป็นการกระทาของทางราชการหรือไดร้ บั อนญุ าตจากทางราชการแลว้ (5) บังคบั ขูเ่ ข็ญ ชักจูง สง่ เสรมิ ยนิ ยอม หรือกระทาด้วยประการใดใหเ้ ดก็ ไปเป็นขอทาน เดก็ เร่ร่อน หรือ ใชเ้ ดก็ เป็นเครอื่ งมอื ในการขอทานหรือการกระทาผดิ หรือกระทาดว้ ยประการใดอันเปน็ การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ จากเด็ก (6) ใช้ จ้าง หรือวานเด็กให้ทางานหรือกระทาการอันอาจเป็นอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจมีผลกระทบ ตอ่ การเจริญเติบโต หรือขัดขวางตอ่ พัฒนาการของเด็ก (7) บังคับ ขู่เข็ญ ใช้ ชักจูง ยุยง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กเล่นกีฬาหรือให้กระทาการใด เพ่ือแสวงหา ประโยชน์ทางการค้าอันมีลักษณะเป็นการขัดขวางต่อการเจริญเติบโตหรือพัฒนาการของเด็กหรือมีลักษณะ เป็นการทารุณกรรมต่อเด็ก ใช้หรือยินยอมให้เด็กเล่นการพนันไม่ว่าชนิดใดหรือเข้าไปในสถานที่เล่นการพนัน สถานค้าประเวณี หรอื สถานทท่ี ี่หา้ มมใิ หเ้ ด็กเข้า (8) บังคับ ขู่เข็ญ ใช้ ชักจูง ยุยง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กแสดงหรือกระทาการอันมีลักษณะลามก อนาจาร ไมว่ า่ จะเป็นไปเพ่อื ใหไ้ ดม้ าซึ่งค่าตอบแทนหรือเพ่อื การใด (9) จาหน่าย แลกเปล่ียน หรือให้สุราหรือบุหร่ีแก่เด็ก เว้นแต่การปฏิบัติทางการแพทย์ ถ้าการกระทา ความผิดตามวรรคหนึ่งมโี ทษตามกฎหมายอน่ื ที่หนกั กวา่ ก็ใหล้ งโทษตามกฎหมายนั้น (10) จาหน่าย แลกเปล่ียน หรือให้สุราหรือบุหรี่แก่เด็ก เว้นแต่การปฏิบัติทางการแพทย์ ถ้าการกระทา ความผดิ ตามวรรคหน่งึ มโี ทษตามกฎหมายอ่ืนที่หนักกว่าก็ให้ลงโทษตามกฎหมายนน้ั

มาตรา ๒๗ หา้ มมิให้ผูใ้ ดโฆษณาหรอื เผยแพรท่ างสอื่ มวลชนหรอื ส่อื สารสนเทศประเภทใด ซงึ่ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ตวั เด็กหรือผู้ปกครอง โดยเจตนาท่ีจะทาให้เกิดความเสียหายแก่จิตใจ ช่ือเสียง เกยี รตคิ ุณ หรือสิทธิประโยชน์อื่นใดของ เด็กหรือเพือ่ แสวงหาประโยชน์สาหรับตนเองหรือผอู้ ่ืนโดยมิชอบ กฎกระทรวงกาหนดแนวทางการพิจารณาว่าการกระทาใดเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของเด็กหรือเป็นการ เลือกปฏบิ ตั โิ ดยไม่เปน็ ธรรมต่อเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้กาหนดแนวทางไว้ ดงั น้ี ขอ้ ๑ การกระทาเพ่ือประโยชน์สูงสดุ ของเด็ก ให้พจิ ารณาตามแนวทาง ดงั ต่อไปน้ี (1) ลกั ษณะเฉพาะตวั ของเดก็ แตล่ ะคน (2) ความเหมาะสม ความตอ้ งการ และความจาเปน็ ของเดก็ (3) ประโยชน์ที่เด็กจะได้รับในด้านร่างกาย สุขภาพอนามัย การเจริญเติบโต การออกกาลังกาย การส่งเสรมิ สุขภาพ การปอ้ งกนั โรค การรักษาพยาบาล การฟ้นื ฟสู ภาพอยา่ งเหมาะสม การพกั ผอ่ นและนนั ทนาการ (4) ประโยชน์ท่ีเด็กจะได้รับในด้านการพัฒนาทางสติปัญญา โดยให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริง การทดลองปฏิบัติตามความเหมาะสม และการได้รับข้อมูลสารสนเทศทเี่ หมาะสมจากแหลง่ ต่างๆ (5) ประโยชนท์ ่ีเด็กจะได้รับในด้านการพัฒนาทางจิตใจและอารมณ์ โดยได้รบั การอบรมเลี้ยงดดู ้วยความ รัก ความเข้าใจ ความเอาใจใส่ ให้มีความรู้และทักษะในการดารงชีวิต มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มีเจตคติที่ดีต่อ ครอบครวั สังคม และการดาเนินชวี ิต มีความเข้าใจเก่ียวกบั ตนเองอย่างถกู ต้อง (6) ประโยชน์ท่ีเด็กจะได้รับในด้านสังคม สภาพแวดล้อมท่ีไม่เป็นพิษภัยต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิต ทั้งน้ี ให้เหมาะสมตามวยั และเอือ้ ต่อการพฒั นาและการเรยี นรูข้ องเด็ก (7) ประโยชน์ที่เด็กจะได้รับในด้านการศึกษา โดยได้รับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอย่างต่อเนื่องไม่หยุดชะงัก และเปน็ การศกึ ษาตามความสามารถของเดก็ (8) ประโยชนท์ ่เี ด็กจะได้รับในด้านวัฒนธรรม ศลี ธรรม และศาสนา (9) ประโยชน์ที่เด็กจะได้รับในด้านการเตรียมความพร้อม เพื่อการประกอบอาชีพที่เหมาะสม กับความถนดั ความสามารถ เพศ และวัย (10) การประสานงานกันระหว่างผู้เกยี่ วขอ้ ง เพ่อื ใหเ้ ด็กได้รบั การค้มุ ครองและช่วยเหลืออยา่ งรวดเร็ว (11) การคุ้มครองเด็กให้พ้นจากการใช้ความรุนแรง การถูกทาร้าย การล่วงเกินทางเพศการแสวงหา ประโยชน์ทางเพศ และการถูกทอดท้งิ (12) การสงเคราะห์ช่วยเหลืออย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นเด็กผู้ด้อยโอกาส เด็กถูกทอดทง้ิ เด็กพกิ าร หรือ เดก็ ท่ีอยู่ในสภาวะท่ีจะต้องได้รบั การสงเคราะห์ (13) การคุ้มครองเด็กให้พ้นจากการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบในทางเศรษฐกิจ และการทางานหรือ กิจการใดท่ีนา่ จะเป็นการเสี่ยงอนั ตราย เป็นอันตรายตอ่ สุขภาพ หรือเปน็ การขดั ขวางการศกึ ษาของเด็ก หรือขดั ขวางการ พัฒนาทางร่างกาย สมอง จิตใจ ศลี ธรรม และสงั คมของเด็ก (14) การคุ้มครองเด็กจากการโฆษณา เผยแพร่ทางส่ือมวลชน หรือสื่อสารสนเทศ ในลักษณะที่น่าจะเกิด ความเสียหายแก่ช่อื เสียง เกียรติคุณ หรือสทิ ธปิ ระโยชนอ์ ย่างหนง่ึ อยา่ งใดของเดก็ (15) การให้เด็กได้รบั โอกาสเขา้ ถึงบรกิ ารขั้นพืน้ ฐานตา่ งๆ ในสังคม ทง้ั ภาครัฐและเอกชน (16) การให้เด็กได้รับความคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิและผลประโยชน์พ้ืนฐาน รวมทั้งได้รับความช่วยเหลือ ในเวลาที่ประสบปญั หาทางดา้ นตา่ งๆ ใหส้ ามารถแก้ปญั หาและอยใู่ นสังคมได้โดยปกตสิ ุข (17) การเปิดโอกาสใหเ้ ดก็ มสี ่วนรว่ มในการใชอ้ านาจหน้าที่และการปฏบิ ัติทม่ี ีผลกระทบเดก็ ข้อ ๒ การปฏิบัติต่อเด็กไม่ว่ากรณีใดโดยไม่เท่าเทียมกัน เพราะเหตุความแตกต่างในเร่ืองถิ่นกาเนิด เช้ือชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทาง ศาสนา การศกึ ษาอบรม หรือความคดิ เหน็ ทางการเมอื ง ถอื เป็นการเลอื กปฏิบตั ิโดยไมเ่ ปน็ ธรรมต่อเด็ก

การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อเด็ก หมายความรวมถึง การปฏิบัติใดๆ ต่อเด็กท่ีแม้จะใช้หลักเกณฑ์ เดียวกนั กับบคุ คลอนื่ และผู้ปฏบิ ตั ไิ ม่ไดม้ เี จตนาเลอื กปฏบิ ตั ิหรือเจตนากล่นั แกลง้ ผ้ไู ด้รับผลรา้ ยหรอื ผลกระทบก็ตาม แต่มี ผลทาให้เกดิ ความแตกต่างกันตอ่ เดก็ บางคนหรือบางกล่มุ อยา่ งชดั เจนเพราะเหตตุ ามวรรคหนงึ่ การเลือกปฏิบตั ิต่อเด็กเพราะเหตุตามวรรคหนึ่งหรอื วรรคสองอาจกระทาได้หากเปน็ ไปโดยมีเหตผุ ลทางหลัก วิชาการ วิทยาศาสตร์ ความเชื่อทางศาสนา จารีตประเพณีและวัฒนธรรม ลักษณะเฉพาะตัวของเด็กหรือเหตุผลอัน สมควรประการอ่นื 2. กำรส่งเสรมิ ควำมประพฤตนิ กั เรียนและนักศึกษำ มบี ทบญั ญัตทิ ี่ควรพิจารณาดังน้ี มาตรา ๖๓ โรงเรียนและสถานศึกษาต้องจัดให้มีระบบงานและกิจกรรมในการแนะแนวให้คาปรึกษาและ ฝึกอบรมแก่นักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง เพ่ือส่งเสริมความประพฤติท่ีเหมาะสมความรับผิดชอบต่อสังคม และ ความปลอดภยั แก่นักเรียนและนกั ศึกษา ตามหลักเกณฑ์ วธิ กี ารและเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการจัดระบบงานและกิจกรรมในการแนะแนว ให้คาปรึกษาและฝกึ อบรมแก่นกั เรียน นกั ศึกษา และผูป้ กครอง พ.ศ. ๒๕๔๘ กาหนดหนา้ ท่ีของโรงเรียน ไว้ดงั น้ี ข้อ 1 ให้โรงเรียนและสถานศึกษาจัดให้ มีระบบงานและกิจกรรมในการแนะแนว ให้คาปรึกษาและ ฝึกอบรมแกน่ กั เรยี น นกั ศึกษา และผปู้ กครอง ทงั้ นี้ ตามระดบั ของโรงเรียนหรอื สถานศึกษา ข้อ 2 ให้โรงเรียนและสถานศึกษามหี น้าที่ ดงั ต่อไปน้ี (1) พัฒนาระบบงานแนะแนวท่ีจะชว่ ยเหลอื ดแู ลนกั เรยี นและนกั ศกึ ษาเป็นรายบคุ คล พรอ้ มทง้ั ส่งเสรมิ ให้ ครูทุกคนมีบทบาทในการแนะแนว รู้จักและเข้าใจผู้เรียน สามารถค้นพบและจัดการเรียนรู้ท่ีจะพัฒนาศักยภาพของ ผูเ้ รียน และให้คาปรกึ ษาด้านการดารงชวี ิต การปรับเปล่ียนพฤติกรรม การศึกษาต่อและการมีงานทา ท้งั น้ี ใหม้ ีระบบ ข้อมูลตง้ั แต่แรกเข้าเพ่ือติดตามดแู ลอย่างต่อเนอ่ื งจนจบการศกึ ษา (2) สารวจ เฝ้าระวัง และติดตามนักเรียนและนักศึกษาที่เส่ียงต่อการกระทาผิดเพื่อจัดกิจกรรมในการ พฒั นาและปรับเปลยี่ นพฤติกรรมอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเน่อื ง (3) แจ้งให้ผู้ปกครองของนักเรียนและนักศึกษาท่ีเสี่ยงต่อการกระทาผิดใดๆ ทราบถึงพฤติกรรม และหา แนวทางแกไ้ ขปญั หาร่วมกนั ทง้ั น้ี อาจกาหนดให้นักเรยี นหรอื นักศึกษาดังกล่าวเขา้ ร่วมกิจกรรม ตามท่ีเหน็ สมควร (4) จัดให้มีมาตรการส่งเสริมความปลอดภัย ป้องกัน และแก้ไขปัญหาความรุนแรง โดยมีแผนงาน ผู้รับผดิ ชอบ และการติดตามตรวจสอบ เพ่อื ใหเ้ กิดประสิทธิภาพ (5) สนับสนุนให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่ วมรับผิดชอบในการส่งเสริมความประพฤติ และความปลอดภยั ของนักเรยี นและนักศึกษา (6) จัดให้มีระบบการติดตามประเมินผล และรายงานผลการดาเนินงานต่อส่วนราชการต้นสังกัด อยา่ งนอ้ ยปกี ารศึกษาละหนึ่งครง้ั มาตรา ๖๔ นักเรียนและนกั ศกึ ษาต้องแตง่ กายตามระเบียบของโรงเรียนหรอื สถานศึกษาและต้องประพฤติ ตนตามระเบยี บของโรงเรยี นหรือสถานศกึ ษาและตามที่กาหนดในกฎกระทรวง กฎกระทรวงกาหนดความประพฤติของนักเรียนและนกั ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๘ มขี ้อกาหนด ไวด้ ังน้ี ข้อ 1 นกั เรียนและนักศึกษาต้องไม่ประพฤตติ น ดังตอ่ ไปนี้ (1) หนีเรยี นหรอื ออกนอกสถานศึกษาโดยไม่ได้รับอนุญาตในช่วงเวลาเรียน (2) เล่นการพนัน จดั ให้มีการเล่นการพนนั หรอื มวั่ สุมในวงการพนนั (3) พกพาอาวธุ หรือวตั ถุระเบิด (4) ซื้อ จาหน่าย แลกเปล่ียน เสพสรุ าหรือเครือ่ งดมื่ ทีม่ แี อลกอฮอล์ ส่งิ มนึ เมา บหุ รี่ หรือยาเสพตดิ (5) ลกั ทรัพย์ กรรโชกทรพั ย์ ขม่ ขู่ หรอื บังคับขืนใจเพอ่ื เอาทรพั ยบ์ คุ คลอ่นื

(6) กอ่ เหตุทะเลาะวิวาท ทาร้ายร่างกายผู้อ่ืน เตรียมการหรอื กระทาการใดๆ อันนา่ จะก่อให้เกิดความไม่ สงบเรียบรอ้ ยหรือขัดตอ่ ศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน (7) แสดงพฤตกิ รรมทางชสู้ าวซง่ึ ไมเ่ หมาะสมในที่สาธารณะ (8) เกยี่ วข้องกบั การค้าประเวณี (9) ออกนอกสถานที่พักเวลากลางคืน เพื่อเที่ยวเตร่หรือรวมกลุ่ม อันเป็นการสร้างความเดือดร้อนให้แก่ ตนเองหรือผู้อ่ืน ข้อ 2 ให้โรงเรยี นหรือสถานศึกษากาหนดระเบียบว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาได้เท่าที่ ไมข่ ัดหรอื แย้งกบั กฎกระทรวงนี้

ภำคผนวก ค. คำประกำศรบั รองสทิ ธิและกำรคุ้มครองนกั เรียน คำประกำศรบั รองสทิ ธิและกำรคุ้มครองนักเรยี น โรงเรียนให้ความสาคัญกับการปกป้องคุ้มครองเด็กเป็นอย่างจริงจัง และจัดให้มีบุคลากรที่ดูแลสวัสดิภาพของ นักเรียนเพ่ือรับประกันและรักษามาตรฐานการดูแลสูงสุดอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นประกันและรักษามาตรฐานการดูแล สงู สุดอย่างตอ่ เนื่อง โรงเรยี นจึงใครข่ อความร่วมมอื จากบุคลากรทุกฝ่าย รวมถึงผูป้ กครองและผูม้ าตดิ ตอ่ ให้ปฏบิ ัตดิ ังนี้ 1. ไมถ่ า่ ยรูปหรอื บันทกึ วีดทิ ัศนน์ ักเรียน หากไมไ่ ดร้ ับอนุญาต 2. ไมข่ อขอ้ มูลการติดตอ่ จากนักเรียน 3. หลีกเลีย่ งการอยู่กบั นักเรียนตามลาพัง 4. หลกี เลยี่ งการถูกเน้ือต้องตัวนักเรียน และเว้นระยะหา่ งท่ีเหมาะสม 5. อยู่ภายในบรเิ วณท่ีจัดใหแ้ ละใชห้ อ้ งน้าสาหรับผใู้ หญ่เท่าน้ัน ไม่เข้าหอ้ งน้านกั เรียนหรอื หอ้ งเปลย่ี นเสื้อ นักเรียนไม่วา่ กรณใี ดๆ ครสู วุ รรณรตั น์ จันใด ครนู ภกมล ภาวะภตานนท์ ครูสวุ ทิ ย์ สิริศุภโภ หัวหนา้ สายชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 หัวหนา้ สายช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 หัวหน้าสายช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียนพระหฤทัยดอนเมือง ประกาศเมอื่ วนั ที่ 3 มถิ ุนายน 2565 ห า ก ท่ า น มี ข้ อ มี ส ง สั ย ห รื อ มี ข้ อ แ น ะ น า ใ น ก า ร ป ก ป้ อ ง แ ล ะ คุ้ ม ค ร อ ง นั ก เ รี ย น ป ร ะ ก า ร ใ ด โ ป ร ด ติ ด ต่ อ บคุ คลขา้ งตน้ ได้ตลอดเวลา

ภำคผนวก ง. คำสัญญำของบุคลำกรโรงเรยี นพระหฤทัยดอนเมือง ในกำรปฏิบัติตอ่ นักเรียน ก่อนท่ีข้าพเจ้าจะเข้าทาหน้าท่ีให้แก่โรงเรียน ข้าพเจ้าขอให้คาสัญญาว่า ตลอดเวลาท่ีปฏิบัติงานท่ีโ รงเรียน ขา้ พเจ้าจะประพฤติปฏบิ ัตติ นเพ่ือการปกปอ้ งและคุม้ ครองนกั เรยี น ดังตอ่ ไปน้ี 1. ข้าพเจ้าได้อ่านและตกลงที่จะปฏิบัติตามนโยบายในการปกป้องคุ้มครองนักเรียนของโรงเรียน และจะให้ ความรว่ มมอื ในทุกกระบวนการและขน้ั ตอนของนโยบายการปกป้องคุ้มครองเด็กของโรงเรยี น 2. ข้าพเจ้ารับรองว่า ข้าพเจ้าไม่เคยถูกไล่ออก และไม่เคยกระทาหรือถูกกล่าวหาว่ากระทาการล่วงละเมิด โดยเฉพาะการล่วงละเมิดทางเพศกบั เด็ก 3. ข้าพเจ้าเห็นด้วยว่า การเคารพในเกียรติของเด็กและสิทธิในการได้รับการปกป้องคุ้มครอง เป็นหน้าที่และ ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าในฐานะผู้ใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในฐานะครู ลูกจ้าง ผู้รับจ้าง อาสาสมัคร ครผู ฝู้ กึ สอน ผ้บู รรยายพิเศษ หรือผูท้ เ่ี กย่ี วข้องในกิจการของโรงเรียน 4. ข้าพเจ้าตกลงท่ีจะรับผิดชอบในการให้การสนับสนุนด้านสุขภาพ สวัสดิภาพและให้เกียรตินักเรียนทุกคน เพ่ือให้ม่ันใจว่านักเรียนได้รับการปกป้องและคุ้มครองท่ีเหมาะสมตามช่วงวัยของนักเรียน รวมทั้งจะเป็นแบบอย่างใน ความประพฤติท่ดี ี 5. ข้าพเจา้ จะสร้างความสมั พนั ธ์กบั นักเรียนบนพ้ืนฐานของการเคารพและใหเ้ กียรติอยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม และจะไม่ยินยอมให้มีการเกิดความเส่ียงหรือมีภยันตรายอันจะทาลายความมั่นใจของนักเรียน หรือทาให้นักเรียนได้รับ ความกดดนั อันนาไปสูก่ ารลว่ งละเมดิ นกั เรยี น 6. ข้าพเจ้าจะรับผิดชอบตามกฎหมายต่อการกระทาผิด หรือความผิดพลาดใดของข้าพเจ้า หากมีหลักฐาน พิสูจน์ได้ว่าการปฏิบัติท่ีไม่ถูกต้องต่อนักเรียนของข้าพเจ้าน้ันกระทบถึงสิทธิหรือก่อให้เกิดการล่วงละเมิดใดๆ ต่อนกั เรยี น ข้าพเจ้าจงึ ได้ลงนามไว้เปน็ หลักฐาน ชือ่ ของบคุ ลากรโรงเรยี น ลายมอื ชอื่ ตาแหนง่ วันท่ี