4 พิกดั ความเผ่อื และระบบงานสวม จริ ยทุ ธ์ โชตกิ ุล ช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนคิ ศรีสะเกษ
หน่วยการเรียนท่ี 4 พกิ ัดความเผอ่ื และระบบงานสวม สาระสำคัญ ในการปฏิบัติงาน และผลิตชิ้นส่วนเครื่องจักรต่างๆ ในงานเครื่องกลโดยส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับ ระบบงานสวมและพกิ ดั ความเผือ่ ดงั นัน้ ในการผลิตช้นิ สว่ นต้องรูจ้ กั พิกัดความเผอ่ื ระบบงานสวม การสวมอัด สวมคลอน สวมพอดี เพื่อเกิดความเข้าใจตรงกัน และยอมรับในความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น หรือตาม วตั ถปุ ระสงคข์ องงาน
หนว่ ยการเรียนที่ 4 พกิ ัดความเผ่ือและระบบงานสวม 1. พกิ ัดความเผื่อ 1.1 พกิ ดั ความเผ่อื คือ ค่าความผิดพลาดทย่ี อมใหเ้ กิดข้นึ ได้โดยมีแบบสง่ั งานเป็นตวั กำหนดทง้ั ขนาดและค่าพิกัดความเผ่อื เช่น + 0.025 - 0.035 มขี นาดท่ีกำหนด 55 หมายความวา่ มีขนาดกำหนดโต 55 มม. มคี ่าพกิ ัดโตสุดเท่ากับ 55 + 0.025 มม. มคี า่ พกิ ดั เลก็ สุดเท่ากบั 55 - 0.035 มม. รูปที่ 4.1 ส่วนต่าง ๆ ของพิกดั ความเผ่อื ขนาดกำหนด (Nominal Size) คือขนาดปกติของชิ้นงานวัด ณ เส้นศูนย์ หรือ ขนาดของ ชน้ิ งานซ่งึ กำหนดลงในแบบงาน ค่าความเผื่อต่ำสุด หรือพิกัดล่าง (Allowance Below Normal Size ; Au) คือระยะวัดจาก เสน้ ศูนย์ถึงเส้นต่ำสดุ หรอื ค่าทีน่ ำมาบวกกบั ขนาดกำหนดเพ่ือหาขนาดเลก็ สุดของชนิ้ งาน ค่าความเผื่อสูงสุด หรือ พิกัดบน (Allowance Above Normal Size ; Ao) คือระยะวัดจาก เส้นศูนย์ ถงึ เสน้ สงู สดุ หรือ ค่าทนี่ ำมาบวกกบั ขนาดกำหนดเพือ่ หาขนาดโตสุดของ ช้ินงาน พิกดั ความเผื่อ (tolerance ; T) คอื ผลต่างระหว่างขนาดทอี่ นุญาตโตสดุ กับเลก็ สุด เส้นศนู ย์ (Zero line) คอื เสน้ แสดงตำแหน่งของขนาดกำหนด ใช้เปน็ เส้นอ้างอิงในการ กำหนดค่าความเผื่อ ถา้ คา่ ความเผือ่ มีค่าเป็นศูนย์แสดงวา่ ชนิ้ งานจะใหญเ่ ท่ากนั ขนาดกำหนดพอดี ถ้าความเผ่ือเปน็ บวก แสดงว่าช้ินงานจะโตกวา่ ขนาดกำหนด ถา้ ค่าความเผอ่ื เปน็ ลบแสดงวา่ ช้ินงาน จะมขี นาดเลก็ กว่าขนาดกำหนด
ขนาดจริง (Actual Size ; I) คอื ขนาดที่วัดได้จากชิ้นงานทผี่ ลิตออกมา ซ่งึ อยู่ภายใน ขอบเขต ของพิกัดความเผื่อ รูควา้ น (Hole ;D) คอื ขนาดทีว่ ัดภายในโพรงของช้นิ งาน โดยกำหนดให้ Dg = ขนาดรคู วา้ นโตสุด และ Dk = ขนาดรคู ว้านเลก็ สดุ เพลา (Shaft ;d) คอื ขนาดของกระบอกกลมที่วัดภายนอกชนิ้ งาน โดยกำหนดให้ dg = ขนาดเพลาโตสุด และ dk = ขนาดเพลาเลก็ สดุ Dg T Au Ao Sg Dk Sk Ao N เส้นผา่ น ศนู ยก์ ลาง รูปท่ี 4.2 สญั ลักษณพ์ กิ ดั ความเผ่อื N = ขนาดกำหนด Dk = ขนาดเลก็ สุด I = ขนาดจรงิ Ao = ขนาดเผอ่ื สูง Dg = ขนาดโตสดุ Au = ขนาดเผอ่ื ต่ำ T = พิกดั ความเผ่ือ S = ชอ่ งว่าง Uk = ค่าเกนิ เลก็ สดุ Sg = ช่องวา่ งโตสุด Ug = ค่าเกนิ โตสุด Sk = ชอ่ งว่างเล็กสดุ 1.2 สัญลักษณข์ องพกิ ดั ความเผ่ือ 1.2.1 สัญลกั ษณ์พิกัดความเผ่อื รูคว้าน ใช้ตัวอักษรภาษาองั กฤษตัวพิมพ์ใหญ่ ทงั้ หมด 21 ตวั คอื A B C D E F G H J K M N P R S T U V X Y Z 1.2.2 สญั ลักษณ์พกิ ดั ความเผ่ือเพลา ใชต้ ัวอกั ษรภาษาอังกฤษตัวพมิ พเ์ ลก็ ทั้งหมด 21 ตัว คือ a b c d e f g h j k m n p r s t u v x y z 1.2.3 สัญลกั ษณพ์ ิกดั ความเผอ่ื แต่ละตัวแบ่งออกเป็นเกรดหรอื ตามคุณภาพของงาน แบง่ ออกเปน็ 18 พิกดั หรอื เรียกวา่ IT ย่อมาจาก ISO-Tolerance Series Quality Grade ตวั เลขมากพิกัด ความเผอ่ื ย่งิ มาก ตามตารางที่ 4.1 ซ่งึ แบง่ ออกไดด้ งั น้ี
IT01 – IT05 ใชส้ ำหรับงานละเอียดมาก ๆ เช่น งานผลติ เครอื่ งมือวดั IT06 – IT11 ใช้สำหรับงานสวมประกอบช้นิ ส่วนเคร่ืองจกั กล IT12 – IT18 ใช้สำหรบั งานหยาบทัว่ ๆไป เชน่ งานตีเหล็ก งานหล่อ งานเช่ือม ตารางที่ 4.1 ค่าพกิ ัดความเผอ่ื ระดบั ความละเอยี ด ระบบ ISO คา่ พกิ ัดเป็น µm = 0.001 มม. ขนาด IT ค่าพิกดั ความเผื่อ กำหนด มากกวา่ .. 01 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 ถงึ 1....3 0. 0. 0. 1. 2 3 4 6 10 14 25 40 60 100 140 250 400 600 - - 3582 3....6 0. 0. 1 1. 2.5 4 5 8 12 18 30 48 75 120 180 300 480 750 - - 46 5 6....10 0. 0. 1 1. 2.5 4 6 9 15 22 36 58 90 150 220 360 580 900 1500 - 46 5 10....18 0. 0. 1. 2 3 5 8 11 18 27 43 70 110 180 270 430 700 1100 1800 2700 582 18....30 0. 1 1. 2. 4 6 9 13 21 33 52 84 130 210 330 520 840 1300 2100 3300 6 55 30....50 0. 1 1. 2. 4 7 11 16 25 39 62 100 160 250 390 620 1000 1600 2500 3900 6 55 50....80 0. 1. 2 3 5 8 13 19 30 46 74 120 190 300 460 740 1200 1900 3000 4600 82 80....120 1 1. 2. 4 6 10 15 22 35 54 87 140 220 350 540 870 1400 2200 3500 5400 55 120....18 1. 2 3. 5 8 12 18 25 40 63 100 160 250 400 630 1000 1600 2500 4000 6300 02 5 180....25 2 3 4. 7 10 14 20 29 46 72 115 185 290 460 720 1150 1850 2900 4600 7200 05 250….31 2. 4 6 8 12 16 23 32 52 81 130 210 320 520 810 1300 2100 3200 5200 8100 55 315….40 3 5 7 9 13 18 25 36 57 89 140 230 360 570 890 1400 2300 3600 5700 8900 0 (ทม่ี า : บรรเลง ศรนิล.2524:101 ) 1.3 การคำนวณหาพกิ ัดความเผือ่ ตวั อยา่ งท่ี 4.1 จงคำนวณหาพกิ ัดความเผือ่ ของรคู ว้านคงที่ Ø 35H6 รปู ท่ี 4.3 แสดงรูคว้าน
จากตารางท่ี 4.4 ได้คา่ พกิ ดั ความเผือ่ ดงั นี้ Ø35 +0.016 +0.00 ขนาดของรูคว้านโตสุด (Dg) = ขนาดกำหนด + คา่ ความเผอ่ื สงู สดุ = 35 + 0.016 = 35.016 มม. ขนาดรคู ว้านเลก็ สุด (Dk) = ขนาดกำหนด + ค่าความเผื่อต่ำสดุ = 35 + 0.00 = 35.0 มม. พกิ ดั ความเผอ่ื = ขนาดโตสุด - ขนาดเลก็ สุด = 35.016 – 35.0 = 0.016 มม. ตวั อย่างที่ 4.2 จงคำนวณหาพิกัดความเผ่ือของเพลาคงท่ี Ø 30R7 รปู ท่ี 4.4 แสดงรคู วา้ น จากตารางที่ 4.4 ได้คา่ พิกดั ความเผื่อดังนี้ Ø30 −0.020 −0.041 ขนาดของรคู ว้านโตสดุ (Dg) = ขนาดกำหนด + คา่ ความเผื่อสงู สุด = 30 + (-0.020) = 29.980 มม. ขนาดรูควา้ นเลก็ สุด (Dk) = ขนาดกำหนด + คา่ ความเผอ่ื ต่ำสดุ พกิ ดั ความเผ่ือ = 30 + (-0.041) = 29.959 มม. = ขนาดโตสดุ - ขนาดเลก็ สุด = 29.980 - 29.959 = 0.021 มม.
ตัวอยา่ งที่ 4.3 จงคำนวณหาขนาดตา่ งๆ ของเพลา Ø29h9 รูปท่ี 4.5 แสดงขนาดของเพลา จากตารางท่ี 4.4 ได้ค่าพกิ ดั ความเผือ่ ดังนี้ Ø 29 +0.000 −0.052 ขนาดเพลาโตสุด (dg) = ขนาดกำหนด + คา่ ความเผอื่ สูงสุด = 29.00 + 0.00 = 29.00 มม. ขนาดเพลาเลก็ สุด (dk) = ขนาดกำหนด + ความเผอ่ื ต่ำสดุ = 29.00 + (-0.052) = 28.948 มม. พิกดั ความเผ่ือ = ขนาดเพลาโตสุด - ขนาดเพลาเล็กสดุ = 29.00 - 28.948 = 0.052 มม. 2. ชนิดของงานสวม ชนิดของงานสวมหรือลักษณะของงานสวม หมายถึงการเอาชิ้นงานทั้งสองมาประกอบรวมกัน ผล ของการประกอบรวมกนั นนั้ จะมลี กั ษณะแบ่งออกได้ 3 ลกั ษณะ ดังน้ี 2.1 งานสวมคลอน (Clearance Fit) ช้ินงานท่ีทำการประกอบกันแลว้ จะมีชอ่ งวา่ งเหลือมาก ระหว่างเพลาและรูคว้านจะมตี วั หน่ึงตัวใดใหญ่กว่าและเลก็ กวา่ กนั น้นั หมายความว่ามีความแตกต่างท่ีเกิดขึน้ ระหว่างรแู ละเพลา 2.2 งานสวมอัด (Interference Fit) ช้ินงานทท่ี ำการประกอบกันแล้วจะมชี อ่ งวา่ งเหลอื นอ้ ยมาก ระหวา่ งเพลาและรคู ว้านจนต้องใช้แรงมาชว่ ยในการสวม 2.3 งานสวมพอดี (Transition Fit ) คือ งานที่นำรูคว้านขนาดใหญ่สุดมาสวมกับเพลาเล็กสุด แลว้ เกิดงานสวมคลอน และนำรคู ว้านเลก็ สุดมาสวมกับเพลาใหญ่สดุ ทำใหเ้ กดิ งานสวมอัด 2.4 ระบบของงานสวม งานสวมที่มใี ช้กันอยูท่ ั่วๆไปไม่วา่ จะเป็นทางช่างหรอื งานใดๆก็ตามจะมอี ยู่ 2 ลักษณะด้วยกันคอื ระบบรูควา้ นคงท่ี และ ระบบเพลาคงท่ี
ระบบรูควา้ นคงที่ หมายถึง ขนาดทกี่ ำหนดให้รูมีความโตคงทไ่ี ม่เปลีย่ นแปลง ขนึ้ อยูว่ ่าตอ้ งการ งานสวมชนิดใด จะแบง่ ออกเปน็ 3 ลักษณะ คือ - ถ้าตอ้ งการสวมคลอน ใหเ้ ลือกใชเ้ พลาทม่ี ตี ำแหนง่ พิกดั ระหวา่ งตำแหน่ง a ถงึ h - ถา้ ต้องการสวมพอดี ใหเ้ ลือกใชเ้ พลาท่ีมตี ำแหนง่ พิกัดระหว่างตำแหน่ง j ถงึ n - ถ้าตอ้ งการสวมอัด ใหเ้ ลอื กใชเ้ พลาทีม่ ีตำแหน่งพกิ ดั ระหว่างตำแหนง่ p ถงึ z รูปที่ 4.6 แสดงการเลอื กใช้งานสวมระบบรูคว้านคงที่ ข้อดีของระบบรคู วา้ นคงที่ ในการควา้ นรทู ำไดย้ ากกวา่ การกลึงเพลา ฉะน้นั การเลือกใช้รูคว้านคงที่ ใช้อกั ษรตวั H แสดงวา่ รู คว้านมพี ิกดั คงท่ี แต่ถ้าต้องการสวมอดั สวมคลอน หรอื สวมพอดีให้เปลยี่ นขนาดของเพลา ขอ้ เสียของระบบรคู ว้านคงท่ี ทำใหเ้ พลาเปลยี่ นขนาดไปจงึ ไม่เหมาะสมสำหรบั งานทตี่ อ้ งการเปลีย่ นชน้ิ ส่วนจากเพลาหน่งึ มาใชอ้ ีก เพลาหนงึ่ ถา้ เพลาโตไมเ่ ท่ากันกใ็ ช้เฟืองตัวเดียวกันไมไ่ ด้ เช่น เพลาส่งกำลังของเครื่องกลงึ ไมเ่ หมาะท่ีจะใช้ ระบบรคู วา้ นคงท่ี ระบบเพลาคงที่ หมายถงึ ขนาดที่กำหนดใหเ้ พลามีความโตคงทีไ่ มเ่ ปลยี่ นแปลง ขึ้นอยวู่ ่าต้องการ งานสวมชนดิ ใด จะแบ่งออกเปน็ 3 ลักษณะ คือ - ถ้าตอ้ งการสวมคลอน ใหเ้ ลอื กรูควา้ นที่มีตำแหน่งพกิ ัดระหวา่ งตำแหนง่ A ถึง H - ถา้ ต้องการสวมพอดี ให้เลอื กรูคว้านทม่ี ีตำแหน่งพิกัดระหว่างตำแหน่ง J ถงึ N - ถ้าตอ้ งการสวมอัด ใหเ้ ลอื กรูคว้านทม่ี ีตำแหนง่ พกิ ดั ระหว่างตำแหนง่ P ถงึ Z รปู ท่ี 4.7 แสดงการเลอื กใช้งานสวมระบบเพลาคงที่
รปู ที่ 4.8 แสดงงานท่ีสวมประกอบ ข้อดขี องระบบเพลาคงที่ ทำให้เพลามีขนาดพิกัดอยู่ขนาดเดียว ใช้อักษรตัว h จึงเหมาะสำหรับ งานที่ต้องการเปล่ียนชนิ้ ส่วนจากเพลาหนึง่ มาใช้อีกเพลาหนง่ึ เช่นเพลาสง่ กำลงั ของเคร่ืองกลงึ สามารถเปลี่ยน เฟืองจากเพลาหน่ึงมายังอกี เพลาหน่ึงได้ ขอ้ เสยี ของระบบเพลาคงท่ี ในการควา้ นรทู ำได้ยากกวา่ การกลงึ เพลา ฉะน้นั การเลือกใชเ้ พลาคงท่ีทำ ใหร้ คู ว้านท่ีเปล่ียนไปตามความต้องการของเพลาทำได้ยากกว่าการกลึงเพลา และใชเ้ ครอ่ื งมอื วัดรูคว้านหลาย ขนาดถ้าต้องการสวมอัด สวมคลอน หรือสวมพอดี และดอกรีมเมอร์ก็ตอ้ งใช้หลายขนาดด้วยทำให้สิ้นเปลือง มากข้ึน 2.5 การคำนวณหาค่าพกิ ดั งานสวม คา่ และพกิ ดั งานสวม หาไดจ้ ากค่าต่อไปน้ี 1. ขนาดรคู วา้ นโตสุด (Dg) 2. ขนาดรคู ว้านเล็กสดุ (Dk) 3. ขนาดเพลาโตสดุ (dg) 4. ขนาดเพลาเลก็ สุด (dk) ถา้ เปน็ งานสวมคลอนหาคา่ ตา่ งๆ ดังตอ่ ไปน้ี - ระยะคลอนมากสุด (Sg) = Dg - dk - ระยะคลอนนอ้ ยสุด (Sk) = Dk - dg - พิกดั งานสวมคลอน (Tp) = Sg - Sk
ถา้ เป็นงานสวมอัด หาค่าตา่ งๆ ดังตอ่ ไปน้ี - ระยะอดั มากสดุ (Ug) = dg - Dk dk - Dg - ระยะอดั นอ้ ยสดุ (Uk) = Ug - Uk - พิกดั งานสวมอัด (Tp) = ถ้าเป็นงานสวมพอดี หาคา่ ต่างๆ ดงั ต่อไปนี้ - ระยะคลอนมากสดุ (Sg) = Dg - dk - ระยะอัดมากสุด (Ug) = dg - Dk - พกิ ดั งานสวมพอดี (Tp)= Sg - Ug ตัวอย่างท่ี 4.4 จงคำนวณหาค่าต่างๆ ของพิกัดงานสวม 20 Gh67 ( เป็นงานสวมระบบเพลาคงท่ี เพราะเพลาใช้ตัวอักษร h) รูปท่ี 4.9 แสดงการสวมประกอบของเพลาและรูคว้าน จากตารางที่ 4.4 จะไดค้ ่าความเผื่อของเพลา Ø20h6 = 20 +-00..001030 ขนาดของเพลาโตสุด (dg)= ขนาดกำหนด + ค่าความเผ่ือสงู สดุ = 20 + 0.000 = 20 มม. ขนาดของเพลาเลก็ สุด (dk) = ขนาดกำหนด + คา่ ความเผ่อื ตำ่ สุด = 20 + (0.013) = 19.987 มม. จากตารางที่ 4.4 จะไดค้ า่ ความเผ่ือของรคู วา้ น Ø20G7 = 20 ++00..002087 ขนาดรูคว้านใหญส่ ุด (Dg)= ขนาดกำหนด + ค่าความเผือ่ สงู สุด = 20 + 0.028 = 20.028 มม. ขนาดรูควา้ นเล็กสุด (Dk) = ขนาดกำหนด + คา่ ความเผื่อต่ำสุด = 20 + 0.007
ระยะคลอนมากสดุ (Sg) = 20.007 มม. ระยะคลอนน้อยสดุ (Sk) = Dg - dk พิกดั งานสวมคลอน (Tp) = 20.028 - 19.987 = 0.041 มม. = Dk - dg = 20.007 - 20 = 0.007 มม. = ระยะคลอนมากสุด - ระยะคลอนน้อยสดุ = 0.041 - 0.007 = 0.034 มม. ในการคว้านรูสำหรับงานสวมนั้น การคว้านด้วยมีดกลึงอย่างเดียวผิวยังไม่เรียบพอจึงจำเป็นต้อง คว้านให้ละเอียดด้วยดอกรีมเมอร์ จึงจะมีผิวเรียบที่พอใช้ในงานสวมได้ ในการรีมเมอร์จะหมุนในทิศทางท่ี เดนิ หน้าตัดเศษโลหะอย่างเดยี ว จะไม่หมุนกลับทางเหมือนการตา๊ ปเกลยี ว เพราะจะทำให้เศษโลหะขูดผิวงาน ทำใหผ้ ิวไมเ่ รยี บ รูปที่ 4.10 ส่วนตา่ ง ๆ ของรีมเมอร์
ชนดิ ของดอกรีมเมอรแ์ บง่ ออกเป็น 2 ชนดิ คือ 1. Machine Reamers รูปที่ 4.11 Machine Reamer 2. Hand Reamers รปู ท่ี 4.12 Hand Reamer ตารางที่ 4.2 พกิ ัดความเผื่องานรีมเมอร์ ความยาวเสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง พกิ ัดความเผ่อื มากกว่า ถึง สงู สุด ตำ่ สดุ 1 3 0.008 0.002 3 6 0.012 0.004 6 10 0.015 0.006 10 18 0.018 0.007 18 30 0.021 0.008 30 50 0.025 0.009 50 80 0.030 0.011 80 120 0.035 0.013 ตารางที่ 4.3 แนะนำงานสวม รูคว้านคงท่ี H8 – d9 เพลาหมนุ อยูใ่ นรูควา้ น โดยมีชอ่ งวา่ งมาก เพลาคงที่ D10 – h9 เครอื่ งมือก่อสรา้ ง เครือ่ งจกั รกลการเกษตร เพลาหมุนอยู่ในรูควา้ น โดยมีช่องว่างพอประมาณ รคู ว้านคงที่ H8 – e8 แบริ่งปลอกสวมกบั แกนเพลา เพลาคงที่ E9 – h9 เพลาหมุนอยูใ่ นรูควา้ น โดยมีชอ่ งว่างนอ้ ย รคู วา้ นคงท่ี H7 – f7 เพลาหมนุ อยใู่ นรูคว้าน แทบไม่มีชอ่ งว่างเลย เพลาคงที่ F7 – h6 เพลาหินเจยี ระไน , เฟอื งเปลีย่ นความเรว็ ช้ินสว่ นทีส่ วมกันอยู่เลื่อนไดด้ ว้ ยมอื พอดี รูคว้านคงที่ H7 – g6 เพลาคงท่ี G7 – h6 รคู ว้านคงท่ี H7 – h6
เพลาคงที่ H7 – h6 เพลายันศนู ยท์ า้ ยแท่น รูควา้ นคงท่ี H7 – j6 ชิ้นสว่ นท่ีสวมกันอยู่เลือ่ นไดเ้ มื่อออกแรงผลกั หรือแรงกระแทก เพลาคงที่ J7 – h6 พลเู ล่ยส์ ายพาน เฟอื ง ดุม และเพลาเมอื่ ประกอบลม่ิ สามารถ ถอดประกอบได้ รคู ว้านคงที่ H7 – k6 ชนิ้ งานสวมตดิ กันแน่น แต่ยงั สามารถถอดออกได้ เพลาคงท่ี K7 – h6 รูควา้ นคงที่ H7 – m6 ชนิ้ งานท่ีสวมแนน่ อยู่ดว้ ยกนั จะถอดออกตอ้ งใชแ้ รงถอดมากๆแบ เพลาคงท่ี M7 – h6 รงิ่ ปลอก รคู ว้านคงที่ เพลาคงที่ H7 – n6 ชิ้นสว่ นท่ีติดกนั แนน่ จะถอดออกตอ้ งใชแ้ รงมาก รคู วา้ นคงท่ี N7 – h6 ปลอกนำเจาะ เพลาคงที่ H7 – s6 ชิ้นงานสวมตดิ กนั แนน่ S7 – h6 การตีปลอก
ตารางท่ี 4.4 ระบบงานสวม ISO ระบบงานสวม ISO DIN 7154 ระบบรูคว้านคงท่ี ค่าพกิ ดั เป็น µm = 0.001 มม. ช่วงพกิ ัด รู เพลา รู เพลา มากกว่า...ถึง ควา้ น p5 n5 k6 j6 h5 ควา้ น s6 r6 n6 m6 k6 j6 h6 g6 f7 H6 H7 1.........3 +6 +10 +8 +6 +4 0 +10 +20 +16 +10 +8 +6 +4 0 -2 -6 0 +6 +4 0 -2 -4 0 +14 +10 +4 +2 0 -2 -6 -8 -16 +8 +17 +13 +9 +6 0 +12 +27 +23 +16 +12 +7 +7 0 -4 -10 3..........6 0 +12 +8 +1 -2 -5 0 +19 +15 +8 +4 -1 -1 -8 - -22 12 +9 +21 +16 +10 +7 0 +15 +32 +28 +19 +15 +10 +7 0 -5 -13 6...........10 0 +15 +10 +1 -2 -6 0 +23 +19 +10 +6 +1 -2 -9 - -28 14 10...........14 +11 +26 +20 +12 +8 0 +18 +39 +34 +23 +18 +12 +8 0 -6 -16 14...........18 0 +18 +12 +1 -3 -8 0 +28 +23 +12 +7 +1 -3 -11 - -34 17 18...........24 +13 +31 +24 +15 +9 0 +21 +48 +41 +28 +21 +15 +9 0 -7 -20 24............30 0 +22 +15 +2 -4 -9 0 +35 +28 +15 +8 +2 -4 -13 - -41 20 30............40 +16 +37 +28 +18 +11 0 +25 +59 +50 +33 +25 +18 +11 0 -9 -25 40............50 0 +26 +17 +2 -5 -11 0 +43 +34 +17 +9 +2 -5 -16 - -50 25 +72 +60 50............65 +19 +45 +33 +21 +12 0 +30 +53 +41 +39 +30 +21 +12 0 - -30 10 0 +32 +20 +2 -7 -13 0 +78 +62 +20 +11 +2 -7 -19 - -60 65...........80 29 +59 +43 +93 +73 80............100 +22 +52 +38 +25 +13 0 +35 +71 +51 +45 +35 +25 +13 0 - -36 12 - 100............120 0 +37 +23 +3 -9 -15 0 +101 +76 +23 +13 +3 -9 -22 34 -71 +79 +54 120............140 +117 +88 +92 +63 +25 +61 +45 +28 +14 0 +40 +125 +90 +52 +40 +28 +14 0 - -43 140.............160 0 +43 +27 +3 -11 -18 0 14 +100 +65 +27 +15 +3 -11 -25 - -83 39 160............180 +133 +93 +108 +68 180...........200 +151 +106 +122 +77 +29 +70 +51 +33 +16 0 +46 +159 +109 +60 +46 +33 +16 0 - -50 200.............225 0 +50 +31 +4 -13 -20 0 15 +130 +80 +31 +17 +4 -13 -29 - -96 44 225...........250 +169 +113 +140 +83 +226 +144 315...........355 +36 +87 +62 +40 +18 0 +57 +190 +108 +73 +57 +40 +18 0 - -62 18 0 +62 +37 +4 -18 -25 0 +244 +150 +37 +21 +4 -18 -36 - - 355............400 54 119 +208 +114
ตารางที่ 4.4 ระบบงานสวม ISO (ตอ่ ) ระบบงานสวม ISO DIN 7154 ระบบรคู วา้ นคงที่ ค่าพกิ ดั เปน็ µm = 0.001 มม. ชว่ งพกิ ัด รคู ว้าน เพลา รคู วา้ น เพลา มากกว่า...ถงึ H8 x5 u8 h9 e8 d9 H11 h9 h11 d9 c11 a11 -270 1….3 +14 +34 - 0 -14 -20 +60 0 0 -20 -60 -330 0 -270 +20 - -25 -28 -45 0 -25 -60 -45 -120 -345 -280 3….6 +18 +46 - 0 -20 -30 +75 0 0 -30 -70 -370 0 +28 - -30 -38 -60 0 -30 -75 -60 -145 -290 -400 6….10 +22 +56 - 0 -25 -40 +90 0 0 -40 -80 0 -300 +34 - -36 -47 -76 0 -36 -90 -76 -170 -430 10….14 +67 - -310 14….18 -470 +27 +40 - 0 -32 -50 +110 0 0 -50 -95 -320 0 -470 +72 - -43 -59 -93 0 -43 -110 -93 -205 -340 +45 - -530 -360 18….24 +87 - -550 24….30 -380 +33 +54 - 0 -40 -65 +130 0 0 -65 -110 -600 0 +97 +81 -52 -73 -117 0 -52 -130 -117 -240 -410 -630 +64 +48 -460 -710 30….40 +119 +99 -120 -520 40….50 -770 +39 +80 +60 0 -50 -80 +160 0 0 -80 -280 -580 0 -830 +136 +109 -62 -89 -142 0 -62 -160 -142 -130 -660 -950 +97 +70 -290 -740 -1030 50….65 +168 +133 -140 -820 65….80 -1110 +46 +122 +87 0 -60 -100 +190 0 0 -100 -330 -920 0 +192 +148 -74 -106 -174 0 -74 -190 -174 -150 -1240 +146 +102 -340 -1050 -1370 80….100 +232 +178 -170 -1500 100….120 -1700 +54 +178 +124 0 -72 -120 +220 0 0 -120 -390 -1650 0 -2050 +264 +198 -87 -126 -207 0 -87 -220 -207 -180 +210 +144 -400 120….140 +311 +233 -200 140….160 160….180 +248 +170 -450 +63 +343 +253 0 -85 -145 +250 0 0 -145 -210 0 +280 +190 -100 -148 -245 0 -100 -250 -245 -460 +373 +273 -230 +310 +210 -480 180….200 +422 +308 -240 200….225 225….250 +350 +236 -530 +72 +457 +330 0 -100 -170 +290 0 0 -170 -260 0 +385 +258 -115 -172 -285 0 -115 -290 -285 -550 +497 +356 -280 +425 +284 -570 250….280 +556 +396 -300 280….315 400....450 +81 +475 +315 0 -110 -190 +320 0 0 -190 -620 450....500 0 +606 +431 -130 -191 -320 0 -130 -320 -320 -330 +97 0 +525 +350 -650 - +587 -440 - +490 0 -135 -230 +400 0 0 -230 -840 - +638 -155 -232 -385 0 -155 -400 -385 -480 - +540 -880
ตารางท่ี 4.4 ระบบงานสวม ISO (ต่อ) ระบบงานสวม ISO DIN 7155 ชว่ งพกิ ดั ระบบเพลาคงที่ รคู วา้ น เพลา คา่ พิกดั เปน็ µm = 0.001 มม. G7 F7 มากกวา่ ...ถงึ เพลา N6 M6 J6 H6 h6 S7 R7 N7 รคู ว้าน +12 +16 h5 P6 +2 +6 1….3 -4 -2 +2 +6 0 -14 -10 -4 M7 K7 J7 H7 +16 +22 3….6 0 -6 -10 -8 -4 0 -6 -24 -20 -14 -2 0 +4 +10 +4 +10 6….10 -4 -12 -12 -10 -6 0 +20 +28 10….18 0 -9 -50 -1 +5 +8 0 -15 -11 -4 0 +3 +6 +12 +5 +13 18….30 -5 -17 -13 -9 -3 0 -8 -27 -23 -16 -12 -9 -6 0 +24 +34 30….40 0 -12 0 +5 +8 +15 +6 +16 40….50 -6 -21 -7 -3 +5 +9 0 -17 -13 -4 -15 -10 -7 0 +28 +41 50….65 0 -15 -16 -12 -4 0 -9 -32 -28 -19 0 +6 +10 +18 +7 +20 65….80 -8 -26 -18 -12 -8 0 +34 +50 80….100 0 -18 -9 -4 +6 +11 0 -24 -16 -5 0 +6 +12 +21 +9 +25 100….120 -9 -31 -20 -15 -5 0 -11 -39 -34 -23 -21 -15 -9 0 +60 0 -21 0 +7 +14 +25 +30 120….140 -11 -37 -11 -4 +8 +13 0 -27 -20 -7 -25 -18 -11 0 0 -26 -24 -17 -5 0 -13 -48 -41 -28 +71 140….160 -13 -45 0 +9 +18 +30 +40 +36 -12 -4 +10 +16 0 -34 -25 -8 -30 -21 -12 0 +10 160…..180 0 -30 -28 -20 -6 0 -16 -59 -50 -33 +83 -15 -52 0 +10 +22 +35 +47 +43 180….200 -42 -30 -35 -25 -13 0 +12 0 -36 -14 -5 +13 +19 0 -72 -60 -9 +96 200…..225 -18 -61 0 +12 +26 +40 +54 +50 -33 -24 -6 0 -19 -48 -32 -39 -40 -28 -14 0 +14 225….250 0 -41 -78 -62 +108 -20 -70 0 +13 +30 +46 +61 +56 250….280 -58 -38 -46 -33 -16 0 +15 0 -47 -16 -6 +16 +22 0 -93 -73 -10 280….315 -23 -79 0 +16 +36 +52 +69 -38 -28 -6 0 -22 -66 -41 -45 -52 -36 -16 0 +17 - -76 101 -77 -48 - -88 117 -20 -8 +18 +25 0 -85 -50 -12 -45 -33 -7 0 -25 - -90 -52 125 -93 -53 - -93 133 - -60 105 -- 151 106 -22 -8 +22 +29 0 - -63 -14 113 -51 -37 -7 0 -29 - - -60 159 109 - -67 123 -- 169 133 - -74 138 -25 -9 +25 +32 0 - - -14 190 126 -57 -41 -7 0 -32 - -78 -66 150 -- 202 130
ตารางที่ 4.4 ระบบงานสวม ISO (ตอ่ ) ระบบงานสวม ISO DIN 7155 ระบบเพลาคงที่ คา่ พิกัดเปน็ µm = 0.001 มม. ชว่ งพกิ ดั เพลา รูคว้าน เพลา รคู ว้าน มากกว่า...ถึง h9 H8 H11 F8 E9 D10 C11 h11 H11 D11 C11 A11 1….3 0 +14 +60 +20 +39 +60 +20 0 +60 +80 +120 +330 -25 0 0 +6 +14 +20 +60 -60 0 +20 +60 +270 3….6 0 +18 +75 +28 +50 +78 +145 0 +75 +105 +145 +345 -30 0 0 +10 +20 +30 +70 -75 0 +30 +70 +270 6….10 0 +22 +90 +35 +61 +98 +170 0 +90 +130 +170 +370 -36 0 0 +13 +25 +40 +80 -90 0 +40 +80 +280 10….18 0 +27 +110 +43 +75 +120 +205 0 +110 +160 +205 +400 -43 0 0 +16 +32 +50 +95 -110 0 +50 +95 +290 18….30 0 +33 +130 +53 +92 +149 +240 0 +130 +195 +240 +430 -52 0 0 +20 +40 +65 +110 -130 0 +65 +110 +300 30….40 +280 +280 +470 0 +39 +160 +64 +112 +180 +120 0 +160 +240 +120 +310 40….50 -62 0 0 +25 +50 +80 +290 -160 0 +80 +290 +480 +130 +130 +320 50….65 +330 +330 +530 0 +46 +190 +76 +134 +220 +140 0 +190 +290 +140 +340 65….80 -74 0 0 +30 +60 +100 +340 -190 0 +100 +340 +550 +150 +150 +360 80….100 +390 +390 +600 0 +54 +220 +90 +159 +260 +170 0 +220 +340 +170 +380 100….120 -87 0 0 +36 +72 +120 +400 -220 0 +120 +400 +630 +180 +180 +410 120….140 +450 +450 +710 +200 +200 +460 140….160 0 +63 +250 +106 +185 +305 +460 0 +290 +395 +460 +770 +520 -100 0 0 +43 +85 +145 +210 -250 0 +145 +210 160….180 +480 +48 +830 +230 +230 +580 180….200 +530 +530 +950 +240 +240 +660 200….225 0 +72 +290 +122 +215 +355 +550 0 +290 +460 +550 +1030 -115 0 0 +50 +100 +170 +260 -290 0 +170 +260 +740 225….250 +570 +570 +1110 +280 +280 +820 250….280 +620 +620 +1240 0 +81 +320 +137 +240 +400 +300 0 +320 +510 +300 +920 280….315 -130 0 0 +56 +110 +190 +650 -320 0 +190 +650 +1370 +330 +330 +1050 315….355 +720 +720 +1560 0 +89 +360 +151 +265 +440 +360 0 +360 +570 +360 +1200 355….400 -140 0 0 +62 +125 +210 +760 -360 0 +210 +760 +1710 +400 +400 +1350 400….450 +840 +840 +1900 0 +97 +400 +165 +290 +480 +440 0 +400 +630 +440 +1500 450….500 -155 0 0 +68 +135 +230 +880 -400 0 +230 +880 +2050 +480 +480 +1650
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: