Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้พื้นฐานคอมพิวเตอร์

ความรู้พื้นฐานคอมพิวเตอร์

Published by beer_able, 2021-09-12 01:17:31

Description: ความรู้พื้นฐานคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 ความรพู ืน้ ฐานเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร

2 สารบัญ หนา บทท่ี 1 ความรพู นื้ ฐานเกีย่ วกบั คอมพิวเตอร....................................................................................................................... 1 1.1 คอมพวิ เตอร หมายถึง.................................................................................................................................................. 3 1.2 คุณสมบัตขิ องคอมพิวเตอร....................................................................................................................................3 1.2.1 ความเปน อัตโนมตั ิ (Self Acting)..................................................................................................................3 1.2.2 ความเรว็ (Speed)...........................................................................................................................................3 1.2.3 ความเชอื่ ถอื (Reliable)..................................................................................................................................3 1.2.4 ความถกู ตองแมนยาํ (Accurate).....................................................................................................................3 1.2.5 เก็บขอมูลจํานวนมาก ๆ ได (Store massive amounts of information)...........................................................3 1.2.6 ยา ยขอ มลู จากทีห่ นึง่ ไปยังอีกทหี น่ึงไดอยางรวดเรว็ (Move information) .....................................................3 1.2.7 ทํางานซํ้าๆได (Repeatability) .......................................................................................................................4 1.3 สว นประกอบของคอมพิวเตอร..............................................................................................................................4 1.3.1 อุปกรณน ําขอมูลเขา (Input Device)..............................................................................................................4 1.3.2 อปุ กรณป ระมวลผล (Processing Device)......................................................................................................5 1.3.3 หนว ยเกบ็ ขอมูลสาํ รอง (Secondary Storage Device)....................................................................................6 1.3.4 อุปกรณแ สดงผล (Output Device)................................................................................................................7 1.4 ประโยชนข องคอมพิวเตอร ....................................................................................................................................7 1.4.1 งานธรุ กิจ .......................................................................................................................................................8 1.4.2 งานวิทยาศาสตร การแพทย และงานสาธารณสุข..........................................................................................8 1.4.3 งานคมนาคมและสอ่ื สาร ...............................................................................................................................8 1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม ..................................................................................................................8 1.4.5 งานราชการ....................................................................................................................................................8 1.4.6 การศึกษา .......................................................................................................................................................8 1.5 ประเภทของคอมพิวเตอร ......................................................................................................................................8 1.5.1 ตามลกั ษณะการใชง าน..................................................................................................................................9 1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ..........................................................................................................................9 1.6 องคป ระกอบของคอมพวิ เตอร .............................................................................................................................10 1.6.1 ฮารดแวร (Hardware)..................................................................................................................................11 1.6.2 ซอฟตแวร (Software)..................................................................................................................................11 1.6.3 บุคลากร (People ware) ...............................................................................................................................12 1.6.4 ขอ มลู /สารสนเทศ (Data/Information) ........................................................................................................12

3 บทท่ี 1 ความรูพ ื้นฐานเกีย่ วกับคอมพิวเตอร 1.1 คอมพวิ เตอร หมายถึง คอมพวิ เตอร คือ อปุ กรณอ เิ ล็กทรอนิกสท ่ีทาํ งานตามชดุ คาํ สั่งอยางอัตโนมตั ิ โดยจะทําการคํานวณเปรียบเทยี บ ทางตรรกกับขอมูล และใหผ ลลพั ธอ อกมาตามตองการ โดยมนษุ ยไมต อ งเขาไปเกย่ี วของในการประมวลผล 1.2 คุณสมบตั ขิ องคอมพิวเตอร ปจจุบันน้ีคนสวนใหญนิยมนําคอมพิวเตอรมาใชงานตาง ๆ มากมาย ซ่ึงผูใชสวนใหญมักจะคิดวาคอมพิวเตอร เปนเคร่ืองมือท่ีสามารถทํางานไดสารพัด แตผูท่ีมีความรูทางคอมพิวเตอรจะทราบวา งานท่ีเหมาะกับการนํา คอมพิวเตอรมาใชอยางย่ิงคือการสราง สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศเหลาน้ันสามารถนํามาพิมพออกทางเคร่ืองพิมพ สง ผา นเครือขายคอมพิวเตอร หรือจัดเก็บไวใ ชใ นอนาคตกไ็ ด เนื่องจากคอมพวิ เตอรจ ะมีคณุ สมบตั ติ า ง ๆ คือ 1.2.1 ความเปน อัตโนมัติ (Self Acting) การทาํ งานของคอมพวิ เตอรจะทํางานแบบอตั โนมตั ิภายใตค ําสงั่ ทีไ่ ด ถกู กาํ หนดไว ทาํ งานดังกลา วจะเร่มิ ตง้ั แตก ารนาํ ขอมูลเขา สรู ะบบ การประมวลผลและแปลงผลลพั ธอ อกมาใหอ ยใู น รปู แบบท่มี นษุ ยเขาใจได 1.2.2 ความเรว็ (Speed) คอมพิวเตอรในปจจุบันนสี้ ามารถทาํ งานไดถ ึงรอยลา นคาํ สั่งในหนงึ่ วินาที 1.2.3 ความเช่ือถือ (Reliable) คอมพิวเตอรทุกวันนี้จะทํางานไดท้ังกลางวันและกลางคืนอยางไมมีขอผิดพลาด และไมรูจ ักเหนด็ เหน่อื ย 1.2.4 ความถูกตองแมนยํา (Accurate) วงจรคอมพิวเตอรน้ันจะใหผลของการคํานวณที่ถูกตองเสมอหากผล ของการคาํ นวณผิดจากท่คี วรจะเปน มกั เกิดจากความผดิ พลาดของโปรแกรมหรือขอ มลู ที่เขา สโู ปรแกรม 1.2.5 เก็บขอมูลจํานวนมาก ๆ ได (Store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอรในปจจุบัน จะมีที่เก็บขอมูลสํารองท่ีมีความสูงมากกวาหน่ึงพันลานตัวอักษร และสําหรับระบบคอมพิวเตอรขนาดใหญจะสามารถ เกบ็ ขอ มลู ไดม ากกวาหนง่ึ ลา น ๆ ตวั อกั ษร 1.2.6 ยา ยขอมลู จากที่หนง่ึ ไปยงั อกี ทหี นงึ่ ไดอยางรวดเร็ว (Move information) โดยใชก ารตดิ ตอ ส่ือสารผา น ระบบเครือขา ยคอมพิวเตอรซง่ึ สามารถสง พจนานกุ รมหนึง่ เลม ในรปู ของขอมูลอิเล็กทรอนิกส ไปยังเคร่ืองคอมพวิ เตอรท่ี อยูไ กลคนซีกโลกไดในเวลาเพียงไมถ งึ หน่งึ วินาที ทาํ ใหมกี ารเรยี กเครือขายคอมพวิ เตอรท เี่ ชอื่ มกนั ทั่วโลกในปจจบุ นั วา ทางดว นสารสนเทศ (Information Superhighway)

4 1.2.7 ทํางานซํ้าๆได (Repeatability) ชวยลดปญหาเรื่องความออนลาจากการทํางานของแรงงานคน นอกจากน้ียังลดความผิดพลาดตางๆไดดีกวาดวย ขอมูลที่ประมวลผลแมจะยุงยากหรือซับซอนเพียงใดก็ตาม จะ สามารถคาํ นวณและหาผลลพั ธไดอยางรวดเร็ว 1.3 สว นประกอบของคอมพวิ เตอร จําแนกหนาท่ีของฮารดแวรตางๆ สามารถแบงเปนสวนสําคัญ 4 ประเภท คือ อุปกรณนําขอมูลเขา (Input Device) อุปกรณประมวลผล (Processing Device) หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage Device) อุปกรณ แสดงผล (Output Device) รูปท่ี 1 แสดงวงจรการทํางานของคอมพิวเตอร 1.3.1 อปุ กรณน าํ ขอ มลู เขา (Input Device) รูปท่ี 2 อุปกรณนาํ เขาแบบตา งๆ ทพี่ บเห็นในปจ จบุ นั

5 เปนอปุ กรณท เ่ี กยี่ วขอ งกบั การนาํ เขา ขอ มลู หรือชุดคาํ สงั่ เขา มายังระบบเพื่อใหคอมพิวเตอรประมวลผลตอไปได ซ่ึงอาจจะเปน ตัวเลข ตัวอักษร ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว เสยี ง เปนตน 1.3.2 อปุ กรณป ระมวลผล (Processing Device) อุปกรณประมวลผลหลกั ๆ มีดงั นี้ 1.3.2.1 ซพี ียู (CPU-Central Processing Unit) หนว ยประมวลผลกลางหรือซีพยี ู เรยี กอกี ชอื่ หน่งึ วา โปรเซสเซอร (Processor) หรอื ชปิ (Chip) นบั เปนอุปกรณทม่ี ีความสาํ คัญมากท่สี ดุ ของฮารด แวร เพราะมหี นา ทใ่ี นการ ประมวลผลขอมูลท่ีผูใชปอนเขามาทางอุปกรณนําเขาขอมูลตามชุดคําส่ังหรือโปรแกรมท่ีผูใชตองการใชงาน หนวย ประมวลผลกลาง 1.3.2.2 หนวยความจําหลัก (Main Memory) หรือเรียกวา หนวยความจําภายใน (Internal Memory) สามารถแบง ออกเปน 2 ประเภท ไดแ ก - รอม (Read Only Memory - ROM) เปนหนวยความจําท่ีมีโปรแกรมหรือขอมูลอยูแลว สามารถเรยี กออกมาใชง านไดแตจ ะไมสามารถเขียนเพ่ิมเติมได และแมว าจะไมม กี ระแสไฟฟาไปเลี้ยงใหแกระบบขอมูล กไ็ มสูญหายไป - แรม (Random Access Memory) เปนหนวยความจําท่ีสามารถเก็บขอมูลไดเม่ือมี กระแสไฟฟาหลอเลยี้ งเทา น้ัน เม่ือใดไมม ีกระแสไฟฟามาเล้ยี งขอ มูลทอ่ี ยูในหนว ยความจาํ ชนิดนจ้ี ะหายไปทันที 1.3.2.3 เมนบอรด (Main board) เปนแผงวงจรตอเชื่อมอุปกรณที่เกี่ยวของกับการทํางานของ คอมพิวเตอรทั้งหมด ถือไดวาเปนหัวใจหลักของ พีซีทุกเครื่อง เพราะจะบอกความสามารถของเคร่ืองวาจะใชซีพียูอะไร ไดบาง มีประสิทธภิ าพเพยี งใด สามารถรองรับกับอปุ กรณใ หมไดห รือไม รูปท่ี 3 เมนบอรด หรือแผงวงจรหลกั

6 1.3.2.4 ซิปเซ็ต (Chip Set) ซิปเซ็ตเปนชิปจํานวนหนึ่งหรือหลายตัวท่ีบรรจุวงจรสําคัญๆ ที่ชวยการ ทํางานของซีพียู และติดตั้งตายตัวบนเมนบอรดถอดเปล่ียนไมได ทําหนาท่ีเปนตัวกลางประสานงานและควบคุมการ ทํางานของหนวยความจํารวมถึงอุปกรณตอพวงตางทั้งแบบภายในหรือภายนอกทุกชนิดตามคําส่ังของซีพียู เชน SiS, Intel, VIA, AMD เปนตน 1.3.3 หนว ยเกบ็ ขอ มลู สาํ รอง (Secondary Storage Device) เนื่องจากหนวยความจําหลักมีพื้นที่ไมเพียงพอในการเก็บขอมูลจํานวนมากๆ อีกท้ังขอมูลจะหายไปเม่ือปด เครื่อง ดังนน้ั จําเปน ตองหาอุปกรณเ ก็บขอมูลท่มี ีขนาดใหญข้นึ เชน 1.3.3.1 ฮารดดิสก (Hard Disk) เปนฮารดแวรที่ทําหนาที่เก็บขอมูลในเครื่องคอมพิวเตอร ท้ัง โปรแกรมใชงานตางๆ ไฟลเอกสาร รวมท้ังเปนท่ีเก็บระบบปฏิบัติการที่เปนโปรแกรมควบคุมการทํางานของเคร่ือง คอมพวิ เตอรดวย 1.3.3.2 ฟล็อบปดิสก (Floppy Disk) เปนอุปกรณบันทึกขอมูลที่มีขนาด 3.5 น้ิว มีลักษณะเปนแผน กลมบางทําจากไมลาร (Mylar) สามารถบรรจุขอมลู ไดเพียง 1.44 เมกะไบต เทาน้ัน ี 1.3.3.3 ซดี ี (Compact Disk - CD) เปนอปุ กรณบ ันทกึ ขอมลู แบบดิจทิ ลั เปนสื่อทีม่ ีขนาดความจุสงู เหมาะสาํ หรับบันทกึ ขอมูลแบบมัลติมีเดยี ซดี รี อมทํามาจากแผน พลาสตกิ กลมบางที่เคลือบดวยสารโพลีคารบ อเนต (Poly Carbonate) ทําใหผิวหนา เปน มันสะทอ นแสง โดยมกี ารบนั ทกึ ขอมูลเปนสายเดียว (Single Track) มีขนาด เสน ผาศนู ยก ลางประมาณ 120 มลิ ลิเมตร ปจ จบุ ันมีซดี อี ยูหลายประเภท ไดแ ก ซดี ีเพลง (Audio CD) วซี ีดี (Video CD - VCD) ซีด-ี อาร (CD Recordable - CD-R) ซดี ี-อารดบั บลวิ (CD-Rewritable - CD-RW) และ ดีวดี ี (Digital Video Disk - DVD) ส่ือเกบ็ ขอ มูลอืน่ ๆ 1) รีมฟู เอเบลิ ไดรฟ (Removable Drive) เปน อปุ กรณเกบ็ ขอมูลทไ่ี มตองมตี ัวขับเคล่อื น (Drive) สามารถ พกพาไปไหนไดโดยตอเขา กบั เคร่ืองคอมพวิ เตอรดว ย Port USB ปจจบุ นั ความจขุ องรมี ฟู เอเบลิ ไดรฟ มตี ง้ั แต 8 , 16 , 32 , 64 , 128 จนถงึ 1024 เมกะไบต ทง้ั นย้ี ังมไี ดรฟ ลักษณะเดียวกัน เรียกในช่อื อน่ื ๆ ไดแ ก Pen Drive , Thump Drive , Flash Drive 2) ซบิ ไดรฟ (Zip Drive) เปนสอ่ื บนั ทึกขอ มูลท่จี ะมาแทนแผน ฟลอ็ ปปด ิสก มีขนาดความจุ 100 เมกะไบต ซงึ่ การใชง านซปิ ไดรฟ จะตอ งใชง านกับซิปดสิ ก (Zip Disk) ความสามารถในการเกบ็ ขอมลู ของซปิ ดสิ กจะเกบ็ ขอ มลู ได มากกวา ฟลอ็ ปปด สิ ก 3) Magnetic optical Disk Drive เปนสื่อเก็บขอมูลขนาด 3.5 น้ิว ซึ่งมีขนาดพอๆ กับ ฟล็อบปดิสก แตขนาดความจุมากกวา เพราะวา MO Disk drive 1 แผนสามารถบันทึกขอมูลไดต้ังแต 128 เมกะไบต จนถึงระดับ 5.2 กกิ ะไบต

7 4) เทปแบค็ อัพ (Tape Backup) เปน อปุ กรณสาํ หรับการสํารองขอ มลู ซง่ึ เหมาะกบั การสาํ รองขอมูลขนาด ใหญมากๆ ขนาดระดบั 10-100 กิกะไบต 5) การดเมมโมรี (Memory Card) เปนอุปกรณบันทึกขอมูลที่มีขนาดเล็ก พัฒนาขึ้น เพื่อนําไปใชกับอุปกรณ เทคโนโลยแี บบตางๆ เชน กลอ งดิจิทัล คอมพิวเตอรมอื ถอื (Personal Data Assistant - PDA) โทรศัพทมอื ถือ 1.3.4 อุปกรณแ สดงผล (Output Device) คืออุปกรณสําหรับแสดงผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลของคอมพิวเตอร และเปนอุปกรณสงออก (Output device) ทาํ หนา ทแี่ สดงผลลพั ธเมือ่ ซีพยี ูทาํ การประมวลผล รปู ท่ี 4 แสดงอุปกรณแสดงผลขอมูลแบบตา งๆ 1.3.4.1 จอภาพ (Monitor) เปน อุปกรณแ สดงผลลัพธท ่ีเปนภาพ ปจจบุ ันแบง ออกเปน 2 ชนิด คือ จอภาพ แบบ CRT (Cathode Ray Tube) และ จอภาพแบบ LCD (Liquid Crystal Display) 1.3.4.2 เคร่อื งพมิ พ (Printer) เปน อปุ กรณท่ีทาํ หนา ท่แี สดงผลลพั ธใ นรปู ของอกั ขระหรือรูปภาพท่ีจะไป ปรากฏอยูบนกระดาษ แบงออกเปน 4 ประเภท ไดแ ก เครอื่ งพิมพดอตเมตรกิ ซ (Dot Matrix Printer) เครอื่ งพมิ พแบบ พน หมกึ (Ink-Jet Printer) เครอ่ื งพิมพแบบเลเซอร (Laser Printer) และพล็อตสเตอร (Plotter) 1.3.4.3 ลําโพง (Speaker) เปนอุปกรณแสดงผลลัพธที่อยูในรูปของเสียง สามารถเชื่อมตอกับ คอมพิวเตอรผา นแผงวงจรเกีย่ วกับเสยี ง (Sound card) ซ่งึ มีหนาท่แี ปลงขอ มลู ดิจติ อลไปเปน เสียง 1.4 ประโยชนของคอมพวิ เตอร จากการท่ีคอมพิวเตอรมีลักษณะเดนหลายประการ ทําใหถูกนํามาใชประโยชนตอการดําเนินชีวิตประจําวันใน สังคมเปนอยางมาก ท่ีพบเห็นไดบอยที่สุดก็คือ การใชในการพิมพเอกสารตางๆ เชน พิมพจดหมาย รายงาน เอกสาร ตางๆ ซึ่งเรียกวางานประมวลผล (Word processing) นอกจากน้ียังมีการประยุกตใชคอมพิวเตอรในดานตางๆ อีก หลายดา น ดังตอไปนี้

8 1.4.1 งานธรุ กจิ เชน บรษิ ทั รา นคา หา งสรรพสนิ คา ตลอดจนโรงงานตา งๆ ใชคอมพวิ เตอรใ นการทาํ บัญชี งานประมวลคาํ และตดิ ตอ กบั หนว ยงานภายนอกผานระบบโทรคมนาคม นอกจากนงี้ านอุตสาหกรรม สว นใหญก ใ็ ช คอมพวิ เตอรม าชว ยในการควบคุมการผลติ และการประกอบชน้ิ สว นของอปุ กรณตา งๆ เชน โรงงานประกอบรถยนต ซ่ึงทาํ ใหก ารผลติ มีคณุ ภาพดขี ้นึ บรษิ ทั ยงั สามารถรบั หรอื งานธนาคาร ที่ใหบริการถอนเงนิ ผานตูฝ ากถอนเงนิ อตั โนมตั ิ (ATM) และใชค อมพวิ เตอรคดิ ดอกเบย้ี ใหก บั ผฝู ากเงิน และการโอนเงนิ ระหวา งบญั ชี เช่อื มโยงกนั เปน ระบบเครอื ขาย 1.4.2 งานวิทยาศาสตร การแพทย และงานสาธารณสุข สามารถนําคอมพิวเตอรมาใชในนํามาใชในสวน ของการคํานวณที่คอนขางซับซอน เชน งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการสงจรวดไปสูอวกาศ หรืองาน ทะเบียน การเงิน สถิติ และเปนอุปกรณสําหรับการตรวจรักษาโรคได ซ่ึงจะใหผลท่ีแมนยํากวาการตรวจดวยวิธีเคมี แบบเดมิ และใหการรกั ษาไดรวดเร็วขึ้น 1.4.3 งานคมนาคมและส่ือสาร ในสว นทเ่ี ก่ียวกบั การเดนิ ทาง จะใชคอมพวิ เตอรในการจองวนั เวลา ทน่ี งั่ ซง่ึ มี การเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได ทําใหสะดวกตอผูเดินทางท่ีไมตองเสียเวลารอ อีกท้ังยังใชในการ ควบคุมระบบการจราจร เชน ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการสื่อสารก็ใชควบคุมวงโคจรของ ดาวเทยี มเพือ่ ใหอ ยใู นวงโคจร ซ่ึงจะชว ยสงผลตอการสง สญั ญาณใหระบบการส่ือสารมคี วามชัดเจน 1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใชคอมพิวเตอรในการออกแบบ หรือ จําลองสภาวการณ ตางๆ เชน การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเม่ือเกิดแผนดินไหว โดยคอมพิวเตอรจะคํานวณและ แสดงภาพสถานการณใกลเคียงความจริง รวมท้ังการใชควบคุมและติดตามความกาวหนาของโครงการตางๆ เชน คนงาน เครอ่ื งมือ ผลการทาํ งาน 1.4.5 งานราชการ เปนหนว ยงานท่ีมกี ารใชค อมพิวเตอรมากทีส่ ดุ โดยมกี ารใชห ลายรปู แบบ ทงั้ นขี้ ้ึนอยกู ับ บทบาทและหนา ท่ีของหนว ยงานน้ันๆ เชน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มกี ารใชร ะบบประชุมทางไกลผา นคอมพิวเตอร , กระทรวงวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดจ ดั ระบบเครือขายอนิ เทอรเนต็ เพอื่ เช่อื มโยงไปยงั สถาบนั ตา งๆ, กรมสรรพากร ใชจ ดั ในการจดั เกบ็ ภาษี บนั ทกึ การเสยี ภาษี เปน ตน 1.4.6 การศึกษา ไดแก การใชค อมพิวเตอรท างดานการเรียนการสอน ซึ่งมีการนําคอมพิวเตอรมาชวยการสอน ในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานดานทะเบียน ซ่ึงทําใหสะดวกตอการคนหาขอมูลนักเรียน การเก็บขอมูลยืมและการ สง คนื หนงั สือหองสมดุ 1.5 ประเภทของคอมพิวเตอร เครือ่ งคอมพวิ เตอร แบง ออกเปนหลายประเภท ขน้ึ อยูกบั เกณฑที่ใชใ นการแบง

9 เกณฑทใ่ี ชจาํ แนก ประเภทคอมพวิ เตอร ตามลกั ษณะการใชงาน - แบบใชง านทว่ั ไป (General purpose computer) - แบบใชง านเฉพาะ (Special purpose computer) ตามขนาดและความสามารถ - ซเู ปอรคอมพวิ เตอร (Supercomputer) - เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframe computer) - มนิ คิ อมพวิ เตอร (Minicomputer) - ไมโครคอมพวิ เตอร (Microcomputer) - คอมพิวเตอรม ือถอื (Handheld computer) 1.5.1 ตามลกั ษณะการใชง าน 1.5.1.1 แบบใชง านทว่ั ไป (General Purpose Computer) หมายถึง เคร่ืองประมวลผลขอมูลที่มีความยืดหยุนในการทํางาน (Flexible) โดยไดรับการออกแบบใหสามารถ ประยุกตใชในงานประเภทตางๆ ไดโดยสะดวก โดยระบบจะทํางานตามคําส่ังในโปรแกรมท่ีเขียนขึ้นมา และเมื่อผูใช ตองการใหเคร่ืองคอมพิวเตอรทํางานอะไร ก็เพียงแตออกคําสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเขามาใชงาน โดยเราสามารถ เกบ็ โปรแกรมไวหลายโปรแกรมในเคร่อื งเดยี วกนั ได เชน ในขณะหน่งึ เราอาจใชเ ครอื่ งน้ใี นงานประมวลผลเกี่ยวกับระบบ บญั ชี และในขณะหน่ึงกส็ ามารถใชใ นการออกเช็คเงนิ เดอื นได เปนตน 1.5.1.2 แบบใชง านเฉพาะดาน (Special Purpose Computer) หมายถงึ เครื่องประมวลผลขอ มูลท่ถี กู ออกแบบตวั เครอ่ื งและโปรแกรมควบคุม ใหท ํางานอยางใดอยางหนงึ่ เปน การเฉพาะ (Inflexible) โดยทว่ั ไปมกั ใชในงานควบคมุ หรืองานอุตสาหกรรมท่เี นน การประมวลผลแบบรวดเร็ว เชน เครอื่ งคอมพิวเตอรค วบคมุ สญั ญาณไฟจราจร คอมพวิ เตอรควบคมุ ลฟิ ต หรือคอมพิวเตอรควบคมุ ระบบอตั โนมัติใน รถยนต เปนตน 1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ เปน การจําแนกประเภทของคอมพวิ เตอรทพ่ี บเหน็ ไดมากทีส่ ดุ ในปจจุบัน ซ่ึงสามารถแบง ออกไดดงั น้ี 1.5.2.1 ซุปเปอรคอมพวิ เตอร (Super Computer) หมายถึง เคร่ืองประมวลผลขอมูลท่ีมีความสามารถในการประมวลผลสูงทีส่ ดุ โดยท่ัวไปสรางขึ้นเปนการเฉพาะ เพื่องานดานวิทยาศาสตรท่ีตองการการประมวลผลซับซอน และตองการความเร็วสูง เชน งานวิจัยขีปนาวุธ งาน โครงการอวกาศสหรฐั (NASA) งานส่อื สารดาวเทียม หรอื งานพยากรณอ ากาศ เปนตน 1.5.2.2 เมนเฟรมคอมพวิ เตอร (Mainframe computer)

10 เมนเฟรมคอมพวิ เตอรเ ปน เคร่อื งคอมพิวเตอรข นาดใหญ ทํางานรว มกับอปุ กรณห ลายๆ อยางดว ยความเรว็ สูง ใชใ นงานธรุ กจิ ขนาดใหญ มหาวทิ ยาลยั ธนาคารและโรงพยาบาลเมนเฟรมคอมพวิ เตอร สามารถเก็บขอมูลทมี่ ีปรมิ าณ มาก ๆ เชน ในการสัง่ จองทนี่ ง่ั ของสายการบนิ ที่บริษทั ทวั รรบั จองในแตละวัน นอกจากน้ยี งั สามารถเช่อื มโยงใชงานกับ เคร่ืองเทอรมินลั (Terminal) หลาย ๆ เครอื่ ง ในระยะทางไกลกนั ได เชน ระบบเอทเี่ อม็ (ATM) การประมวลผลขอมลู ของ ระบบเมนเฟรมนม้ี ีผใู ชห ลาย ๆ คนในเวลาเดียวกนั (Multi-user) สามารถประมวลผลโดยแบง เวลาการใชซพี ยี ู (CPU) โดยผานเครื่องเทอรม นิ ลั การประมวลผลแบบแบง เวลานเ้ี รยี กวา Time sharing 1.5.2.3 มินคิ อมพิวเตอร (Mini Computer) ธุ ร กิ จ แ ล ะ ห น ว ย ง า น ที่ มี ข น า ด เ ล็ ก ไ ม จํ า เ ป น ต อ ง ใ ช ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ข น า ด เ ม น เ ฟ ร ม ซึ่ ง มี ร า ค า แ พ ง ผูผลติ คอมพิวเตอรจงึ พฒั นาคอมพิวเตอรใหม ีขนาดเล็กและมีราคาถกู ลง เรยี กวา เครือ่ งมนิ คิ อมพวิ เตอร โดยมีลักษณะ พิเศษในการทํางานรวมกับอุปกรณประกอบรอบขางที่มีความเร็วสูงได มีการใชแผนจานแมเหล็กความจุสูงชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาขอมูล สามารถอานเขียนขอมูลไดอยางรวดเร็ว หนวยงานและบริษัทท่ีใชคอมพิวเตอร ขนาดนี้ ไดแก กรม กอง มหาวทิ ยาลยั หางสรรพสนิ คา โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมตา งๆ 1.5.2.4 ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer) เปนเครื่องคอมพิวเตอรท่ีมีขนาดเล็กที่สุด ราคาถูกที่สุด ใชงานงาย และนิยมมากท่ีสุดราคาของเคร่ือง ไมโครคอมพิวเตอรจะอยูในชวงประมาณหม่ืนกวา ถึง แสนกวาบาท ในวงการธุรกิจใชไมโครคอมพิวเตอรกับงานทุก ๆ อยาง ไมโครคอมพิวเตอรมีขนาดเล็กพอที่จะตั้งบนโตะ (Desktop) หรือ ใสลงในกระเปาเอกสาร เชน คอมพิวเตอรวาง บนตัก (Lap top) หรือโนตบุก (Note book) ไมโครคอมพิวเตอรสามารถทํางานในลักษณะประมวลผลไดดวยตนเอง โดยไมตองเช่ือมโยงกับคอมพิวเตอรเ คร่ืองอื่นเรยี กวาระบบแสตนอโลน (Standalone system)มไี วส ําหรับใชงานสวนตัว จึงเรียกเครอื่ งไมโครคอมพวิ เตอรไ ดอ ีกชอ่ื หนึ่งวา คอมพิวเตอรสวนบคุ คลหรือเครื่องพีซี (PC:Personal Computer) และ สามารถนําเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอรมาเช่ือมตอกับเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอรเคร่ืองอ่ืน ๆ หรือเชื่อมตอกับเคร่ือง เมนเฟรม เพอ่ื ขยายประสทิ ธภิ าพเพ่มิ ข้นึ ทาํ ใหเครื่องไมโครคอมพิวเตอรเ ปน ท่ีนยิ มใชก นั แพรห ลายอยางรวดเรว็ 1.5.2.5 คอมพิวเตอรม อื ถือ (Handheld Computer) เปนคอมพิวเตอรทม่ี ีขนาดเล็กที่สุดเมือ่ เทียบกับคอมพิวเตอรประเภทอื่นๆ อีกท้ังสามารถพกพาไปยังที่ตางๆ ได งายกวา เหมาะกับการจัดการขอมูลประจําวัน การสรางปฏิทินนัดหมาย การดูหนังฟงเพลงรวมถึงการรับสงอีเมล บาง รุนอาจมีความสามารถเทียบเคียงไดกับไมโครคอมพิวเตอร เชน ปาลม พ็อกเก็ตพีซี เปนตน นอกจากนี้โทรศัพทมือถือ บางรุนก็มคี วามสามารถใกลเ คียงกับคอมพวิ เตอรม ือถอื ในกลมุ น้ีในแงของการรันโปรแกรมจัดการกับขอมูลท่ัวไปโดยใช ระบบปฏบิ ัติการ Symbian หรือไมก็ Linux 1.6 องคประกอบของคอมพวิ เตอร เครื่องคอมพิวเตอรท่ีเราเห็นๆ กันอยูนี้เปนเพียงองคประกอบสวนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอรเทานั้น แตถา ตอ งการใหเ ครอ่ื งคอมพิวเตอรแ ตล ะเครื่องสามารถทํางานไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพตามทีเ่ ราตองการนัน้ จาํ เปนตอ งอาศัย

11 องคประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทํางานรวมกัน ซ่ึงองคประกอบพ้ืนฐานของระบบคอมพิวเตอรประกอบไปดวย ฮารด แวร (Hardware) ซอฟตแ วร (Software) บุคลากร (People ware) ขอ มลู / สารสนเทศ (Data/Information) 1.6.1 ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง อุปกรณตางๆ ท่ีประกอบข้ึนเปนเคร่ืองคอมพิวเตอร มีลักษณะเปนโครงรางสามารถมองเห็นดวยตา และสัมผัสได (รูปธรรม) เชน จอภาพ คียบอรด เครื่องพิมพ เมาส เปนตน ซ่ึงสามารถแบงออกเปนสวนตางๆ ตาม ลักษณะการทํางาน ได 4 หนวย คือ หนวยรับขอมูล (Input Unit) หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หนวยแสดงผล (Output Unit) หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณแตละหนวยมีหนาที่ การทาํ งานแตกตางกนั 1.6.2 ซอฟตแ วร (Software) หมายถึง สวนที่มนุษยสัมผัสไมไดโดยตรง (นามธรรม) เปนโปรแกรมหรือชุดคําสั่งท่ีถูกเขียนขึ้นเพ่ือสั่งใหเครื่อง คอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรจึงเปนเหมือนตัวเชื่อมระหวางผูใชเคร่ืองคอมพิวเตอรและเครื่องคอมพิวเตอร ถาไมมี ซอฟตแวรเรากไ็ มส ามารถใชเ ครอื่ งคอมพิวเตอรท าํ อะไรไดเลย ซอฟตแ วรส าํ หรับเครอ่ื งคอมพิวเตอรสามารถแบง ได ดังนี้ 1.6.2.1 ซอฟตแวรส าํ หรับระบบ (System Software) คอื ชดุ ของคําสั่งทเ่ี ขียนไวเปน คาํ สัง่ สาํ เร็จรูป ซ่ึงจะทํางานใกลช ดิ กบั คอมพิวเตอรม ากทสี่ ดุ เพือ่ คอยควบคมุ การทํางานของฮารดแวรท กุ อยา ง และอาํ นวยความ สะดวกใหก บั ผูใชใ นการใชง าน ซอฟตแ วรห รือโปรแกรมระบบทรี่ ูจ ักกนั ดีก็คือ DOS, Windows, UNIX, Linux รวมท้งั โปรแกรมแปลคาํ สัง่ ทเ่ี ขยี นในภาษาระดับสงู เชน ภาษา Basic, FORTRAN, Pascal, COBOL, C เปน ตน นอกจากนี้ โปรแกรมที่ใชใ นการตรวจสอบระบบเชน Norton’s Utilities กน็ บั เปนโปรแกรมสาํ หรบั ระบบดวยเชน กนั 1.6.2.2 ซอฟตแ วรป ระยกุ ต (Application Software) คือ ซอฟตแ วรห รือโปรแกรมท่สี งั่ คอมพิวเตอร ทาํ งานตางๆ ตามทผี่ ูใชตองการ ไมว าจะดา นเอกสาร บญั ชี การจัดเกบ็ ขอ มลู เปน ตน ซอฟตแวรประยุกตสามารถ จาํ แนกไดเ ปน 2 ประเภท คือ - ซอฟตแวรสาํ หรบั งานเฉพาะดา น คอื โปรแกรมซึง่ เขยี นข้นึ เพือ่ การทาํ งานเฉพาะอยา งทเ่ี ราตอ งการ บางที่เรียกวา User’s Program เชน โปรแกรมการทาํ บญั ชจี ายเงินเดอื น โปรแกรมระบบเชา ซอื้ โปรแกรมการทาํ สนิ คา คงคลงั เปน ตน ซงึ่ แตละโปรแกรมก็มักจะมเี ง่ือนไข หรอื แบบฟอรม แตกตา งกนั ออกไปตามความตองการ หรอื กฎเกณฑ ของแตล ะหนว ยงานทใี่ ช ซ่ึงสามารถดดั แปลงแกไ ขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางสวนของโปรแกรมได เพอื่ ใหตรงกบั ความตอ งการของผใู ช และซอฟตแ วรประยุกตที่เขยี นขนึ้ นีโ้ ดยสวนใหญม ักใชภาษาระดับสงู เปน ตวั พฒั นา - ซอฟตแวรสําหรบั งานทว่ั ไป เปนโปรแกรมประยุกตท มี่ ผี จู ัดทาํ ไว เพื่อใชในการทาํ งานประเภทตางๆ ทว่ั ไป โดยผใู ชค นอ่นื ๆ สามารถนาํ โปรแกรมน้ีไปประยกุ ตใ ชก ับขอ มลู ของตนได แตจะไมสามารถทาํ การดดั แปลง หรอื แกไ ขโปรแกรมได ผูใชไ มจาํ เปนตอ งเขยี นโปรแกรมเอง ซ่ึงเปน การประหยัดเวลา แรงงาน และคา ใชจ า ยในการเขียน โปรแกรม นอกจากน้ี ยังไมต องใชเวลามากในการฝกและปฏิบัติ ซง่ึ โปรแกรมสาํ เรจ็ รูปน้ี มักจะมกี ารใชงานในหนว ยงาน

12 ที่ขาดบุคลากรทม่ี ีความชํานาญเปน พเิ ศษในการเขยี นโปรแกรม ดังนน้ั การใชโปรแกรมสําเร็จรปู จงึ เปน ส่ิงท่ีอาํ นวย ความสะดวกและเปน ประโยชนอ ยา งยงิ่ ตวั อยา งโปรแกรมสําเร็จรปู ทน่ี ยิ มใชไ ดแ ก MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมสต างๆ เปน ตน 1.6.3 บคุ ลากร (People ware) หมายถงึ บคุ ลากรในงานดา นคอมพวิ เตอร ซง่ึ มคี วามรเู กยี่ วกบั คอมพิวเตอร สามารถใชง าน สงั่ งานเพอื่ ให คอมพวิ เตอรท าํ งานตามท่ตี อ งการ แบง ออกได 4 ระดับ ดงั น้ี 1.6.3.1 ผูจ ดั การระบบ (System Manager) คอื ผวู างนโยบายการใชค อมพวิ เตอรใ หเ ปน ไปตาม เปา หมายของหนว ยงาน 1.6.3.2 นกั วิเคราะหร ะบบ (System Analyst) คือ ผทู ศ่ี กึ ษาระบบงานเดิมหรอื งานใหมและทาํ การ วเิ คราะหค วามเหมาะสม ความเปน ไปไดใ นการใชคอมพิวเตอรก บั ระบบงาน เพือ่ ใหโปรแกรมเมอรเปน ผเู ขยี นโปรแกรม ใหกบั ระบบงาน 1.6.3.3 โปรแกรมเมอร (Programmer) คอื ผเู ขยี นโปรแกรมสงั่ งานเครอื่ งคอมพวิ เตอรเพื่อใหทาํ งาน ตามความตอ งการของผใู ช โดยเขียนตามแผนผังท่ีนักวเิ คราะหร ะบบไดเ ขยี นไว 1.6.3.4 ผูใช (User) คือ ผูใชง านคอมพวิ เตอรทั่วไป ซึ่งตอ งเรยี นรวู ธิ กี ารใชเ ครื่อง และวธิ ีการใชง าน โปรแกรม เพอ่ื ใหโปรแกรมทมี่ อี ยูส ามารถทํางานไดตามท่ตี องการ เนื่องจากเปน ผกู าํ หนดโปรแกรมและใชงานเคร่ืองคอมพวิ เตอร มนุษยจ ึงเปน ตวั แปรสําคญั ในอนั ทจี่ ะทาํ ใหผลลพั ธมี ความนา เชอื่ ถอื เนอ่ื งจากคาํ สั่งและขอ มูลทใ่ี ชในการประมวลผลไดร บั จากการกาํ หนดของมนุษย (People ware) ทง้ั สน้ิ 1.6.4 ขอ มลู /สารสนเทศ (Data/Information) ขอ มลู (Data) เปนองคประกอบท่สี าํ คญั อยา งหนง่ึ การทํางานของคอมพิวเตอรจะเก่ยี วขอ งกบั ขอ มลู ตง้ั แตการ นําขอมูลเขาจนกลายเปนขอมูลท่ีสามารถใชประโยชนตอไดหรือท่ีเรียกวา สารสนเทศ (Information) ซ่ึงขอมูลเหลาน้ี อาจจะเปน ไดทงั้ ตัวเลข ตวั อักษร และขอมลู ในรูปแบบอ่ืนๆ เชน ภาพ เสียง เปนตน ขอมูลท่ีจะนํามาใชกับคอมพิวเตอรไดนั้น โดยปกติจะตองมีการแปลงรูปแบบหรือสถานะใหคอมพิวเตอรเขาใจ กอน จึงจะสามารถเอามาใชงานในการประมวลผลตางๆ ไดเราเรียกสถานะนี้วา สถานะแบบดิจิตอล ซึ่งมี 2 สถานะ เทานั้น คือ เปด (1) และ ปด (0) ………………………………………………………………………………………………………………


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook