Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore BEST-PRACTICE-ตำบลทุ่งนางาม

BEST-PRACTICE-ตำบลทุ่งนางาม

Published by sripootonpim23, 2022-05-06 07:50:05

Description: BEST-PRACTICE-ตำบลทุ่งนางาม

Search

Read the Text Version

ผลการปฏิบัติงานสคู่ วามเป็นเลิศ (Best Practice) ระบบตดิ ตามนกั ศกึ ษาเข้าทอสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ประจำภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 กศน.ตำบลทุง่ นางาม นางสาวธนพร ศรีภธู ร ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลทงุ่ นางาม ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอลานสัก สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั อุทยั ธานี สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ Best Practice

การติดตามนักศึกษาเข้าทอสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ประจำภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ช่ือ ระบบติดตามนกั ศึกษาเข้าทอสอบทางการศกึ ษาระดับชาติด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ประจำภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 กศน.อำเภอลานสกั สำนักงาน กศน.จงั หวัดอุทยั ธานี ช่ือเจา้ ของผลงาน นางสาวธนพร ศรีภธู ร สังกัด กศน.อำเภอลานสัก สำนกั งาน กศน. จังหวดั อทุ ัยธานี 1. ความเปน็ มาและความสำคัญของวธิ ีหรือแนวทางปฏบิ ัติงานทเี่ ปน็ เลศิ การจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มงุ่ เนน้ การจดั การตามปรัชญา คดิ เป็น และยดึ หลักว่าผเู้ รยี นทกุ คนสามารถเรยี นรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้ ผู้เรียนแต่ละคนมีธรรมชาติที่แตกต่างกัน ทั้งด้านวัย วุฒิภาวะ ความถนัด ความสนใจ วิธีการเรียนรู้ ตลอดจนมี การดำเนินชีวติ และสงิ่ แวดล้อมทแ่ี ตกตา่ งกนั ซึ่งส่งผลต่อการเรยี นรู้ของผเู้ รียน ดังนน้ั การจัดการเรียนรจู้ ึงต้องยึด ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ เพ่ือสง่ เสริมให้ผูเ้ รยี นไดพ้ ฒั นาความสามารถของตนเอง ตามธรรมชาติ เตม็ ตามศกั ยภาพท่ีมีอยู่ และเรียนรู้อยา่ งมคี วามสุข ตามท่หี ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กำหนดให้ สถานศึกษาดำเนินการจัดการศึกษาทัง้ 3 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน้ และมัธยมศึกษา ตอนปลาย ซึง่ นกั ศึกษาทกุ คนทีจ่ ะจบหลกั สูตรได้น้ัน ต้องผา่ นเกณฑ์การจบหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ตามเกณฑด์ ังนี้ 1. ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ การเรยี นรรู้ ายวิชาในแต่ละระดับการศึกษาตามโครงสรา้ งหลกั สูตร 1.1 ระดับประถมศึกษา ไมน่ ้อยกวา่ 48 หนว่ ยกติ แบง่ เปน็ รายวิชาบังคับ 36 หน่วยกิต และ วิชาเลอื กไมน่ อ้ ยกว่า 12 หน่วยกิต 1.2 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ไม่นอ้ ยกวา่ 56 หน่วยกิต แบง่ เป็นรายวิชาบังคับ 40 หนว่ ยกติ และวิชาเลือกไม่นอ้ ยกวา่ 16 หนว่ ยกิต 1.3 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ไม่น้อยกวา่ 76 หน่วยกติ แบง่ เป็นรายวิชา บงั คับ 44 หน่วยกติ และวชิ าเลอื กไม่น้อยกว่า 32 หน่วยกติ 2. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) ไม่น้อยกวา่ 200 ชวั่ โมง 3. ผ่านการประเมินคุณธรรมในระดับพอใชข้ ึ้นไป 4. เข้ารบั การประเมนิ คุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั ชาติ และด้วยสำนักงาน กศน.จังหวัดอทุ ัยธานี มนี โยบายต้องการทีจ่ ะยกระดบั จำนวนนักศึกษาผู้เขา้ รบั การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 90 ของจำนวนนักศึกษาผทู้ ี่คาดว่าจะจบทีม่ ีใน กศน.ตำบล แต่ดว้ ยสภาพปญั หาในปจั จุบนั นกั ศกึ ษา มีนกั ศึกษา บางสว่ นไมใ่ สใ่ จในการเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนการสอนและไมเ่ ขา้ ร่วมกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต สง่ ผลให้ จำนวนผูเ้ ข้ารับการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ของ กศน.ตำบล ทุ่งนางามลดลง และมีผลต่อการจบการศึกษาตามโครงสรา้ งหลักสูตรของตัวนกั ศกึ ษาเอง Best Practice

ซึง่ ปัญหาดงั กล่าวได้ถูกนำมาพจิ ารณาและดำเนินการเพอ่ื ออกแบบระบบตดิ ตามและประสาน นกั ศึกษา เพอ่ื ใช้เปน็ เคร่ืองมอื ในการติดตามและประสานนกั ศึกษาในการเขา้ รว่ มกิจกรรมตา่ งๆ ทจี่ ัดขนึ้ และเพ่ือเปน็ การเพิม่ จำนวนผ้เู ข้ารับการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติดา้ นการศึกษานอกระบบ โรงเรียน (N-NET) และสอดคลอ้ งกบั นโยบายยกระดบั จำนวนนกั ศึกษาผูเ้ ข้ารับการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาตดิ า้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของ สำนักงาน กศน.จังหวดั อทุ ัยธานี กศน.ตำบลท่งุ นางาม จงึ ไดอ้ อกแบบและจดั ทำระบบการติดตามและประสานนกั ศกึ ษา น้ีข้ึน 2. วัตถปุ ระสงคห์ รือจุดมุง่ หมายของการดำเนินงาน เพือ่ ติดตามให้นักศกึ ษา กศน.ตำบลทงุ่ นางาม เขา้ รบั ทดสอบการศึกษาระดับชาติดา้ นการศึกษา นอกระบบโรงเรียน (N-NET) ได้ 3. เปา้ หมาย เชิงปริมาณ - นกั ศึกษา กศน.ตำบลทุง่ นางาม ท่ีมีสทิ ธิ์สอบ(N-NET) มี 2 ระดับ จำนวนทั้งหมด 17 คน ดงั น้ี - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 4 คน - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 13 คน เชิงคณุ ภาพ - นกั ศึกษา กศน.ตำบลทงุ่ นางาม ทม่ี ีสิทธสิ์ อบ (N-NET) มี 2 ระดบั จำนวนท้งั หมด 17 คน เขา้ สอบ จำนวน 16 คน ขาด 1 คน รอ้ ยละ 96.16 ท่ี ระดบั ผ้มู ีสทิ ธ์ิเขา้ สอบ เขา้ สอบ ขาดสอบ คดิ เป็นรอ้ ยละ 1 ประถมศึกษา - - -- 2 มัธยมศึกษาตอนต้น 4 4 - 100 3 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 13 12 1 92.31 รวม 17 16 1 96.16 Best Practice

4. หลักการและแนวคดิ ครู กศน.ตำบลทงุ่ นางาม ไดด้ ำเนินการตดิ ตามนักศกึ ษาผูค้ าดวา่ จะจบการศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 อย่างต่อเนื่องติดตามนกั ศกึ ษาถึงบ้าน ติดตามจากำนันผู้ใหญ่บ้านและเครื่องมือสื่อสาร อิเล็กทรอนิกส์ ทุกอย่างโดยได้รบั ความรว่ มมือกับผู้ปกครอง เครือข่ายและผูน้ ำหมูบ่ ้านชุมชน เพื่อที่จะสามารถ นำมาเป็นแนวทางในการปรบั ปรงุ และแกไ้ ขปัญหาได้ ตามวธิ ีการ ดังนี้ 4.1 การวางแผนงานและเตรียมการ(Plan) ครทู ำความเข้าใจและแจง้ นักศกึ ษาใหท้ ราบดังนี้ 1. ครูลงทะเบียนนักศึกษาใหมแ่ ละเก่า ครวู ิเคราะห์ผู้เรยี น และสำรวจความต้องการนักศึกษา เน้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั เพ่อื จดั ทำแผนการเรียนรู้รายบุคคลใหก้ ับนักศกึ ษาใหส้ อดคล้องกับความถนัด ความสนใจ และความตอ้ งการของผู้เรยี นและแจ้งใหน้ กั ศึกษาทราบ 2. การจดั กระบวนการเรียนรู้ - แจ้งนักศึกษาที่ลงทะเบียนในภาคเรียนที่ 2/2564 ทั้งนักศึกษาเก่าและนักศึกษาใหม่ให้ ทราบและเข้ารว่ มกจิ กรรมโครงการปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษา - จัดกระบวนการเรียนรู้แบบพบกลุ่ม นักศึกษากลุ่ม กศน.ตำบลทุ่งนางาม ระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ ทุกวนั อังคาร เวลา 09.00 น. – 16.00 น. และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ทุกวนั พธุ เวลา 09.00 น. – 16.00 น. - แจง้ นกั ศกึ ษาเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น แตล่ ะกิจกรรมท่ี กศน.อำเภอลานสัก ได้ จัดใหก้ ับนักศึกษา 3. ดา้ นการวดั ผลประเมนิ ผล - การวัดผลประเมินรายวิชาระหว่างภาคเรียน 60 คะแนน และปลายภาคเรียน 40 คะแนน ผู้เรียนต้องเข้า สอบปลายภาค และมีคะแนนสอบปลายภาคเรียนรวมกับคะแนนระหว่างภาคเรียนจึงจะผ่าน เกณฑข์ นั้ ตำ่ การทำแบบฝกึ หดั ได้แก่ Best Practice

- แบบฝึกหัดทา้ ยบทเรียนในสื่อการเรียนร้รู ายวิชาตา่ งๆ - การประเมินคุณธรรม ประเมิน ต่อเน่อื งตลอดภาคเรียน โดยประเมินจากผลงาน เนน้ พฤติกรรมบง่ บ่งช้ี คุณธรรมทัง้ 9 ไดแ้ ก่ ความสะอาด สภุ าพ กตญั ญูกตเวที ความขยนั ประหยัด ซ่อื สตั ย์ สามัคคี มีนำ้ ใจ มวี ินัย โดยตอ้ งผ่านระดบั พอใชข้ ้ึนไป - การประเมินกจิ กรรม กพช.ผเู้ รียนต้องปฏบิ ัติกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตไม่นอ้ ยกวา่ 200 ชว่ั โมง โดยมขี อบขา่ ยเนอื้ หาทงั้ ในภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ - นกั ศึกษาท่คี าดว่าจะจบฯในเทอมนนั้ ทุกคนต้องเขา้ รับการทดสอบทางการศกึ ษา ระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ในแต่ละระดับชั้นให้เป็นไปตามที่สถาบันทดสอบทาง การศึกษาแห่งชาติ(องค์กรมหาชน) ได้กำหนดไว้ ในภาคเรียนสุดท้ายของการจบหลักสูตร และดำเนินการก่อน สอบปลายภาคของภาคเรียนน้นั ๆ โดยไมม่ ผี ลต่อการสอบไดห้ รือสอบตกของผู้เรียน - การเข้าสอบปลายภาคเรยี นผเู้ รยี นตอ้ งเขา้ สอบปลายภาคเรยี นและมีคะแนนสอบปลาย ภาคเรยี นรวมกบั คะแนนระหว่างภาคเรียนถึงจะผ่านเกณฑ์ขน้ั ตำ่ 4.2 วธิ ีการจัดการเรียนร(ู้ DO) - ประชาสัมพนั ธ์แจ้งนักศึกษาที่ลงทะเบียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ทั้งนักศึกษา เก่าและนักศึกษาใหม่ ให้นักศึกษาทราบและเข้าร่วมกิจกรรมโครงการปฐมนิเทศนักศึกษา มีคู่มือนักศึกษาให้ ทราบโครงสรา้ งหลักสูตรการเรยี นแบบ กศน. ครแู จ้งวันเวลาและสถานทีพ่ บกลมุ่ ของนกั ศึกษาและรับใบงานของ นักศกึ ษาทีล่ งทะเบียนตามรายวิชาของแต่ละคนแนะนำการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียน การ เขา้ สอบเรียนในแต่ละระดับ - เมื่อปฐมนิเทศนักศึกษาเรียบรอ้ ยแล้วครูทำการประเมินรู้ระดับการรู้หนงั สือ สำหรับนักศึกษา ใหม่ทลี่ งทะเบยี นเรยี น ภาคเรยี นที่ 2/2564 และตรวจสุขภาพกายสุขภาพจิตของนักศึกษาทุกคน เพือ่ ให้ทราบ ถึงปัญหาสขุ ภาพรา่ งกาย จติ ใจ ของนกั ศึกษา เวลาการจัดกิจกรรมใหน้ กั ศกึ ษา - จดั กระบวนการเรียนรู้แบบพบกลุ่ม นักศึกษากลุม่ กศน.ตำบลท่งุ นางาม ท่ี กศน.ตำบล ท่งุ นางาม ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ทกุ วนั อังคาร เวลา 09.00-16.00 น. และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ทกุ วนั พธุ เวลา 09.00-16.00 น. แมน้ ักศึกษาจะมากหรือน้อยแต่ครูกต็ ้องจัดกระบวนการเรียนรู้แบบพบกลุ่ม อยา่ งตอ่ เน่ือง ทำสม่ำเสมอ เพือ่ ให้เป็นมาตรฐานของครูและเพ่อื ให้นักศึกษามีความตระหนกั ในหน้าท่ีของตนเอง - การประเมนิ ระดบั การรหู้ นังสือของนกั ศกึ ษาใหม่ภาคเรียนที่ 2/2564 โดยครูนัดนักศึกษา เขา้ รบั การประเมนิ สัปดาหแ์ รกของภาคเรยี นเพอ่ื ประเมนิ ทักษะการอ่านออกและการเขียนได้ของนักศกึ ษาเป็นไป ตามเกณฑท์ ่ี สำนักงาน กศน.กำหนด - กรณีที่ กศน.ตำบลท่งุ นางาม จดั กจิ กรรมโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครูจะแจง้ นกั ศึกษาทางโทรศัพท์ ทางกลมุ่ Line / chat Massenger / Facbook / Fange facebook และ เว็ปไซด์ กศน.ตำบล http://uthai.nfe.go.th/tambon/ThungNaNgam/index.php/9-2021-05-29- 05-43-28 กล่มุ นักศึกษาตำบลทุง่ นางาม ชว่ ยให้นักศึกษาทราบข่าวล่วงหน้าทันทว่ งที มีเวลาเตรียมตัว ในกรณที อี่ อกไปทำงานตา่ งถน่ิ และแจ้งผู้ปกครองให้ทราบเพื่อช่วยเตือนใหน้ ักศกึ ษาเข้าร่วมกิจกรรมที่คณะครูได้ จดั ใหก้ บั นกั ศึกษาแตล่ ะภาคเรยี นน้นั ๆ Best Practice

- รายงานกจิ กรรมการพบกล่มุ การร่วมกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น รายช่ือนักศึกษาทมี่ ีสทิ ธ์สิ อบ N-NET และรายชื่อนกั ศกึ ษาสอบปลายภาค ผ่านทางโทรศพั ท์ Line / chat Massenger / Facbook / Fange facebook ทั้งส่งทางกลุ่มและส่วนตัวนักศึกษา เป็นการเผยแพร่ข่าวสารการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ต่อเนื่อง อย่างสม่ำเสมอช่วยให้นักศึกษาที่ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทราบข่าวและติดต่อปรึกษาเพือ่ นๆที่มาร่วม กจิ กรรมสม่ำเสมอ - หลงั จากท่สี ถาบันการทดสอบระดบั ชาต(ิ สมศ.) แจ้งวันเวลาสอบแล้ว และทางฝา่ ยทะเบียน กศน.อำเภอลานสัก ได้แจ้งสถานที่สอบ ครูรีบประสานทางโทรศัพท์ติดต่อนกั ศกึ ษาให้มาสอบตามตารางสอบที่ แจ้งทาง โทรศัพท์ Line / chat Massenger / Facbook / Fange facebook ทั้งส่งทางกลุ่มและส่วนตัว นักศึกษา และแจ้งให้ผู้ปกครองทราบด้วยเพ่ือจะช่วยครูในการติดตามนกั ศึกษาให้มาสอบได้อีกทางหนึ่ง ส่วน นกั ศึกษาท่ีประสานไม่ติด ครูต้องไปติดตามหาตวั นักศึกษาที่บ้านสอบถามติดตอ่ ทางกำนนั ผู้ใหญ่บ้าน เพ่ือที่แจ้ง ข่าวใหท้ ราบและครูตอ้ งคอยแก้ปญั หาใหน้ ักศึกษาทกุ คนจนกว่านกั ศึกษาเข้าสอบ N-Net ครบทุกคนตามตาราง สอบ - หลังจากที่สำนักงาน กศน.แจ้งตารางสอบปลายภาค ครูจะแจ้งกำหนดการสอบ วัน เวลา สถานที่สอบ ให้นักศึกษาได้ทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน เพื่อให้นักศึกษาเตรียมลางานมาสอบ กรณี นักศึกษาที่คาดวา่ จะจบในภาคเรียนนี้ ที่ต้องเข้ารับการทดสอบทางการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ(N-NET) ครู จะต้องแจ้งนักศึกษาให้ทราบล่วงหน้าตั้งแต่ลงทะเบียนเรียน เพื่อให้นักศึกษาเตรียมตัวในการเข้าสอบและทำ กจิ กรรม กพช. ใหค้ รบ 200 ชั่วโมง ในภาคเรียนทน่ี กั ศึกษาจะจบการศึกษา - การส่งใบงาน หลังจากการสอบ N-NET เรียบร้อยแล้ว โดยครูกำหนดวันส่งใบงานให้กับ นักศกึ ษาต้ังแต่วนั ปฐมนิเทศ โดยใหส้ ่งให้ทันเวลาเพ่อื ครูจะไดใ้ ห้คะแนนการทำแบบฝึกหัดใบงานเปน็ คะแนนเก็บ และวิเคราะหผ์ ู้เรยี นแตล่ ะคนวา่ ผูเ้ รยี นมีอปุ สรรคอะไรในการเรียนของนกั ศึกษาแต่ละคน - ส่งตารางสอบปลายภาคเรียนนักศึกษารายบุคคล เพื่อให้เข้าสอบ ตามกำหนดวัน เวลา สถานท่ี และรายละเอียดของระเบียบการเข้าสอบ - กิจกรรมการตวิ เข้มเติมเต็มความรู้ก่อนสอบปลายภาคเรียน โดยนำนักศกึ ษาเข้าร่วมกิจกรรม ทุกระดับ เพื่อเพิ่มความรู้และนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นมีการนำแผนการ ดำเนินงานไปสู่การปฏิบัติการดำเนินการจัดการศึกษาพื้นฐาน วิธีพบกลุ่มทุกระดับชั้น ตามวันเวลาสม่ำเสมอ อย่างต่อเนอ่ื งยึดหลักการจัดกระบวนการจดั การเรยี นร้โู ดยคณะครูเปน็ ผู้ขบั เคล่ือน เน้นการมีส่วนร่วมของผ้เู รียน เปน็ สำคัญ โดยนำนักศึกษาร่วมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นด้านตา่ งๆ ท่ี กศน.อำเภอลานสัก ไดจ้ ดั ข้นึ เพื่อสร้างแรงจูงให้กับนักศึกษาให้มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน ตระหนักในหน้าที่ของตนและเตรียมพร้อมที่จะเข้าสอบ ปลายภาคเรยี น Best Practice

4.3 วธิ ีติดตามนักศึกษาโดย “ถามข่าวติดตาม” Check - การตดิ ตามเยีย่ มบ้านเพอื่ เป็นการสร้างแรงจงู ใจในการจัดกิจกรรมการเรยี นร้แู ละการพบกลุ่ม ของนักศึกษาว่านักศึกษามีความรู้มากน้อยเพียงใดจากการเรียนรูแ้ ละมปี ัญหาดา้ นใดบ้าง ซึ่งผู้ปกครองคอื ครูที่ ปรึกษาของทั้งครูและผู้เรียน เพ่ือชว่ ยสรา้ งขวัญและกำลังใจใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ความกระตอื รือรน้ ใฝใ่ ฝ่เรียน - ครูแจ้ง เช็ค หรือสอบถามปัญหานักศึกษาทางแจ้งทาง โทรศัพท์ กลุ่ม Line / chat Massenger / Facbook / Fange facebook ทั้งส่งทางกลุ่มและส่วนตัว ทำให้นักศึกษาทราบข่าวล่วงหน้า ทนั ท่วงที มเี วลาเตรยี มตัวทนั ในกรณี ผูท้ ำงานต่างถิ่นและนักศกึ ษาทราบกำหนดการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ด้าน ต่างๆ และแจ้ง นักศึกษาที่มีสิทธิ์สอบต้องเขา้ รับการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ โรงเรียน (N-NET) ทุกคน ส่วนคนที่พลาดการสอบ N-NET ก็ยังมีสิทธิ์ในการสอบแบบ E – Exam เป็นระบบ อิเล็กทรอนิกส์ และเป็นการสอบเพื่อประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ ( NT ) ตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยใช้แบบทดสอบแบบ Online ผ่าน ระบบ Internet นักศึกษาที่เข้ารับการประเมนิ คือนักศึกษาที่คาดวา่ จะจบในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕64 ระบบ E-Exam เปน็ การทดสอบข้อเขยี นรปู แบบหนง่ึ โดยการนำเอาระบบคอมพวิ เตอร์มาใช้ ผู้เข้ารับ การทดสอบสามารถทำขอ้ สอบและทราบผลคะแนนทันทีที่สอบเสร็จ 4.4 การมีส่วนรว่ มกบั ภาคเี ครือขา่ ยในการสร้างแรงจงู ใจในการจดั กิจกรรมการเรียนร(ู้ Action) - ก่อนสอบครูต้องประสานพูดคุยกับนักศึกษาตลอดเวลาเพื่อให้ทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ นักศกึ ษาวา่ มีความพร้อมท่ีจะมาสอบมากนอ้ ยแค่ไหน นักศึกษาอย่ทู ไ่ี หน ทำอะไร เตรยี มตวั พร้อมมาสอบไม่มา รถอะไร มากบั ใคร ถา้ นกั ศกึ ษาไม่มีรถครตู อ้ งไปรบั เพ่ือพามาสอบ - ในวันสอบครูต้องเตรียม บัตรเข้าห้องสอบ ดินสอ ปากกา ยางลบ มาที่สนามสอบด้วย เพื่อ เชค็ และช่วยเหลอื นักศึกษาทีม่ ปี ัญหาจนเขา้ หอ้ งสอบจนครบทกุ คน - ดำเนนิ งานกบั ภาคีเครอื ขา่ ย และการตดิ ตามการสรา้ งแรงจูงใจใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ร่วมกจิ กรรม การ พบกลุ่มและเพิ่มจำนวนผู้เข้าสอบปลายภาค โดยคณะครูร่วมกันวางแผนการทำงานและการปฏิบัติตามแผน รว่ มกบั เครือข่าย โดยเข้าร่วมประชุมกับผนู้ ำ และสำรวจผู้ทอ่ี ยู่นอกระบบการศกึ ษาเพือ่ ใหอ้ ุปสรรคในการมาพบ กล่มุ และการร่วมกิจกรรมของผู้เรยี น บรรลุวัตถปุ ระสงค์ ตลอดจนการยกย่องเชิดชูเกียรติสร้างขวัญและกำลังใจ กบั นกั ศกึ ษาที่เรยี นจบหลักสตู ร จากการดำเนินการจัดทำระบบติดตามและประสานนักศึกษา มีการวางแผนการดำเนินงาน และติดตามงานอย่างเปน็ ระบบตดิ ตามและประสานนกั ศกึ ษาให้มีประสิทธิภาพท่ดี ยี ิ่งขึน้ 1. วิเคราะห์ข้อมลู ของผเู้ รียน 2. ทบทวนข้อมลู ให้มคี วามครอบคลมุ 3. สรุปผลวเิ คราะหข์ ้อมลู 4. รวบรวมข้อมลู เพ่อื ประกอบการติดตามผเู้ รียน 5. รายงานการดำเนนิ งานต่อผ้บู ริหาร Best Practice

5. กระบวนการหรอื ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน(วิธปี ฏิบัติที่เป็นเลิศ) จากการดำเนินการจัดทำระบบการติดตามและประสานนักศึกษา มีการวางแผนการดำเนินงาน และ ติดตามงานอย่างเป็นระบบเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและแม่นยำโดยใช้วงจรคุณภาพ (Deming Cycle) หรือ PDCA การวางแผน(PLAN) จากข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาตดิ า้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) และจำนวนผเู้ ขา้ สอบปลายภาค ในภาคเรยี นที่ 1 ปี การศึกษา 2564 พบว่าจำนวนผู้เข้าสอบยังไม่เป็นที่น่าพอใจ จึงได้กำหนดแผนในการดำเนินงานระบบการ ตดิ ตามและประสานนกั ศึกษาดังน้ี 1. ช้แี จงแนวทางการดำเนินงานให้กับผบู้ ริหารและคณะครทู ราบ 2. ออกแบบการจดั เก็บขอ้ มลู ในการติดตามและประสานนักศกึ ษา 3. รวบรวมข้อมูลและดำเนินการจดั ทำคมู่ อื ติดตามและประสานนกั ศึกษา 4. ดำเนินการติดตามนกั ศกึ ษาโดยใชค้ ู่มอื ติดตามและประสานนกั ศกึ ษา การปฏิบัตติ ามแผน (DO) ปฏิบตั ิงานตามแผนทว่ี างไว้โดยดำเนนิ การตามข้นั ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี 1. จัดทำแบบสำรวจขอ้ มูลเพื่อการตดิ ตามและประสานนักศึกษา 2. ประชุมช้แี จงกบั นักศึกษาเพื่อกรอกแบบสำรวจขอ้ มูลเพอ่ื การติดตามและประสานนักศึกษา 3. บนั ทกึ ขอ้ มลู ที่ได้จากใบสมคั รและแบบสำรวจขอ้ มลู เพ่ือการตดิ ตามและประสานนักศึกษา 4. จัดทำคู่มือติดตามและประสานนกั ศึกษา 5. จดั ทำสมุดคุมทอ่ี ยู่นกั ศกึ ษา 6. ใหน้ กั ศึกษาเขา้ กลุม่ Line กศน.ตำบลทงุ่ นางาม 7. เพม่ิ นักศึกษาเปน็ เพ่ือนใน Facebook 8. เชญิ นักศึกษาตดิ ตาม กดถูกใจ Fan page Facebook กศน.ตำบลท่งุ นางาม กศน.อำเภอลานสกั 9. แนะนำให้นกั ศึกษาเขา้ เวป็ ไซด์ กศน.ตำบลท่งุ นางามดว้ ย 10.ดำเนินการติดต่อประสานนักศึกษาเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมที่ ทาง กศน.จัดขึ้น ผ่านทางโทรศัพท์ ส่ง ข้อความในกลุ่ม Line กศน.ตำบลทุ่งนางาม Line ส่วนตัวของนักศึกษา Facebook Messenger และติดตอ่ ทางผู้ปกครอง ผูน้ ำชุมชน 11.ประชาสมั พนั ธก์ ารจดั กจิ กรรมที่ กศน.จะดำเนินการผา่ นทางLine กลุ่ม /เวป็ ไซด์ กศน.ตำบล ทุ่ง นางาม / Facebook ส่วนตัวครูและ Fan page Facebook กศน.ตำบลทุ่งนางาม / กศน. อำเภอลานสกั 12.แจง้ วันเวลาและสนามสอบที่สอบ (N-NET) ใหน้ กั ศกึ ษาทราบลว่ งหน้า 1 เดือน โดยการโทร ประสาน แจง้ ไปใน Line กลุ่ม /เวป็ ไซด์ กศน.ตำบลทงุ่ นางาม / Facebook สว่ นตัวครูและ Fan page Facebook กศน.ตำบลทุ่งนางาม / กศน.อำเภอลานสกั และนดั มารับตารางสอบ กรณี คนทำงานตา่ งจงั หวัดครูจะถา่ ยรูปตารางสอบให้ทาง Line ส่วนตวั และFacebook Messenger สว่ นตวั Best Practice

การตรวจสอบ(Check) แบง่ การตรวจสอบขอ้ มูลออกเปน็ 3 ชว่ ง คือ - ระหว่างภาคเรียน สังเกตการณ์เข้ารว่ มกิจกรรมพบกลุ่มของนักศึกษาในแตล่ ะสัปดาห์ - ระหวา่ งการสอบ (N-NET) ตรวจสอบจำนวนนกั ศกึ ษาทีเ่ ข้าสอบใน แตล่ ะห้องโดยการให้ นักศกึ ษามารายงานตัวกับครูก่อนเข้าห้องสอบและดจู ากบญั ชกี ารเขา้ สอบของนักศึกษา - ภายหลงั การสอบ(N-NET) ตรวจสอบจากการรายงานผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาตดิ า้ นการศกึ ษานอกระบบ(N-NET) การปรบั ปรุงการดำเนินงาน (Act) - จากการดำเนินการตามระบบการตดิ ตามและประสานนกั ศกึ ษาถือวา่ ระบบการติดตาม ดังกลา่ วมีประสิทธภิ าพอย่พู อสมควร โดยอ้างองิ จากจำนวนผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมท่ีมีจำนวนเพมิ่ ข้ีน รายงานผลการ ทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ด้านการศกึ ษานอกระบบ (N-NET) ทีน่ ักศกึ ษา กศน.ตำบลทุ่งนางาม เขา้ รบั การ ทดสอบ รอ้ ยละ 96.16 ของจำนวนนักศึกษาที่เข้ารับการทดสอบทัง้ หมด ซึง่ เพิ่มขนึ้ จากภาคเรยี นทผี่ ่านมา 6. ผลการดำเนนิ งาน ผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ท่ีได้รับ - จากการจัดทำระบบการติดตามและประสานนักศึกษา สามารถสรปุ ผลการดำเนินงานที่ เกี่ยวข้องทงั้ 3 ด้าน ดังน้ี 6.1 หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา - กศน.ตำบลทงุ่ นางาม มีจำนวนนักศึกษาทเ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรมในแตล่ ะกิจกรรมเพิม่ ขน้ึ จำนวน นกั ศึกษาที่เขา้ รับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกระบบ (N-NET) รอ้ ยละ 96.16 6.2 บุคลากร - ครู กศน.ตำบลทงุ่ นางาม มีระบบการตดิ ตามและประสานนักศึกษาที่มีประสิทธิภาพ สะทอ้ น ถงึ การปฏบิ ตั ิงานของครู กศน.ตำบล สามารถใชเ้ ป็นแนวทางในการประสานนกั ศกึ ษา ของครู กศน.ตำบล อ่นื ตอ่ ไป 6.3 ผูเ้ รยี น/ผรู้ ับบรกิ าร - นกั ศึกษาหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้เข้า ร่วมกิจกรรมกระบวนการเรยี นรู้ ท้ังกิจกรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน เขา้ สอบ (N-NET) ผ่านเกณฑ์ การจบหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 7. ปัจจยั ความสำเร็จ 7.1 การกำหนดกลยุทธ์ในการดำเนนิ งานโดยใช้หลักการและแนวคิดในการวเิ คราะหข์ ้อมูล ไดแ้ ก่ วงจร PDCA 7.2 การมสี ่วนร่วมของนกั ศึกษาทุกคน ทำใหไ้ ด้ข้อมลู ทอ่ี ยู่ หมายเลขโทรศัพท์ ชื่อ Facebook / ID Line เพอ่ื ใช้เปน็ ขอ้ มลู ตดิ ตอ่ ประสานงาน 7.3 เทคโนโลยีในการตดิ ตอ่ สื่อสารที่ทนั สมยั Smartphone , Facebook , Line Best Practice

7.4 การกำกับ ติดตามนักศกึ ษาโดยการลงพนื้ ท่ีประสานนกั ศกึ ษารายบุคคล 7.5 การสร้างปฏิสัมพันธ์ทีด่ ีกับนกั ศกึ ษา สรา้ งความคนุ้ เคย เปน็ กันเองไมถ่ ือตัวมีทศั คติท่ีดีกบั นกั ศึกษาทกุ คน 8. ประโยชนท์ ไี่ ด้รับ 8.1 การวิเคราะหข์ อ้ มูล ต้องศึกษาตามหลักการ แนวคดิ และวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย เพื่อให้ สามารถนำไปประยุกตใ์ ชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม 8.2 มีการปฏบิ ตั ิงานทีช่ ดั เจน โดยการวางแผนเป็นกระบวนการสำคัญทจ่ี ะชว่ ยให้ทำงานได้ สำเรจ็ 8.3 การมีส่วนร่วมของทกุ ฝ่ายท้ังในองค์กร นอกองคก์ ร เครอื ข่าย ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนที่ให้ ความร่วมมือเปน็ อยา่ งดีสามารถทำให้ติดตามนกั ศกึ ษาไดท้ ุกคน 8.4 มีช่องทางการตดิ ตอ่ กับนกั ศกึ ษาท่ีหลากหลาย เป็นสิ่งที่จำเปน็ อย่างยิง่ ในการติดตอ่ และ ประสานนักศึกษา Best Practice

ภาคผนวก Best Practice

เอกสารทใ่ี ช้ในการติดตามและช่องทางในการติดตามและประสานนักศึกษา ใบสมัครผู้เรียน แบบสำรวจข้อมูลประวตั ผิ เู้ รยี น และสำรวจความต้องการนักศึกษา Best Practice

การติดต่อนกั ศกึ ษาผ่านทาง Line / Faecbook Massenger Best Practice

Best Practice

ภาพลงพนื้ ท่ี ลงพนื้ ทป่ี ระสานนกั ศกึ ษา Best Practice

เอกสารที่เกยี่ วขอ้ ง Best Practice


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook