แผนการจัดการเรียนรู้ วชิ า เทคโนโลยวี ัสดุอุตสาหกรรม รหัสวชิ า30111-2001 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สงู (ปวส.) พทุ ธศกั ราช 2557 ประเภทวิชาชา่ งอุตสาหกรรม สาขาวชิ าเทคนคิ อุตสาหกรรม ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 จดั ทำโดย นายอนชุ า เพชรทอง ตำแหน่งครพู เิ ศษสอน วิทยาลยั เทคนคิ ชลบรุ ี สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ ผู้จัดทำได้เรียบเรียงข้ึนเพื่อใช้ประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยี วัสดุอุตสาหกรรม รหสั 30111-2001 ตามหลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้ันสงู พุทธศักราช 2563 โดยจดั ทำแผนการเรยี นรู้ 18 สัปดาห์ สปั ดาห์ละ 3 ชั่วโมง โดยแบง่ หัวขอ้ เนื้อหาเป็น 9 หัวข้อ ประกอบด้วย วัสดุและการแบ่งประเภท คุณสมบัติและการทดสอบวัสดุ เหล็กดิบ เหล็กหล่อ เหล็กกล้าและมาตรฐานเหล็ก โครงสร้างอะตอมและพันธะ ระบบและโครงสร้างผลึก การเกิดเกรน และผลึก แผนภูมสิ มดุลภาค แผนจัดการเรยี นรู้จะจัดตามทส่ี ถานศึกษากำหนด โดยมีลักษณะรายวชิ า สมรรถนะประจำหน่วยการเรียน ตารางวิเคราะห์หลักสูตร กำหนดการสอนและแผนการจัดการเรียนรู้ แตล่ ะหนว่ ย ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างย่ิงว่าแผนจัดการเรียนรู้เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการ สอน ถา้ ทา่ นมขี ้อเสนอแนะใด ๆ ผจู้ ดั ทำยินดีรับฟังเพื่อนนำไปปรับปรุงแกไ้ ขต่อไป และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ นายอนชุ า เพชรทอง
แผนการจดั การเรียนรู้ จุดประสงค์รายวิชา เพอ่ื ให้ 1. มีความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับหลกั การแบ่งกล่มุ คณุ สมบตั ิ และการใชง้ านของวัสดุในงาน อุตสาหกรรม 2. นาความรู้ไปใช้วิเคราะหป์ ัญหาเกย่ี วกับวสั ดแุ ละเลอื กใช้วัสดไุ ด้เหมาะสมกบั ประเภทของงาน 3. นาความรไู้ ปใชป้ รับปรุงคุณสมบัติของเหล็กกล้าด้วยความร้อนอย่างงา่ ยในโรงงาน 4. นาความรไู้ ปใชท้ ดสอบวัสดุอย่างง่ายในโรงงาน 5. ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความรับผิดชอบ มเี จตคติทด่ี ีในการสบื เสาะหาความรู้เก่ยี วกับวสั ดศุ าสตร์ และ ตระหนักถงึ ประสิทธภิ าพและความประหยัด มกี ิจนสิ ัยในการทางานดว้ ยความรอบคอบและปลอดภัย สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรใู้ นการอ่านและเขยี นรหัสวัสดุตามมาตรฐาน ISO, JIS, DIN, BS, AISI, และ SAE 2. วเิ คราะห์ปัญหาเกยี่ วกบั วัสดแุ ละเลอื กใชว้ สั ดุไดเ้ หมาะสมตามขอ้ กาหนดการใชง้ าน 3. ปรับปรงุ คุณสมบตั ขิ องเหล็กกลา้ ดว้ ยความรอ้ นตามขอ้ กาหนด 4. ทดสอบวัสดุอยา่ งง่ายในโรงงานตามขอ้ กาหนด คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับค่าคุณสมบัติเฉพาะของวัสดุประเภทแก็ส ของเหลว ของแข็ง หลักการ แบ่งกลุ่มคุณสมบัติ และการใช้งานของวัสดุอุตสาหกรรม คุณสมบัติทางกายภาพ ทางกล และทางเคมีของ โลหะ การแบ่งประเภทมาตรฐาน การเลือกใช้งานเหล็กกล้าและเหล็กหล่อ กรรมวิธีปรับปรุงคุณสมบัติของ โลหะ การทดสอบวัสดุอย่างง่ายในโรงงาน การทดสอบวัสดุแบบทาลายและไม่ทาลาย คุณสมบัติของอโลหะ และการใช้งาน วัสดสุ งั เคราะหแ์ ละการใชง้ านวัสดใุ หม่ๆในงานอุตสาหกรรม (Advanced materials) เช่นวัสดุ งานคอมโพสิต วัสดุข้ันสูงในอุตสาหกรรมยานยนต์ วัสดุนาโน หรือนาโนคอมโพสิตชนิดของสารหล่อลื่นและ การใช้งาน การกดั กรอ่ นในโลหะและการป้องกัน วัสดุอันตรายและสัญลักษณ์ ระบบการกาหนดช่ือเรียก และ สญั ลักษณ์ของวสั ดตุ ามมาตรฐานนยิ ม เช่น ISO, JIS, DIN, DIN EN , BS, AISI, SAE , มอก. ฯลฯ
แผนการสอน หนวยท่ี 1 สอนครงั้ ที่ 1 ชื่อวิชา เทคโนโลยวี สั ดอุ ตุ สาหกรรม ชอ่ื หนว ย วสั ดุและการแบง ประเภท ช่ัวโมงรวม 3 ชื่อเร่ือง วสั ดุและการแบงประเภท จํานวนชัว่ โมง 3 หัวขอ เรื่องและงาน 1. การแบง ประเภทของวัสดุ 2. การทําเหมอื งแร สาระสาํ คัญ เมือ่ ใดกต็ ามทอ่ี งคก รทางธรุ กจิ มีความตอ งการทจ่ี ะผลติ สนิ คาใหมข ึน้ มาหรอื ทาํ การปรับปรุงสินคา เดิมใหดขี น้ึ ส่งิ ท่ตี องนํามาพิจารณาในการดําเนินการ ไดแก ความเปน ไปไดท างเทคนคิ และความ เปน ไปไดทางเศรษฐศาสตร การเลือกวัสดทุ ่ีจะนาํ มาใชจ ะตอ งผา นการพิจารณาความเปน ไปไดท ง้ั 2 กรณีดงั กลา ว การพจิ ารณาทางเทคนคิ เปน การพิจารณาเลือกวัสดใุ หเหมาะกับสภาพการใชงานที่ กําหนด สว นการพจิ ารณาทางเศรษฐศาสตรเ ปนการพจิ ารณาเก่ียวกบั ตนทนุ ของวัสดุ วัสดบุ างชนดิ ที่ ทําการเลือกมาใชมคี วามเหมาะสมในการใชง านไดต รงตามทก่ี ําหนด แตมรี าคาแพงซึ่งเปนการไม คุมคาในเชงิ ของการทําธุรกิจ ดังนั้น ในการเลอื กวสั ดุจึงตอ งคาํ นึงถงึ ความเปนไปไดท ้ัง 2 กรณี สมรรถนะท่พี ึงประสงค (ความรู ทักษะ คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี ) 1. อธบิ ายความหมายของวัสดปุ ระเภทโลหะไดอ ยางถูกตอง 2. อธิบายความหมายของการทาํ เหมืองแรไ ดอยางถูกตอง เนื้อหาสาระ ชนิดของวัสดใุ นงานอุตสาหกรรม 1. กลมุ ทีเ่ ปน โลหะ 1.1. โลหะประเภทเหลก็ 1.2. โลหะประเภทไมใ ชเหลก็ 2. กลมุ ทีเ่ ปนอโลหะ 2.1. สารสงั เคราะห 2.2. สารธรรมชาติ
กลุม ท่เี ปนโลหะ โลหะ หมายถงึ วสั ดทุ ไี่ ดจ ากการถลุงสนิ แรตา ง ๆ โลหะท่ใี ชกนั อยา งแพรหลายในงาน อุตสาหกรรม ไดแก เหลก็ อลมู เิ นยี ม ทองแดง ทองเหลอื ง ทองคํา เงิน ดบี กุ สงั กะสี เปน ตน โลหะ คอื วัสดุทไี่ ดจ ากการถลุงจากสินแรตาง ๆ ทเี่ กดิ โดยธรรมชาติ มีการจัดเรียงตวั ของอะตอม เปน ระเบยี บกวา อโลหะ คุณสมบตั ิของโลหะ 1. เปนตวั นาํ ไฟฟาไดด ี 2. เปน ตวั นําความรอ นไดด ี 3. มีความเหนยี วและแข็งแรงสูง 4. มีอณุ หภูมิปกติเปน ของแข็ง 5. มจี ดุ หลอมละลายสูง 6. สามารถทนตอการทบุ ตี หรือการยดื ข้นึ รปู ได 7. เคาะเสียงดงั กังวาน 8. คงทนถาวรไมผ ุพงั งา ย 9. มีความถวงจําเพาะสงู 10. มผี วิ เปน มนั วาว ภายหลังการตกแตง โลหะแบง เปน 2 ประเภท 1. โลหะประเภทเหล็ก (Ferrous Metal) หมายถงึ โลหะทม่ี ีเหลก็ เปนสวนประกอบอยู ไดแก เหล็กหลอ เหล็กกลา เหล็กประสม เหล็กเหนียว 2. โลหะประเภทไมใ ชเหลก็ (Non – Ferrous Metal) หมายถึง โลหะท่ีไมม ีเหลก็ เปน สวนประกอบอยู เชน อะลมู เิ นยี ม ทองแดง สงั กะสี ตะก่ัว ดีบกุ เปนตน โลหะทีไ่ มใ ชเ หล็กยังแบงได เปน พวกโลหะหนัก และโลหะเบา นอกจากนีย้ งั มีพวกโลหะประสมและโลหะซนิ เตอร เชน ทองเหลือง บรอนซ เงนิ เยอรมนั นาค ทองเค โลหะแข็ง เปน ตน กลุมที่เปนอโลหะ อโลหะ หมายถึง วตั ถุทไี่ ดจ ากธรรมชาติ หรือไดจ ากการสังเคราะหม า วัสดุทไ่ี มใชโลหะมกั จะมี คุณสมบัตติ รงกันขา มกบั กลุมท่ีเปน โลหะ ไดแก ยาง แกว พลาสติก ไม ฯลฯ อโลหะแบง เปน 2 ประเภท 1. สารสังเคราะห หมายถงึ สารท่เี กิดจากวัสดทุ ีส่ ังเคราะห หรือผลิตขึน้ ดว ยมนุษย เชน ซเี มนต กระดาษ แกว กระเบอ้ื ง พลาสติก ฯลฯ 2. สารธรรมชาติ หมายถึง สารท่ีเกิดจากสงิ่ มีชวี ติ ตามธรรมชาติ เชน หนังสตั ว ไม ยาง ใยหิน ฯลฯ
สมบัตขิ องอโลหะ 1. เปนตัวนาํ ไฟฟา ไมดี 2. เปนตวั นําความรอนไมด ี 3. มีจดุ หลอมละลายตํ่า 4. ไมท นตอ การทุบตีหรือข้ึนรูป 5. มผี วิ หยาบไมม นั วาว 6. เคาะไมมเี สยี งดงั 7. มีความถว งจาํ เพาะตาํ่ ลกั ษณะสําคญั ของโลหะวัสดุชาง ผิว ผิวของโลหะแตละชนดิ ไมเหมอื นกนั เชน เหล็กกลา ผวิ เรียบ เกรนละเอยี ด สเี ทา เคาะ เสียงดงั เหลก็ หลอ ผวิ หยาบ เกรนโตหยาบ มสี ีดาํ ขรุขระ ลักษณะการเลอื กวสั ดมุ าใชง าน 1. ความหนาแนน 2. ความแข็งของผิว 3. ความเปราะ 4. ความสามรถในการอดั รีดขึ้นรูป 5. ความแกรงและความยดื หยุน ตวั การทําเหมืองแร โลหะเปน วสั ดุท่ีถกู นาํ มาใชม ากทีส่ ดุ ในบรรดาวัสดุที่มีอยูทั้งหมดโดยโลหะเหลาน้ันอยใู นสนิ แร ชนิดตา ง ๆ ซึ่งจะตอ งนาํ สนิ แรมาทาํ การขจดั ส่ิงเจือปนออก และนาํ ไปผา นกระบวนการผลิต จนกระทั่งไดว ัสดอุ อกมาใชงาน สินแรตา ง ๆ จะพบอยตู ามพน้ื โลกซ่งึ แบงออกได 2 ลักษณะ คือ 1. การทาํ เหมืองแรใ ตดนิ ( Underground Mining) ใชในกรณที ่แี หลงแรอยลู กึ ลงไปใตพ ื้นโลก กรรมวธิ กี ารทําเหมืองใตด ินจะทําการเจาะโดยอาศัยเพลาเจาะแนวตง้ั เจาะลงไปยงั บรเิ วณท่ีมีแร และ จะลําเลียงแรท ไี่ ดขึ้นมาโดยอาศยั รถลําเลียง , สายพายลําเลยี ง (Conveyors) 2. การทําเหมืองหลุมเปด (Open pit Mining)ใชในกรณีท่ีแหลงแรอ ยบู รเิ วณเปลอื กโลก โดย อาศัยรถตักทาํ การตักสนิ แรข้ึนมา รูปท่ี 1 การทําเหมืองแรหลุมเปด
สรปุ เน้ือหา ชนิดของวัสดุในงานอตุ สาหกรรมแบงออกไดเ ปน 2 กลุม ใหญ ๆ กลุม ที่เปนโลหะ ⇒ แบงออกไดเปน โลหะประเภทเหลก็ และโลหะประเภทไมใชเหล็ก กลมุ ที่เปนอโลหะ ⇒ แบง ยอยไดเปน สารสงั เคราะห และสารธรรมชาติ การทําเหมอื งแร โลหะเปน วัสดทุ ถ่ี ูกนํามาใชมากที่สุดในบรรดาวัสดทุ ม่ี อี ยูท ัง้ หมด โดยโลหะเหลา น้ันอยูในสินแร ชนดิ ตาง ๆ ซึ่งจะตองนําสนิ แรมาทาํ การขจัดสิง่ เจอื ปนออก และนําไปผา นกระบวนการผลติ จนกระท่งั ไดว ัสดอุ อกมาใชง าน สนิ แรแบง ออกได 2 ลกั ษณะ คือ 1. การทาํ เหมอื งแรใตด ิน (Underground Mining) 2. การทําเหมืองหลมุ เปด (Open pit Mining) กจิ กรรมการเรยี นการสอน ขั้นตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรยี นหรอื กิจกรรมของนักเรยี น 1. ข้นั นาํ เขาสบู ทเรียน ทักทายแนะนําตัวและแสดงความคุนเคยกบั 1. ทาํ กจิ กรรมสาํ รวจบคุ ลกิ ภาพของตัวเอง ฟง นักเรยี น บรรยายรายละเอียดวชิ า จดุ ประสงคร ายวิชา และบอกรายละเอียดเก่ียวกับการประเมินผล อธิบายรายละเอยี ดรายวชิ าและจุดประสงค รายวิชา รายวชิ า และบอกรายละเอียดการประเมินผล รายวิชา 2. ข้นั บรรยาย บรรยายเก่ียวกบั การแบงประเภทของวสั ดุ 2. ฟงการบรรยายจดบนั ทึกสวนทส่ี ําคญั ลงสมุด การทําเหมอื งแร ตอบคําถามเมอ่ื ถกู ถาม รวมกจิ กรรมที่ผสู อน กําหนด และถามเมอ่ื ไมเ ขาใจในเนื้อหาท่เี รียน 3. ข้ันสรปุ สรปุ ทบทวนเนอ้ื หาโดยการใชค าํ ถามเพ่อื 3. ตอบคาํ ถามกับผสู อนเปนการทบทวนความรู ทบทวนความเขา ใจเกย่ี วกบั เนอื้ หาทเ่ี รยี น โดย ความเขาใจในเรื่องท่ีเรยี น การสุมผูเรียนใหต อบคาํ ถาม สังเกตความสนใจ ซกั ถามปญหาและขอสงสัย
งานที่มอบหมายหรอื กิจกรรม - ทาํ แบบฝก หัดทายบทเรียน กอ นเรียน - เตรยี มหนงั สือ และเอกสารประกอบการสอน - เตรยี มส่อื แผน ใสประกอบการสอน ขณะเรยี น - แจกเอกสารประกอบการเรยี น - สังเกตพฤติกรรมของผเู รยี นในการต้ังใจเรยี นหรือไม - สงั เกตวา ผเู รยี นมีความเขาใจในสิ่งท่ีเรยี นไหม หลงั เรียน - สรปุ เนื้อหาการเรยี น - ใหท าํ แบบฝก หดั ทายบทเรียน ส่ือการเรยี นการสอน - การนาํ เสนอดวย Power Point สื่อสิง่ พมิ พ - เอกสารประกอบการสอนเกย่ี วกบั ประเภทวสั ดตุ าง ๆ สื่อโสตทัศน (ถามี) - แผน ใสแสดงรายละเอียดเนือ้ หารายวชิ า และวธิ ีการวดั ผล - หุนจําลองหรือของจริง (ถา ม)ี การประเมินผล กอนเรียน - ความสนใจ ความพรอมในการเรยี นรู - การใหความรวมมอื ในการตอบคาํ ถาม
ขณะเรยี น - รวมกิจกรรมดวยความกระฉบั กระเฉง เชน ในการตอบคําถาม หรอื การซักถาม - ผูเ รียนฟงการบรรยายจดบันทึกในสว นทสี่ าํ คัญลงสมดุ หลงั เรยี น - ทําแบบฝก หดั หลังเรยี น - สอบยอยทายช่ัวโมงเรียน คาํ ถาม แบบฝก หดั ท่ี 1 1. วสั ดุท่ีใชงานอยูสามารถแบง ออกได 2 ประเภทใหญไ ดแกอ ะไรบาง 2. วสั ดทุ มี่ คี วามสําคญั มากที่สุดตอ งานอตุ สาหกรรม และมีปริมาณการใชง านมากที่สดุ ไดแ ก วัสดุ ประเภทใด 3. เหล็กหลอ จัดอยใู นวัสดปุ ระเภทใด และอยูในกลุม ใด 4. อะลูมเิ นียม,ทองแดง,เปนโลหะทอ่ี ยูในกลมุ ใด 5. ซีเมนต, เซรามิค,แกว เปนอโลหะประเภทใด 6. พลาสติก , ยาง , หนงั เปน อโลหะประเภทใด 7. การทาํ เหมืองแรส ามารถแบงออกได 2 ลักษณะ อะไรบาง 8. การพจิ ารณาความเหมาะสมในการใชงาน ในดานการรับแรง เปน การพิจารณาดา นใด 9. กลมุ เหลก็ มีอะไรบา ง 10. นอกกลุม เหลก็ มีอะไรบาง
แผนการสอน หนวยที่ 2 ช่อื วิชา เทคโนโลยวี ัสดอุ ุตสาหกรรม สอนคร้ังท่ี 2-3 ช่อื หนวย คุณสมบัตแิ ละการทดสอบวสั ดุ ชว่ั โมงรวม 6 ช่ือเรื่อง คณุ สมบตั แิ ละการทดสอบวสั ดุ จํานวนชวั่ โมง 365 หัวขอ เร่ืองและงาน 1. คณุ สมบตั ิของวสั ดุในงานอตุ สาหกรรม 2. การนําไปใชง าน 3. การจดั เกบ็ และการบํารงุ รักษา 4. การตรวจสอบวัสดุแบบทําลายสภาพ 5. การตรวจสอบวัสดุแบบไมท ําลายสภาพ สาระสาํ คญั เมื่อมองรอบ ๆ ตวั เรา จะพบวาสงิ่ ของตาง ๆ ลวนทาํ มาจากวัสดทุ ีต่ า งชนิดกนั ท้ังนี้ ขนึ้ อยู กับความเหมาะสม และปจจัยอนื่ ๆ เชน ความแข็งแรง ความสวยงาม ความทนทาน เปนตน นอกจากน้ี ยังมีการจัดเก็บและการบาํ รุงรักษาท่ีแตกตางกัน ดงั น้นั ในการเลอื กใชว สั ดุใหเหมาะสมกับการใชง านจงึ มีความจําเปน ทตี่ อ งทราบเกี่ยวกับ คุณสมบตั ิรวมถงึ การจัดเกบ็ และการบาํ รุงรักษาของวสั ดุนั้น ๆ ดว ย สมรรถนะท่พี ึงประสงค (ความรู ทักษะ คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ) 1. อธิบายความหมายสมบัตขิ องวัสดุในงานอตุ สาหกรรม 2. เลือกใชวสั ดทุ ่ีเหมาะสมกบั งานไดถ กู ตอง 3. อธบิ ายการจดั เก็บและการบาํ รุงรักษาวสั ดไุ ดถ ูกตอง 4. อธบิ ายการตรวจสอบวัสดุแบบทําลายสภาพไดอยางถูกตอ ง 5. อธิบายการตรวจสอบวสั ดแุ บบไมทําลายสภาพไดอยางถกู ตอง เน้ือหาสาระ คุณสมบัติของวสั ดุในงานอุตสาหกรรม ไดแ ก 1. คุณสมบัติทางเคมี (Chemical Properties) เปนคณุ สมบตั ทิ ีเ่ กี่ยวกับปฏิกิรยิ าทางเคมีของ วสั ดุ การเลอื กวัสดุเพอ่ื นาํ ไปใชใ นงานชาง จะตอ งคาํ นึงถึงคณุ สมบตั ทิ างเคมขี องวสั ดุ ไดแ ก ความ ทนทานตอ การกัดกรอน ความทนทานตออณุ หภูมิ ซ่งึ ตอ งคาํ นึงถงึ สว นผสมทางเคมีตามความ ตอ งการในการใชง าน 2. คุณสมบตั ทิ างฟสิกส (Physical Properties) เปน คุณสมบัติทไ่ี มเ กยี่ วกบั แรงท่ีมากระทํา
แตเก่ียวกับคุณภาพ หรอื คณุ ลกั ษณะของเน้ือวสั ดุ ไดแ ก การนาํ ไฟฟา ความหนาแนน สัมประสทิ ธิ์ การขยายตวั และความตา นทานไฟฟา เปนตน 3. คุณสมบัตทิ างกล ( Mechanical Properties) เปน คณุ สมบตั ิท่ีเกี่ยวกบั ปฏิกิรยิ าท่เี กดิ ขึน้ ของวัสดุ เมอื่ มแี รงจากภายนอกมากระทํา ไดแก ความแข็งแรง ความสามรถในการยืดตวั ความ เหนยี ว เปน ตน คุณสมบตั ิทางกลของวสั ดุเปนคุณสมบตั ิทม่ี ีความสําคัญมาก ดงั น้นั ในการเลอื กใชวัสดุ จะตอง แนใ จวาวัสดุนน้ั สามารถรบั แรงที่มากระทําไดเ พียงพอ คณุ สมบตั ิทางกลที่สําคญั ไดแก ความแข็งแรง (Strength) คอื ความสามารถในการรบั แรง โดยวัสดุไมเ สียรูปทรง แตกรา ว หรือพังทลาย ท้งั น้ี ขนึ้ อยกู บั ความแข็งแรงของวัสดุ โดยวดั เปนแรงตอพืน้ ทีห่ นาตัดของวัสดทุ ีร่ ับแรง มหี นวยเปน ปอนด (PSI) หรือนิวตนั ตอ ตารางเมตร (N/m2) โดยแบง เปน 1. ความแขง็ แรงทางแรงดงึ (Tensile Strength) คอื แรงท่มี ากระทําอยใู นลกั ษณะการ ดึง (Tensile) และแนวแรงต้งั ฉากกับพ้ืนทห่ี นาตดั ของวสั ดทุ าํ ใหว ัสดุออกแรงตา นเเพื่อไมใ หเ กดิ การขาดออกจากกนั 2. ความแขง็ แรงทางแรงกด ( Compressive Strength) คือ แรงท่ีมากระทําอยใู น ลกั ษณะการกดอัด ( Compressive) และแนวแรงต้งั ฉากกบั พื้นที่หนา ตดั ของวัสดุ ทาํ ใหวัสดุออก แรงตา นทานเพ่ือไมใ หเกดิ การแตกหัก 3. ความแขง็ แรงทางแนวเฉอื น (Shear Strength) คือ แรงทม่ี ากระทาํ อยใู นลักษณะการ เฉือน (Shear) แนวแรงจะขนานกบั พื้นท่หี นาตัดของวสั ดุ ทาํ ใหว สั ดุออกแรงตา นเพอ่ื ไมใหถ ูกเฉือน ขาดออกจากกัน 4. ความแขง็ แรงในการรบั แรงบิด ( Torsion Strength) คือ ความสามารถของวสั ดใุ น การตานทานตอ การถูกบดิ ใหหมนุ ไปตามทศิ ทางของแรงท่มี ากระทํา ความเคน (Stress) เมื่อชนิ้ สวนของเครอื่ งจกั รหรือโครงสรา งตา ง ๆ ไดร ับแรงจากภายนอกมากระทาํ จะเกิด แรงตา นภายในจากวสั ดุทใ่ี ชทําชนิ้ สวนเหลา นัน้ ข้ึน แรงตา นที่เกิดขึ้นนีเ้ รยี กวา ความเคน การวัดคา ความเคนจะวัดเปนแรงตอพนื้ ท่หี นา ตัดของชิน้ สวนทร่ี ับแรง ความเคน มี 3 ชนดิ ความเคนแรงดงึ , ความเคน แรงกดและความเคนเฉือน ถาความเคน ท่เี กดิ ขึน้ มคี าตํ่ากวา คา ความแขง็ แรงของวัสดุ แสดงวา ชิน้ สว นน้ันสามารถใชงานตอ ไปได แตถาความเคน ทเี่ กิดขน้ึ มีคาสงู กวาคา ความแข็งแรง ของวัสดุ แสดงวาชิ้นสวนนนั้ ไมส ามารถนําไปใชง านได ถาหากนําไปใชงานจะเกดิ ความเสยี หายขึน้ การคํานวณหาคาความเคน ทเี่ กิดขึ้น สามารถคํานวณไดโดยอาศัยสูตร ดังน้ี σ F= A เมอื่ σ = ความเคน ตัวอยา ง F = แรงที่มากระทาํ ตอ วัสดุ A = พนื้ ทหี่ นาตัดของวสั ดุ
แทงเหลก็ ขนาดเสน ผาศนู ยก ลาง 10 มม. ถูกดึงดวยแรง 500 นวิ ตนั จงหาคา ความเคน ที่ เกดิ ขนึ้ ในแทง เหลก็ นี้ วิธที ํา แรงดงึ ในแทงเหลก็ (F) = 500 นวิ ตัน พ้นื ท่หี นาตดั ของแทงเหล็ก (A) = π x (d)2 4 = π x (10)2 4 = 78.539 มม.2 จากสูตร σ F= A = 500 78.539 ∴ ความเคน ท่ีเกดิ ขน้ึ = 6.366 นิวตัน/มม.2 ความเครยี ด (Strain) การเปล่ยี นแปลงขนาดของวสั ดุ เมอื่ มแี รงมากระทําการวัดคา ความเครียดจะวัดเปน ขนาดทีเ่ ปลย่ี นไปตอขนาดเดิม ความเครยี ดมี 3 ชนิด คือ ความเครียดแรงดงึ , ความเครียดแรง กด และความเครียดเฉือน การหาคาความเครยี ด สามารถคํานวณไดจ ากสูตร ดังนี้ ε=δ 1 เม่ือ ε = ความเครยี ด δ = คาความเปลย่ี นของวสั ดุขนาดวัสดุ 1 = ขนาดเดมิ ของวสั ดุ ตัวอยาง ลวดยาว 1 เมตร ถูกแรงดงึ ทําใหยดื ออก 2 มม. จงหาคา ความเครียดที่เกดิ ข้ึนง วธิ ีทาํ คาความเปล่ียนแปลงขนาด (δ) = 2 มม. ขนาดความยาวเดิม (1) = 1 เมตร = 1,000 มม. จากสตู ร ε= δ l =2 1000
∴ ความเครียดท่เี กิดข้นึ = 0.002 1. ความแข็งแรงของผิว (Hardness) คือ ความสามารถตานทานตอ การถูกขูดขีด หรือกดใหเ ปนรอย โดยมาตรการวดั จะเทยี บกบั เพชร ซ่ึงเปนวัสดทุ ี่แขง็ ที่สุด 2. ความสามารถในการยืดตัว ( Ductility) คือ ความสามารถในการยืด แผข ยาย ออกตวั เปนแผนบาง ๆ โดยไมเกิดการแตกราวไดงา ย 3. ความเหนยี ว (Toughness) คอื ความตานทานตอการแตกหักของวสั ดคุ วาม เหนยี วจึงเปนความสามารถของวัสดใุ นการทีจ่ ะดดู ซมึ พลงั งานที่เกดิ ขน้ึ จากแรงภายนอกท่มี า กระทาํ การวัดคาความเหนียวของวัสดุ อาศัยการทดสอบทางแรงกระแทก (Impact) 4. ความสามารถในการเปล่ยี นรูป (Malleability) คอื การท่วี สั ดุเปลยี่ นรูปอยา ง ถาวร เมื่อไดร บั แรงกดโดยไมเ กดิ ความเสียหายดงั น้นั วสั ดุทมี่ คี วามสามารถในการเปล่ยี นรปู ทีด่ ี สามารถนาํ มาทาํ การรีดขึ้นรูปหรอื การตขี ึ้นรปู ดวยคอนตี โดยไมเกดิ การแตกหักไดดี รูปท่ี 1 การรีดข้นึ รปู วสั ดุ การทดสอบวสั ดุ จากท่ีกลา วมาแลววา ในการเลือกวสั ดุมาใชง าน น้นั จําเปนตองทราบถึงคุณสมบัติของวสั ดุ เสียกอน การที่เราจะทราบคณุ สมบตั ขิ องวัสดุไดจ ะตอ งอาศัยวธิ ีการทดสอบวสั ดซุ ง่ึ เปนการศึกษา ถึงพฤติกรรมของวัสดุ ภาวะใตสภาวะที่กําหนด การทดสอบวัสดุแบง ออกได 2 ลกั ษณะ คอื 1. การทดสอบแบบทําลาย ( Destructive Testing) การทดสอบลักษณะน้ี ชน้ิ วัสดุทดสอบ (Specimen) ที่มาทําการการทดสอบ จะเกิดการชาํ รุดเสยี หาย ไมสามารถนาํ กลบั มาใชใหมได การทดสอบทาํ ลายสวนมากใชสําหรับทดสอบเพือ่ หาคณุ สมบตั ทิ างกลของวสั ดุ 2. การทดสอบแบบไมท ําลาย ( Nondestructive Testing) การทดสอบลักษณะนชี้ นิ้ วสั ดุ ทดสอบจะไมเกดิ การชํารุดเสียหาย ปกติจะใชส าํ หรบั ตรวจสอบหาขอบกพรอ งในวสั ดุ และ ผลิตภณั ฑ
การทดสอบวสั ดแุ บบทาํ ลาย การทดสอบแบบทําลาย มอี ยูห ลายชนิด ในที่นจ้ี ะกลา วเฉพาะการทดสอบทมี่ คี วามสาํ คญั บาง ชนิด ไดแก 1. การทดสอบทางแรงดงึ ( Tensile Test) เปน การทดสอบเพอ่ื ทีจ่ ะหาคาความแขง็ แรงของ วสั ดุ ไดแ ก ความยดื หยุน , ความแขง็ แรงทางแรงดงึ สงู สุด , ความแข็งแรงท่จี ุดคราก ( Yield Strength) รปู ท่ี 2 ช้ินวัสดุทดสอบแรงดงึ ในการทดสอบจะทําการดเพม่ิ แรงแรงดึงขน้ึ ทีละนอ ย และทาํ การบนั ทึกคาความเปลย่ี นแปลง ทีเ่ กดิ ข้ึนระหวาความเคนข้ึนทลี ะนอ ย และทาํ การบนั ทึกคาความเปล่ียนแปลงที่เกดิ ขึน้ ระหวาง ความเคน ( Stress) และความเครียด ( Strain) จนกระท่งั ชนิ้ ทดสอบขาดออกจากกัน จากนั้น นาํ มาเขยี นกราฟแสดงความสมั พันธร ะหวา งความเคนและความเครยี ด รปู ที่ 3 กราฟความสัมพันธร ะหวา งความเคน และความเครียด จากกราฟสามารถนํามาอธบิ ายพฤตกิ รรมของวัสดภุ ายใตสภาวะตา งๆ ทางแรงดึงไดดังนี้ ชว ง 0 - A ลักษณะของเสน กราฟเปนเสนตรง ความสมั พนั ธระหวางความเคน และ ความเครยี ดจะเปน สดั สว นกนั ถาปลอ ยแรงดงึ ออกวสั ดุจะกลับสสู ภาพเดิม จุด A เรียกวา จุด จํากดั ความเปน สว น (Proportional Limit) ชวง A – B ลักษณะของเสนกราฟจะเปน เสนโคงสัน้ ๆ ความสมั พนั ธระหวางความเคน กับ ความเครยี ดท่เี กดิ ข้ึนไมเ ปนสดั สว นกนั ถา ปลอ ยแรงดงึ ออกวัสดุจะกลับสูงสภาพเดมิ จุด เรยี กวา จดุ คราก (Yield strength) ชว ง C – E ลักษณะของเสน กราฟจะเปนเสน โคง ยาว วัสดทุ ีอ่ ยภู ายใตแ รงดึงในชว งนี้จะเกิด
การเปลยี่ นแปลงขนาดอยา งถาวร ถา ปลอ ยแรงดงึ ออกวสั ดจุ ะไมก ลบั คืนสูส ภาพเดมิ จดุ D เปน จุด ที่มคี วามแข็งแรงทางแรงดึงสูงสุด (Ultimate Strength) จุด E เปนจดุ ท่วี ัสดเุ กดิ การขาดออกจาก กนั (Breaking Point) รูปที่ 4 แสดงการขาดของวัสดลุ กั ษณะตา ง ๆ 2. การทดสอบทางแรงกด (Compression Test) เปน การทดสอบเพ่ือหาคา ความแข็งแรง ของวสั ดุ รปู ท่ี 5 การทดสอบทางแรงกด 3. การทดสอบทางแรงกระแทก (Impact Test) เปนการทดสอบเพือ่ ศกึ ษาถงึ พฤติกรรมของ วสั ดุภายใตแรงทีม่ ากระทํา โดยแรงท่ีมากระทาํ น้นั อยูในลกั ษณะแรงเคล่ือนที่ ( Dynamic Load) จดุ มงุ หมายหลักของการทดสอบแรงกระแทก เพอื่ ทีจ่ ะหาความสามารถของวสั ดใุ นการดดู ซมึ พลังงานทีเ่ กดิ จากแรงมากระทาํ ซ่งึ เปนตัวกําหนดคณุ สมบัติทางดา นความเหนียว ( Toughness) ของวัสดุ รูปท่ี 6 เคร่อื งทดสอบแรงกระแทก การทดสอบแรงกระแทก มีอยู 2 แบบ ซึ่งตา งกันตรงวธิ กี ารจบั ยดึ ชิ้นวัสดทุ ดสอบ
3.1. แบบชารป (Charpy) 3.2. แบบไอซอด (Izod) 4. การทดสอบความแขง็ (Hardness Test) การทดสอบความแข็งทใี่ ชใ นอตุ สาหกรรม มอี ยหู ลายวธิ ีดงั น้ี 4.1. การทดสอบความแข็งแบบบรเิ นล (Brinell Hardness) การทดสอบวิธนี ้ีทาํ โดยการกดลกู บอลเหล็กกลา ขนาดเสน ผาศนู ยกลาง 10 มิลลิเมตรลง บนผิววัสดุทท่ี ําการทดสอบ โดยใชแ รงกด 3 ,000 สําหรับวัสดแุ ข็ง และ 500 กิโลกรัมสําหรับวสั ดุ ออน ทาํ การกดประมาณ 30 วนิ าที หลงั จากน้นั ทาํ การวัดขนาดเสนผาศนู ยกลางของรอยกดเพ่อื นาํ มาคํานวณหาคา ความแขง็ BHP = 2P πD(D - √ D2 - d2) เมอ่ื BHP = คา ความแข็งบริเนล P = แรงท่ใี ชก ดลูกบอลเหล็กกลา D = ขนาดเสน ผาศูนยก ลางลกู บอลเหลก็ ลา d = ขนาดเสนผาศูนยก ลางของ รปู ท่ี 7 รอยกดจากการทดสอบความแขง็ รปู ท่ี 8 เครอ่ื งทกสอบความแขง็ บรเิ นล 4.2. การทดสอบความแขง็ แบบบรอ คเวล (Rockwell Hardness Test)
การทดสอบความแขง็ วิธนี ี้ อาศัยหัวกด 2 ชนิด คอื หวั กดเพชรทมี่ ีลักษณะทรงกรวยและหัว กดลกู บอลเหล็กกลาขนาดเสน ผา ศูนยก ลาง 1 /16 และ 1/8 น้ิวแรงที่ใชก ด 60 , 100 และ 150 กโิ ลกรมั ขนึ้ อยูกบั สเกลมาตรฐาน และหัวกดทใ่ี ช รปู ท่ี 9 เครื่องทดสอบความแขง็ แบบบรอคเวล 4.3. การทดสอบความแขง็ แบบวคิ เกอร (Vickers Hardness Test ) การทดสอบความแขง็ วิธนี อ้ี าศัยหัวกดเพชรรูปปร านดิ ซ่งึ มมี มุ 136 ทําการลงบนวสั ดุ จากนัน้ วดั พน้ื ที่ของรอยกดท่เี กดิ ข้ึน 4.4. การทดสอบความแข็งแบบชอร (Shore Schleroscope Test) การทดสอบวธิ นี ท้ี าํ โดยการปลอ ยกอ นนาํ้ หนักจากระดับความสงู ที่กําหนดไวใ หลงมา กระทบวสั ดทุ ที่ าํ การทดสอบ กอนน้ําหนกั จะกระดอนกลับข้ึนไป ซงึ่ จะทําการวดั ความสงู นไี้ ว โดยมี สเกลวดั คาความสูงต้งั แต 1 ถงึ 100 ลักษณะ 4.5. การทดสอบความลา (Fatigue Testing) ความเสียหายของช้นิ สวนเครือ่ งจักรและโครงสรา งตา ง ๆ บางคร้ังมผี ลเนื่องมาจากการ รบั แรงทมี่ ากระทาํ ซ้ํา ๆ กนั ตลอดเวลา ทาํ ใหค าความเคน สะสมเพิ่มขน้ึ เรือ่ ย ๆ และคอ ย ๆ ขยาย เพม่ิ ข้นึ ทลี ะนอ ยจนถงึ จดุ ท่ที ําใหเกิดความเสยี หายข้นึ การทดสอบแบบไมท ําลาย การทดสอบแบบไมทําลาย จะมลี ักษณะเปน การตรวจสอบหาจุดบกพรอ งของวสั ดุและ ผลติ ภัณฑเ ปน สว นใหญ การทดสอบแบบไมทาํ ลายมีอยูห ลายชนดิ ไดแ ก 1. การทดสอบดว ยตาเปลา (Visual Examination Test) การทดสอบวิธนี ้ีเปน วธิ ีทเ่ี กาทส่ี ุดและใชม ากในการตรวจสอบหาจดุ บกพรอ งท่ีเกิดขนึ้ บนผวิ วสั ดุ เชน ตรวจสอบรอยรา ว เปน ตน 2. การทดสอบโดยการฉายรังสี (Radiographic Tests) การทดสอบวิธนี ี้ ทําโดยการฉายรังสีผานวสั ดุทีท่ ําการทดสอบ จดุ บกพรอ งของวัสดจุ ะปรากฏ ภาพออกมาใหเหน็ 3. การทดสอบดวยคลน่ื เสียง (Ultrasonic Tests) อาศยั คลนื่ เสียงสง ผา นไปยงั ชนิ้ ทดสอบ ถา ภายในชนิ้ ทดสอบมีจดุ บกพรอ งเกดิ ข้นึ คลืน่ เสียง จะไปกระทบและจะสง คลื่นกลับมายังเครอ่ื งวัด
รูปท่ี 10 การทดสอบดวยคลืน่ เสยี ง 4. การทดสอบดว ยแมเ หล็ก (Magnetic Tests) เปนการวิเคราะหถ งึ คุณลกั ษณะทางแมเ หล็กของวสั ดุ ซ่ึงมีความสัมพันธก บั สวนผสมของวัสดุ ดังนนั้ ถา คณุ ลักษณะทางแมเ หลก็ ของวัสดนุ นั้ ในการทดสอบจะใชผงเหล็กในการสงั เกตการ เปล่ียนแปลงของสนานแมเ หล็กท่เี กิดขนึ้ รูปท่ี 11 การตรวจสอบรอยรา วโดยการทดสอบแมเหล็ก สรปุ เนอ้ื หา คณุ สมบัตขิ องวสั ดุ 1. คุณสมบัติทางเคมี เปนคณุ สมบัติทีเ่ กยี่ วกบั ปฏกิ ริ ิยาทางเคมีของวัสดุ 2. คณุ สมบัติทางฟส กิ ส เปนคณุ สมบัตทิ ่ไี มเ กยี่ วกบั แรงทม่ี ากระทํา แตเ ก่ียวกับคุณภาพหรอื คุณลกั ษณะของเนื้อวสั ดุ 3. คุณสมบัติทางกล เปนคณุ สมบัตทิ เี่ กี่ยวกบั ปฏิกิริยาท่ีเกดิ ข้นึ ของวสั ดุ เม่อื มีแรงจาก ภายนอกมากระทาํ การทดสอบแบบทําลาย (Destructive Testing) การทดสอบลักษณะนี้ ช้นิ วสั ดทุ ดสอบ (Specimen) ทมี่ าทาํ การการทดสอบ จะเกดิ การ ชาํ รุดเสยี หาย ไมสามารถนํากลบั มาใชใหมไ ด การทดสอบทาํ ลายสว นมากใชสําหรบั ทดสอบเพื่อ หาคุณสมบตั ทิ างกลของวัสดุ การทดสอบแบบไมท าํ ลาย (Nondestructive Testing)
การทดสอบลกั ษณะนีช้ ิ้นวสั ดทุ ดสอบจะไมเกดิ การชาํ รดุ เสียหาย ปกตจิ ะใชสาํ หรบั ตรวจสอบ หาขอบกพรอ งในวสั ดุ และผลิตภณั ฑ กิจกรรมการเรยี นการสอน ข้ันตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของครู ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรยี น 1. ขน้ั นําเขาสบู ทเรียน ทักทาย แนะนาํ ตัว และแสดงความคุนเคย 1. ทํากิจกรรมสํารวจบุคลิกภาพของตัวเอง กบั นักเรยี น ฟง บรรยายรายละเอียดวชิ า จุดประสงค รายวิชา และบอกรายละเอียดเกยี่ วกับการ อธิบายรายละเอยี ดรายวชิ าและจุดประสงค ประเมนิ ผลรายวิชา รายวชิ า และบอกรายละเอยี ดการประเมนิ ผล รายวิชา 2. ข้ันบรรยาย บรรยายเกย่ี วกบั สมบตั ขิ องวัสดุในงาน 2. ฟงการบรรยายจดบันทึกสวนทส่ี ําคัญลง อุตสาหกรรมการนําไปใชง านการจดั เกบ็ และการ สมดุ ตอบคาํ ถามเม่ือถกู ถาม รวมกจิ กรรม บาํ รุงรกั ษาการตรวจสอบวสั ดุแบบทําลายสภาพ ท่ผี สู อนกาํ หนด และถามเมื่อไมเ ขา ใจใน การตรวจสอบวัสดุแบบไมทาํ ลายสภาพ เน้ือหาที่เรียน 3. ขัน้ สรปุ สรปุ ทบทวนเนื้อหาโดยการใชค าํ ถามเพือ่ 3. ตอบคาํ ถามกับผูสอนเปน การทบทวน ทบทวนความเขา ใจเก่ียวกับเนอ้ื หาท่เี รียน โดย ความรูความเขา ใจในเรอ่ื งที่เรยี น การสุมผูเรียนใหตอบคําถาม สังเกตความสนใจ ซกั ถามปญหาและขอ สงสยั งานทมี่ อบหมายหรือกจิ กรรม - ทําแบบฝก หดั ทายบทเรยี น
กอ นเรียน - เตรยี มหนงั สอื และเอกสารประกอบการสอน - เตรยี มสื่อแผน ใสประกอบการสอน ขณะเรยี น - แจกเอกสารประกอบการเรยี น - สงั เกตพฤตกิ รรมของผเู รียนในการต้งั ใจเรยี นหรอื ไม - สงั เกตวา ผเู รยี นมีความเขา ใจในสิ่งที่เรยี นไหม หลังเรียน - สรุปเนือ้ หาการเรยี น - ใหทําแบบฝกหดั ทายบทเรยี น สอ่ื การเรียนการสอน - การนําเสนอดว ย Power Point สือ่ สิง่ พมิ พ - เอกสารประกอบการสอนเกีย่ วกับประเภทวัสดุตา ง ๆ สอื่ โสตทศั น (ถามี) - แผนใสแสดงรายละเอียดเนอื้ หารายวิชา และวธิ กี ารวดั ผล - หุนจาํ ลองหรอื ของจริง (ถาม)ี การประเมินผล กอนเรยี น - ความสนใจ ความพรอ มในการเรียนรู - การใหค วามรว มมอื ในการตอบคาํ ถาม ขณะเรยี น - รวมกิจกรรมดวยความกระฉบั กระเฉง เชน ในการตอบคาํ ถาม หรือการซกั ถาม - ผเู รยี นฟงการบรรยายจดบนั ทกึ ในสว นทสี่ ําคญั ลงสมดุ
หลังเรียน - ทําแบบฝกหดั หลงั เรยี น - สอบยอ ยทา ยช่วั โมงเรียน คําถาม แบบฝก หดั ที่ 2 1. คณุ สมบตั ิของวัสดุ แบงออกได 3 ลักษณะ ไดแ ก คณุ สมบัตใิ ดบา ง 2. คาความรอนจําเพาะ , ความแนน และความสามารถในการทําความเย็นจัดอยใู นคุณสมบตั ิใด 3. ความแข็งแรง , ความแขง็ , ความสามารถในการยืดตัวจดั อยใู นคณุ สมบตั ิใด 4. ความแข็งของวสั ดุ แบงออกได 3 ชนดิ ตามลักษณะของแรงท่ีมากระทาํ ไดแกความแขง็ แรง ทางดานใด 5. มาตรฐานการวัดความแข็ง โมหสเกล แบงออกไดกีห่ มายเลขอะไรบา ง 6. เพชร มีคา ความแขง็ โมหส เกล หมายเลขใด 7. ทัลค มีคา ความแข็งโมหส เกล หมายเลขใด 8. จงใหเหตผุ ลวา เพราะเหตใุ ดจึงตองมกี ารทดสอบวัสดุ 9. การทดสอบทางแรงดงึ (Tensile Test) เปน การทดสอบประเภทใด 10. การทดสอบหาจุดบกพรอ ง โดยการ X-Ray เปนการทดสอบประเภทใด 11. กราฟที่ไดจากการทดสอบแรงดึง จะบอกใหทราบถงึ อะไรบาง 12. การทดสอบทมี่ ลี ักษณะแรงเคลอ่ื นที่ (Dynamic Load) คอื การทดสอบชนดิ ใด
แผนการสอน หนว ยท่ี 3 ชื่อวิชา เทคโนโลยวี สั ดุอตุ สาหกรรม สอนครงั้ ที่ 4-5 ชอ่ื หนวย เหล็กดบิ ชั่วโมงรวม 6 จาํ นวนชั่วโมง 3 ชื่อเรอื่ ง เหลก็ ดบิ หัวขอ เรอื่ งและงาน 1. วัตถุดบิ ทีใ่ ชใ นการถลุงเหลก็ ดบิ 2. การปรับปรุงสนิ แรเ หลก็ 3. เตาสูง 4. ปฏกิ ริ ิยาท่เี กดิ ข้ึนภายในเตาสูง 5. สวนผสมของเหลก็ ดบิ สาระสําคญั สนิ แรเ หล็กท่ขี ดุ ข้ึนมาโดยกรรมวธิ ีการทําเหมืองแร มลี ักษณะเปน เหลก็ ไมบรสิ ุทธิ์จึงไมอาจนํามาใชงานไดทนั ทีเนือ่ งจ สง่ิ เจือปนอยู โดยเฉพาะออกซเิ จน ซ่ึงมอี ยูเปน จาํ นวนมากในสินแรเ หล็ก ออกซเิ จนเหลานจี้ ะอยใู นรูปของเหล็กออกไซด ดังนั้น กอ นทจี่ ะนําสินแรเ หล็กไปใชงานประโยชน จะตองทําการขจดั ออกซิเจนทําโดยการถลงุ สินแรเ หล็กภายในเตาส (Blast Furnace) ลกั ษณะ ดงั รูป รปู ท่ี 1 ลักษณะภายนอกของเตาสูง สมรรถนะท่พี ึงประสงค (ความรู ทกั ษะ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี ) 1. สามารถอธิบายความหมายของเหล็กดบิ ไดอ ยางถกู ตอ ง 2. สามารถบอกสว นประกอบของเตาสูงไดอยางถูกตอง
เนือ้ หาสาระ การถลงุ สินแรเ หล็กเปนข้ันตอนแรกของกระบวนการผลิตเหล็ก เหล็กท่ไี ดจากเตาสงู เรียกวา เหล็กดบิ ซงึ่ เปน วตั ถดุ บิ ที่นาํ ไปใชง านในการผลติ เหลก็ หลอ และและเหล็กกลาในขั้นตอนตอไป วตั ถุดิบที่ใชในการถลงุ เหลก็ ดิบ วัตถดุ บิ ที่ปอ นเขา เตาสงู เพื่อทาํ การถลุงจนไดผลผลติ ออกมาเปนเหล็กดบิ ประกอบดว ย วัตถุดบิ หลัก 6 ชนดิ คือ สนิ แรเ หลก็ ,ถา นโคก ,หนิ ปูนและอากาศ สินแรเหล็ก (Iron Ore) สนิ แรเหลก็ เปนวตั ถดุ ิบหลักทีใ่ หเ น้ือเหล็กออกมาจากทาํ การถลุง สินแรเหลก็ ถกู ขุดขน้ึ มาจากพืน้ โลกโดย กรรมวิธกี ารทําเหมอื งแร 1.1. แมกนไี ตท (Magnetite) เปน สินแรเหลก็ ที่มีคณุ สมบัตคิ วามเปนแมเ หลก็ สูง มีสนี ํา้ ตาลประมาณเหลก็ ท่ี ผสมอยูภายในสินแรประมาณ 65% มรี าคาแพง และขดุ พบนอยกวาชนดิ อน่ื แมกนไี ตท Fe2O4 1.2. เฮมาไตท (Hematite) สนิ แรเ หลก็ ชนิดนีม้ ีสแี ดง ไมมีคณุ สมบตั ิความเปน แมเหลก็ มปี รมิ าณเหล็ก ผสมอยูประมาณ 50% เฮมาไตทมสี ตู รทางเคมีวา Fe2O3 1.3. ทาโคไนท (Taconite) สินแรเ หลก็ ชนดิ นีป้ กตมิ สี เี ขียว มคี ณุ สมบัตคิ วามเปนแมเหลก็ สูง มีปรมิ าณ เหล็กผสมอยูนอยกวาแมกนไี ตท , เฮมาไตท โดยมเี หลก็ ผสมอยปู ระมาณ 30 % ซลิ กิ าผสมอยเู ปนจํานวนมาก เปนสนิ แร เหลก็ ทีม่ รี าคาถูกนอกจาน้ีแลว ยงั มีสินแรเ หล็กอีกหลายชนิดทใี่ ชในการถลุงเหลก็ ดิบ
1.4. ถานโคก เปน เช้ือเพลิงหลกั ท่ใี ชใ นการถลงุ เหลก็ นอกจากนัน้ ยงั เปน สารท่ที ําใหป ฏกิ ริ ยิ าทางเคมภี ายในเตา เปนไปอยางสมบูรณขณะทาํ การถลงุ 1.5. หนิ ปูน (Limestone) หรือมีชือ่ ทางเคมีวา แคลเชียมคารบอเนต ( CaCo3) เปนวัตถดุ บิ ท่ีมีคงวามสาํ คัญอกี อยา งหนึ่งในการผลิตเหล็กดิบท่ตี องใสห นิ ปนู ลงไป กเ็ พอื่ ใหท าํ หนาที่เปนฟล๊กั (Flux) แยกสารเจือปนในสนิ แรเหลก็ ออก 1.6. เศษเหล็ก (Scrap Iron ) สาเหตทุ ่ีตองใสเ ศษเหลก็ ทผ่ี านการถลุงมาแลวครั้งหนึ่งลงไปดวยเน่ืองจาก ตอ งการประหยดั สินแรท าํ ใหล ดตน ทนุ การผลิตลง แตเศษเหลก็ ท่ีใสล งไปนน้ั จะมีการคดั เลือกเหลก็ ทีม่ ีสารเจือปนจําพวก ที่มใิ ชเ หลก็ (Non ferrous) เชน สงั กะสี ดบี กุ ฯลฯ ใหป ะปนอยนู อยทส่ี ุดเพราะสารเหลา นีท้ ําใหเ กิดปฏกิ ิริยาภายใน เต 1.7. อากาศ เปน วัตถดุ บิ ที่สาํ คญั อกี อยา งหนงึ่ เนอื่ งจากในการเผาไหมภ ายในเตาตองการออกซิเจนเขา ไป ชว ยในการเผาไหมเ ปนอยา งมาก แหลงออกซเิ จนทหี่ างา ยท่สี ุด คอื จากอากาศทใี่ ชหายใจน่นั เอง
1.8. นา้ํ ใชส าํ หรบั ระบายความรอนบริเวณเปลอื กเตาซึง่ ทําดวยดว ยแผน เหล็ก น้ําทใ่ี ชต อ งเปน น้ําสะอาด โดยท่วั ไปอาจใชน ํ้าจากแมนาํ้ ลําคลองแตไ มค วรใชนํ้าทะเล เพราะอาจกดั กรอนช้ินสวนของเปลอื กเตาใหชํารุดไดง า ย การถลุงสนิ แรเ หลก็ โดยใชเ ตาสูง เตาสูง (Blast Furnace) หรอื เตาลมพน มีลกั ษณะคลา ยปลอยปลองไฟ ขนาดประมาณ 10 x 10 x 30 ม. มีลักษณะปลองกลาง ปากและกน เตาเรยี ว เปลอื กนอกเปน เหลก็ แผน ผนงั ภายในเตาเรียงดวยอฐิ ทนไฟ มลี มรอนเปา เขา ตรงกลางบริเวณหลอมละลาย อุณหภูมปิ ระมาณ 1600 - 1900 C จะทํางานตลอด 24 ชัว่ โมง ราว ๆ 10 ปจ ะ หยดุ ซอมแซม ข้ันตอนการเตรยี มแร 1. นําสินแรไ ปลาง หิน ดิน ทราย 2. บดใหเปนผงละเอยี ด 3. แยกเฉพาะผงเหล็กโดยใชแมเ หลก็ 4. ผสมผงถาน หินปูน 5. อบไลความชื้น 6. อัดใหเ ปน กอนกลมขนาด 10 – 15 มม. วิธีการถลุงเหล็กดิบ สินแรเหลก็ หนิ ปูน และถา นโคก จะถกู ปอ นทางดานบนของเตาเรยี งแยกกนั เปนชั้น ๆ ความรอ นในการถลงุ ได จากการเผาไหมข องถานโคก โดยมีลมรอนเปาจากดา นลางของเตาเพ่อื ชวยในการเผาไหมและหินปนู จะรวมตวั กับสาร มลทนิ และสง่ิ สกปรกตาง ๆ เกิดเปนฟองขีต้ ระกรนั ลอยอยดู า นบน สวนเนอ้ื เหลก็ จะรวมตัวกับคารบ อนในถา นโคกแลว จมลงดานลาง จากนั้นกจ็ ะรใู หน ้ําเหล็กไหลออกมาลงพิมพทีเ่ ตรียมไวจ ะไดเ หลก็ เปน แทง ที่เรียกวา เหลก็ ดิบ กรรมวธิ ีการผลิตเหลก็ กลา 1100 – 1600 การผลติ เหลก็ กลา เปน กระบวนการทีต่ อ งการเหลก็ ที่มคี ารบ อน 0.1 – 1.5% และใชอ ุณหภูมิ องศาเซลเซยี ส และพยายามลดสารมลทินออกใหมากท่สี ุด วตั ถดุ ิบทใ่ี ชในการผลิตเหล็กกลา 1. เหลก็ ดบิ (Pig Iron) 2. เศษเหล็กกลา (Steel scrap) 3. สารทเี่ ติมเพื่อปรบั ปรุงคณุ สมบัตเิ หล็กการหลอมดวยเตาไฟฟา (Electrical furnace)
วิธนี ้จี ะใชเ หลก็ กลาที่ไดจากเครือ่ งจักรมาบรรจลุ งเตา แลว อาศัยการอารคจากประกายไฟ ( Electric Arc) ท่โี ดย จากแทงคารบอนมายงั เหลก็ เกิดการหลอมละลายเปนน้าํ โลหะ และหนิ ปนู จะรวมตวั กับสารมลทินกลายเปน ข้ีตะกรนั ลอยอยูด านบน เน่ืองจากเตาไฟฟา สามารถใหความรอ นไดร วดเรว็ และไดอณุ หภมู สิ งู จึงไดรับความนิยมมาก การหลอมดว ยเตาเบสเซมเมอร ( Bessemer Furnace) เตาเบสเซมเมอร จะมลี กั ษณะคลายถังขนาดใหญตง้ั อยูบนขา 2 ขา หมนุ ไดรอบแกน เปลือกเตาเปนเหลก็ ภายในจุ ดว ยอิฐทนไฟ มีรูลมอยดู า นลา งการผลติ ลา ทาํ โดยรับนาํ้ เหล็กจากเตาสูง แลว มาเติมธาตตุ า ง ๆ ลงไปตามชนิดของ เหล็กกลา ท่ีจะผลติ นน้ั ๆ การหลอมดว ยเตาเปา ออกซเิ จนโดยตรง (Direct Oxygen ) เปน การพฒั นามาจากเตาเบสเซมเมอร โดยพน อากาศซึง่ มีออกซเิ จน แลไนโตรเจน เขา ไปแลว ไนโตเจนจะทํา ปฏิกิริยากบั เหล็กทาํ ใหเ หลก็ แขง็ เปราะ หลักการทํางาน คอื เติมน้ําเหล็กดิบ เศษเหล็กกลา ลงไปแลว เปาอากาศเขา ไป เตมิ หินปนู การหลอมดว ยเตากระทะ (Open Hearth) เปนที่ใชเชอื้ เพลิงในการเผาไหม โดยทําทอไว 2 ขา ง ๆ ละ 2 ทอ เปน ทอ ของลมรอน และกาซรอนโดยพนเขาไป ทําใหเ กดิ อณุ หภมู ิสงู วตั ถุดบิ คอื เศษเหลก็ กลา และนํา้ มนั ดบิ 50 – 50% หรอื เศษเหลก็ กลา เพียงอยา งเดียวก็ได กรรมวธิ ีการผลิตเลก็ หลอ เหลก็ หลอเปน วสั ดทุ ่ขี ึ้นรูปดว ยการหลอ มีอยหู ลายชนดิ แตกตางกนั ตามกรรมวธิ ีการผลติ เหลก็ หลอการผลิตจาก เหล็กดบิ ผสมเศษเหล็กหลอ และเศษเหล็กกลาเกา ๆ โดยนํามาเผารวมกบั ถานโคกและหินปูนในเตาคิวโพโบลาจนหลอม ละลายแลว เทลงในแบบหลอ การหลอมละลายดวยเตาควิ โพลา (Cupola Furnace) มีลักษณะคลายเตาสูง แตเ ลก็ กวาเปน รูปทรงกระบอก เปลือกเตาทําจากเหล็กเหลก็ แผนภายในเรยี งดวยอฐิ ทนไฟ มี ทอ ลมเพ่อื ชวยในการลกุ ไหมจากกนเตา มีประตูสาํ หรบั บรรจุวตั ถดุ ิบเขาเตา และทีก่ นเตามบี านพับทเ่ี ปด - ปดได สาํ หรับเอาเศษทีเ่ หลอื จากการหลอออก โดยขณะหลอมจะปดแลว ใชเ สาคาํ้ ยนั ไว ฟนกน เตาจะเปนทรายท่ีกระทงุ แนนมี ความลาดเอยี งมรี สู าํ หรับเจาะใหน ํา้ โลหะไหลออกมาได โดยท่ัวไปแลว เตาควิ โพลา มีขนาดประมาณ 12 - 24 ม. เสน ผา ศูนยก ลางนอก 0.6 - 3.0 ม. และใน 0.4-2.5 ม. วัตถดุ ิบทใ่ี ชในการผลิตเหล็กหลอไดแก 1. เหล็กดิบ (Pig Iron) 2. เศษเหลก็ เหนียว (Steel Scrap) 3. เศษเหล็กหลอ (Cast Iron Scrap) 4. ฟล๊ักซ (หนิ ปนู ) 5. ถา นโคก 6. ถานไม หรือเชอ้ื เพลิงอื่น วิธีการหลอมเหลก็ หลอ
ในการหลอมเหลก็ หลอ กระทาํ โดย ใสวัตถุดิบลงเปน ช้นั ๆ ไดแ ก ถานไม ถานโคก ฟลก๊ั ซ เศษเหล็กหลอ และเหลก็ เหล็กกลา โดยตอ งเรียงตามลําดับ คือ ไดแ ก ถานไม ถา นโคก ฟล๊ักซ เศษวัสดุ (เหลก็ หลอและเหล็กเหล็กกลา) แลวเติม ถานไม ถานโคก ฟล๊กั ซ เศษวัสดุ ไปเรื่อย ๆ จนเต็มเตา โดยถา นไมจะชวยในเร่ืองการลกุ ตดิ ไฟถา นโคกเปน เช่ือเพลงิ และใหคารบ อนแกเ น้ือโลหะฟล๊ักซน ิยมใชห ินปูน ทาํ หนาท่รี วมกับสารมลทนิ ใหอ อกมาในรปู ของ ตะกรนั (Slag) เมือ่ ปฏบิ ัตติ ามขน้ั ตอนแลว รอใหเกดิ การละลายทว่ั ท้งั เตา แลว เจาะรเุ อานา้ํ โลหะไปเทลงแบบทเ่ี ตรียมไว การปรับปรงุ สินแรเ หลก็ สนิ แรเหล็กท่ขี ุดข้นึ มาจากพื้นโลกจะมีส่ิงตา ง ๆ เจือปนอยู เชน ดิน หนิ ทรายจึงไมส ามารถนําไปทําการลงทนุ ใน กระบวนการผลติ เหล็กลง ดงั นั้น เพอื่ เปนการเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพตลอดจนเปน การลดตนทุนในกระบวนการ ผลิตเหลก็ ลง สินแรเหลก็ ทีจ่ ะนาํ มาทาํ การถลงุ จะตองไดร ับการปรับปรุงกอ น เพ่อื เพม่ิ เปอรเ ซน็ ตของเหล็กใหสูงข้นึ การปรับปรุงสินแรเหลก็ เปนการขจดั สงิ่ เจือปนตาง ๆ ออก ซ่งึ ประกอบดวยกระบวนการบดสินแร (Crushing) , การแยก สินแร( Screening) และการลางสนิ แร (Washing) ขนั้ ตอนหลัก 4 ข้นั ตอน 1. การบดสินแรเหล็ก นําเอาสินแรเ หลก็ ท่จี ะทําการถลุงมาทําการบดใหเ ปน ผงละเอียด 2. การแยกสนิ แรเ หล็ก นาํ เอาผงเหลก็ แรเหล็กมาทําการแยกเอาสิ่งเจือปนออกโดยอาศยั เครอื่ งแยกแบบแมเ หล็ก (Magnetic Separator) ซ่งึ จะดูดผงแรเ หล็กไว 3. การอดั ขนึ้ รปู สนิ แรเหลก็ จากผงสินแรเ หลก็ มาทําการแยกดว ยเครื่องแยกแมเหลก็ จะไดผ งสนิ แรเหลก็ ที่มีเหล็ก ผสมอยูประมาณ 60 - 65% ซ่งึ ยงั ไมส ามารถนําไปทําการถลุงภายในเตาสงู ได เนอ่ื งจากจะเกดิ การฟงุ กระจายเมื่อทํา การเปาอากาศรอ นเขา ไป ดังน้นั จะตอ งนําเอาผงเหลก็ มาทาํ การอัดขน้ึ รูปในลกั ษณะกอนกลมการอบ สนิ แรเหล็กที่ ผา นการอัดขึน้ รปู แลว จะถูกนํามาผานกรรมวิธกี ารอบดว ยความรอนทีเ่ รยี กวา กรรมวธิ ซี ินเตอร ( Sintered) ทีอ่ ุณหภมู ิ 8,400 F เพอ่ื ใหเกิดความแขง็ แรงไมแตกออกเปน ผงในขณะขนยา ย ปฏกิ ริ ยิ าทีเ่ กิดขึ้นภายในเตาสูง หลังจากทําการบรรจวุ ตั ถุดิบเขาไปในเตาสูง และทาํ การจุดถา นโคก จากน้นั เปาลมรอนเขาไปภายในเตา ลมรอน จะชวยใหถ านโคก ลกุ ไหมท าํ ใหเ กิดกา ซคารบ อนมอนนอกไซด (CO) ขึ้นเปนจํานวนมาก กา ซคารบอนมอนนอกไซด ท่จี ะ ไปทําใหเกดิ ปฏิกริ ยิ าขนึ้ ภายในเตาสูง โดยจะนาํ เอาออกซิเจนทีอ่ ยใู นสนิ แรเหลก็ ออกมาสําหรับปฏกิ ริ ิยาทเี่ กดิ ขนึ้ ที่ เปนไปได ดังน้ี Fe2O3 + 3CO 2Fe+3CO2 Fe2O3 + 3C 2Fe+3CO ขณะท่ีวัตถุดบิ เคลื่อนตัวลงมาใกลส ว นหลอมละลาย อณุ หภูมิของวตั ถดุ ิบจะเพ่มิ ขึ้นเหล็กดบิ จะมลี กั ษณะเปนรูพรุน เน่อื งจากออกซเิ จนที่อยภู ายในสนิ แรเ หลก็ ถูกขจัดออกซง่ึ สภาวะเชนนเ้ี หลก็ จะดูดซมึ เอาคารบอนเขา มาเปน จาํ นวนมาก ทําใหจุดหลอละลายของเหลก็ ต่าํ ลง และจะละลายเปน เหลก็ ดิบไหลลงมายงั สวนกน เตา
สว นผสมของเหลก็ ดบิ ธาตุทผี่ สม ปรมิ าณ (%) คารบ อน 3.0-4.5 แมงกานีส 0.15-2.5 ซิลกิ อน 1.0-3.0 ซลั เฟอร 0.05-0.1 ฟอสฟอรสั 0.1-2.0 สรุปเนือ้ หา เหล็กท่ีนาํ ไปใชประโยชนนน้ั จะตอ งนาํ สินแรเหล็กตา งๆมาผา นวิธกี ารถลุง เพ่ือทาํ การแยกเหลก็ ออกจากส่ิงเจอื ปน ทม่ี ีอยตู ามธรรมชาติ จึงจะไดเหลก็ ดิบซ่งึ เปน วตั ถุดบิ ทจ่ี ะนาํ ไปผลติ เหล็กกลา และผลติ ออกเปนเหล็กหลอเพื่อนาํ ไปใช ประโยชนในชางอตุ สาหกรรม ซ่งึ ในกรรมวีการผลิตทไ่ี ดอ อกมาเปน วัสดุเหลก็ ตาง ๆ กรรมวิธีการผลติ เหลก็ ดิบการถลงุ สินแรเหลก็ โดยใชเตาสูงในการผลิตเหล็กตา ง ๆ ผลิตโดยใน เตาหลอมมีหลายชนิดซง่ึ ในการหลอมเราควรเลือกใชเ ตาในการหลอมท่ีเหมาะส กจิ กรรมการเรยี นการสอน ขั้นตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของครู ข้ันตอนการเรียนหรอื กจิ กรรมของนักเรียน 1. ขน้ั นาํ เขา สบู ทเรยี น ทกั ทายแนะนําตวั และแสดงความคนุ เคยกับนกั เรียน 1. ทาํ กจิ กรรมสาํ รวจบุคลิกภาพของตวั เอง ฟง บรรยาย อธิบายรายละเอียดรายวชิ าและจุดประสงค รายละเอียดวชิ า จุดประสงครายวิชา และบอก รายวชิ า และบอกรายละเอยี ดการประเมนิ ผลรายวชิ า รายละเอียดเกยี่ วกบั การประเมนิ ผลรายวิชา 2. ขั้นบรรยาย บรรยายเกี่ยวกบั วัตถุดิบทีใ่ ชในการถลงุ เหลก็ ดิบ 2. ฟงการบรรยายจดบันทกึ สว นท่สี าํ คัญลงสมุด ตอบ การปรับปรุงสนิ แรเ หล็กเตาสูงปฏกิ ิริยาที่เกิดข้ึนภายใน คําถามเมือ่ ถูกถาม รว มกิจกรรมที่ผูสอนกําหนด และถาม เตาสูงสวนผสมของเหลก็ ดบิ เมื่อไมเ ขาใจในเนือ้ หาท่ีเรยี น 3. ขั้นสรุป สรุป ทบทวนเน้ือหาโดยการใชคําถามเพือ่
ทบทวนความเขา ใจเก่ียวกับเนอ้ื หาทเ่ี รยี น โดยการสมุ 3. ตอบคาํ ถามกบั ผสู อนเปน การทบทวนความรคู วามเขาใจ ผูเรียนใหต อบคาํ ถาม สังเกตความสนใจ ซักถาม ในเรอ่ื งทเ่ี รยี น ปญหาและขอ สงสยั งานทมี่ อบหมายหรือกจิ กรรม - ทาํ แบบฝก หัดทา ยบทเรยี น กอนเรยี น - เตรยี มหนงั สอื และเอกสารประกอบการสอน - เตรยี มสื่อแผนใสประกอบการสอน ขณะเรียน - แจกเอกสารประกอบการเรยี น - สงั เกตพฤตกิ รรมของผูเรียนในการต้งั ใจเรียนหรอื ไม - สงั เกตวา ผเู รยี นมคี วามเขาใจในส่ิงทเ่ี รยี นไหม หลังเรียน - สรปุ เนือ้ หาการเรยี น - ใหท ําแบบฝกหัดทายบทเรยี น ส่อื การเรยี นการสอน - การนําเสนอดวย Power Point สื่อสง่ิ พิมพ - เอกสารประกอบการสอนเก่ยี วกับประเภทวสั ดตุ าง ๆ สอ่ื โสตทัศน (ถา มี) - แผนใสแสดงรายละเอียดเน้อื หารายวชิ า และวธิ กี ารวัดผล - หนุ จําลองหรอื ของจริง (ถา ม)ี
การประเมินผล กอ นเรียน - ความสนใจ ความพรอ มในการเรยี นรู - การใหค วามรว มมอื ในการตอบคาํ ถาม ขณะเรียน - รว มกิจกรรมดวยความกระฉบั กระเฉง เชน ในการตอบคาํ ถาม หรอื การซกั ถาม - ผูเรียนฟง การบรรยายจดบนั ทกึ ในสวนทีส่ ําคญั ลงสมดุ หลงั เรียน - ทําแบบฝก หัดหลงั เรียน - สอบยอยทายชั่วโมงเรียน คําถาม แบบฝกหัดที่ 3 1. การถลงุ เหล็กหมายถงึ กรรมวธิ ีอะไร 2. การถลงุ เหลก็ ดบิ จะอาศัยเตาอะไรทําการถลงุ 3. ถา นโคก เปนวตั ถดุ ิบทใ่ี ชในการถลุงเหล็กดบิ เราใสถา นโคก เพอื่ วตั ถุประสงคใ ด 4. หนิ ปนู เปนวัตถุดบิ ท่ีใชในการถลงุ เหลก็ ดิบ เราใสห นิ ปนู เพ่ือวัตถปุ ระสงคใด 5. สนิ แรเหลก็ ทใ่ี ชใ นการถลงุ เหล็กดบิ ทม่ี ีปริมาณเหล็กผสมอยมู ากทสี่ ดุ ไดแ กส นิ แรชนิดใด 6. จงบอกขั้นตอน ในการปรบั ปรุงสินแรเ หล็กกอนทําการถลงุ มาพอเขาใจ 7. จงบอกข้ันตอนการบรรจวุ ัตถดุ ิบเขาเตาสงู 8. บรเิ วณสว นใดของเตาสงู ทมี่ ีความรอนสูงสดุ 9. วัตถดุ ิบจะเร่ิมหลอมละลายบรเิ วณสว นใดของเตา 10. เหล็กดบิ จะใชเ ปนวัตถดุ บิ ในการผลติ เหล็กชนดิ ใดบา ง
แผนการสอน หน่วยที่ 4 ช่ือวิชา เทคโนโลยีวัสดอุ ุตสาหกรรม สอนครง้ั ท่ี 6-7 ชื่อหน่วย เหลก็ หลอ่ ช่ือเร่ือง เหลก็ หลอ่ ชวั่ โมงรวม 6 จานวนช่ัวโมง 3 หวั ข้อเร่ืองและงาน 1. คณุ สมบตั ทิ ว่ั ไปและการใชง้ าน 2. เตาควิ โพล่า 3. ส่วนประกอบของเตาควิ โพล่า 4. วัตถทุ ป่ี อู นเขา้ เตาควิ โพลา่ 5. การบรรจุวตั ถุดบิ เข้าเตาควิ โพล่า 6. การทางานของเตาควิ โพลา่ 7. ชนิดของเหล็กหลอ่ 8. มาตรฐานเหลก็ หล่อ สาระสาคญั เหลก็ หล่อถูกนามาใชง้ านอตุ สาหกรรมเน่อื งจากมรี าคาถูก และมคี ณุ สมบัตใิ นการใชง้ านทดี่ ี ไดแ้ ก่ ความสามารถในการหล่อขน้ึ รูป,มคี วามแขง็ แรงในการรับแรงกดสูง, มคี วามตา้ นทานตอ่ การสึก ไดด้ ี และมคี ณุ สมบตั เิ ป็นตวั รองรับน้าหนักทด่ี ี แตอ่ ย่างไรกต็ ามเหลก็ หล่อมคี ณุ สมบตั ใิ นการรับแรง กระแทกไมด่ ี และมคี วามสามารถในการยืดตวั ไดต้ า่ สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ความรู้ ทกั ษะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ) 1. สามารถบอกคณุ สมบตั ทิ วั่ ไปและการใชง้ านไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 2. บอกสว่ นประกอบของเตาควิ โพล่าไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 3. อธิบายการทางานของเตาควิ โพลา่ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 4. บอกชนิดของเหลก็ หล่อไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง เนอื้ หาสาระ เหลก็ หล่อ (Cast Iron) หมายถงึ เหลก็ หลอ่ ทมี่ คี าร์บอนผสมอยู่ประมาณ 2 ถึง 4 เปอร์เซน็ ต์ เหลก็ หลอ่ เป็นเหลก็ ทไ่ี ดม้ าจากการนาเอาเหลก็ ดบิ มาทาการหลอมใหมภ่ ายในเตาหลอม เตาทนี่ ิยมใช้ไ ดแ้ กเ่ ตาควิ โพลา่ (Cupola) จากนัน้ ทาการเทน้าเหลก็ ลงในแบบหลอ่ เมอ่ื เหลก็ เย็น ตวั ลงกจ็ ะไดช้ ้ินงานเหลก็ หลอ่ ตามลกั ษณะและรูปร่างของแบบหลอ่
รปู ที่ 1 การเทนา้ เหล็กหลอ่ ลงในแบบ คณุ สมบตั ทิ วั่ ไปและการใช้งาน เหล็กหลอ่ ถูกนามาใชง้ านอตุ สาหกรรมเนือ่ งจากมรี าคาถกู และมคี ณุ สมบัตใิ นการใชง้ านทดี่ ี ไดแ้ ก่ ความสามารถในการหล่อขนึ้ รูป,มคี วามแขง็ แรงในการรับแรงกดสูง , มคี วามตา้ นทานตอ่ การ สึกไดด้ ี และมคี ณุ สมบัตเิ ปน็ ตวั รองรับน้าหนักทด่ี ี แตอ่ ย่างไรกต็ าม เหลก็ หลอ่ มคี ณุ สมบตั ใิ นการรับ แรงกระแทกไมด่ ี และมคี วามสามารถในการยืดตวั ไดต้ า่ รปู ที่ 2 ตวั อย่างงานหล่อ จากคณุ สมบัตดิ งั กลา่ วเหลก็ หล่อจึงถูกมาใช้งานทาฐานเครื่องจักรตา่ งๆ เสอ้ื สูบของเครื่องยนต์ , โครงปมั๊ น้า , เฟอื งส่งกาลงั , ลอ้ สายพาน เป็นตน้ เตาควิ โพลา่ (Cupola Furnace) เตาควิ โพล่า เปน็ เตาทใี่ ช้ในการผลิตเหล็กหล่อ โดยการนาเหลก็ ดบิ มาทาการหลอมละลาย ภายในเตา ลักษณะของเตาควิ โพลา่ คล้ายกบั เตาสูง แตม่ ขี นาดเล็กกว่าโครงสร้างของเตามลี กั ษณะ ไมซ่ ับซอ้ น เปลือกรอบนอกของเตาทาจากเหลก็ หล่อ ภายในเตากอ่ อฐิ ทนไฟโดยรอบ
รปู ท่ี 3 ส่วนประกอบเตาควิ โพลา่ สว่ นประกอบของเตาควิ โพลา่ เตาควิ โพล่าประกอบดว้ ยสว่ นตา่ ง ๆ ดงั รูปท่ี 3 ซึ่งแตล่ ะส่วนมลี ักษณะและหน้าที่ ดงั น้ี 1. ฐานเตา เตาควิ โพลา่ จะว่าอยู่บนฐานเตา ซ่งึ ทาจากเหล็กแผน่ กลม มเี สารองรับอยู่ 4 เสา ท่ี บริเวณส่วนกน้ เตา จะมปี ระตรู ูปครึ่งวงกลม 2 บานตดิ อยู่ ประตนู จ้ี ะถกู ปิดโดยมเี สาค้ายัน ( Prop) เปน็ ตวั ยันประตไู ว้ในขณะทเ่ี ตากาลังทางานอยู่ 2. รูน้าเหลก็ (Tap Hole) เมอื่ เหล็กหล่อ ถกู หลอมละลายกลายเปน็ น้าเหลก็ จะถูกนาออกจาก เตาโดยผ่านออกทางรูน้าเหลก็ 3. รขู ้ีตะกรัน (Slag Hole) รูขีต้ ะกรันอยู่ดา้ นหลังของเตาบริเวณใตช้ อ่ งลม เป็นรูสาหรับ ให้ขีต้ ะกรันทเ่ี กดิ จากการหลอดละลายเหลก็ ไหลออกจากเตา 4. ช่องลม (Tuyer) เป็นทางสาหรับใหล้ มเปุาผา่ นเข้าไปในเตาเพอ่ื ชว่ ยในการเผาไหมโ้ ดยปกติ ชอ่ งลมจะเรียงอยู่รอบเตาในลกั ษณะแถวเดยี ว แตส่ าหรับเตาขนาดใหญ่ จะมอี ยู่ 2 แถว ลกั ษณะของ ช่องลม สว่ นทตี่ ดิ กบั ผนังเตาจะบานออกเพอื่ ใหล้ มทผ่ี ่านเข้าไปเกดิ การกระจายอย่างสมา่ เสมอ 5. กลอ่ งลม (Wind Box) กลอ่ งลมตดิ อยู่ โดยรอบกบั ตวั เตาในลักษณะวงแหวนในระดบั
เดยี วกบั ชอ่ งลม กล่องลมทาหน้าทร่ี ับลมทเี่ ปุาเขา้ มาเพอ่ื สง่ ตอ่ ไปยังชอ่ งลมตา่ ง ๆ ทอี่ ยู่รอบเตา นอกจากนบ้ี ริเวณชอ่ งลมมแี ผน่ กนั ทางลม ทาหน้าทเ่ี ป็นประตปู ิดเปิดให้ลมผา่ นเขา้ เตา เพอ่ื เปน็ การ ควบคมุ สภาวะภายในเตาควิ โพล่า 6. หลงั คาครอบปลอ่ งเตา (Spark arrester) ตดิ ตงั้ อยู่ดา้ นบนสุดของเตา ทาหน้าทป่ี อู งกนั ประการไฟและเขมา่ ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการเผาไหมไ้ มใ่ ห้เกดิ การฟงูุ กระจาย 7. ช่องเตมิ วสั ดุ (Charge door) ตดิ ตงั้ อยู่บริเวณกงึ่ กลางของช่วงความสงู ของเตาเป็นช่อง สาหรับปอู นวตั ถดุ บิ เขา้ ไปภายในเตา ช่องนจี้ ะมขี นาดใหญ่พอสาหรับขนาดของวัตถดุ บิ ทจี่ ะทาการ ปูอนผ่านเข้าไป วัตถดุ บิ ทป่ี อ้ นเข้าเตาควิ โพลา่ ในการผลติ เหลก็ หล่อโดยเตาควิ โพล่า วัตถุดบิ ทจ่ี ะนามาปอู นเขา้ เตาเพอ่ื ทาการหลอมละลาย ประกอบดว้ ย เหลก็ ดบิ (Pig Iron) เป็นวตั ถดุ บิ หลักทจ่ี ะให้เน้ือเหล็กหลอ่ ออกมาจากการหลอมละลาย เหล็ก ดบิ ทใ่ี ช้ในการทาเหลก็ เป็นชนิด Foundry Pig ปริมาณทใี่ ช้ 8 ถงึ 10 สว่ นโดยน้าหนัก 1. ถ่านโคก๊ (Coke) เปน็ วตั ถดุ บิ ทใ่ี หค้ วามร้อนในการหลอมละลายภายในเตา ประมาณถา่ นโคก๊ ทใ่ี ช้ประมาณ 1 ส่วนของเหลก็ ดบิ โดยน้าหนัก 2. หนิ ปนู (Limeston) หินปนู ทปี่ ูอนเขา้ เตาสงู จะทาหน้าทเี่ ปน็ ตวั ประสาน บรรดาสงิ่ สกปรก ตา่ งๆ ให้รวมตวั เปน็ ข้ีตะกรัน ปริมาณหินปนู ทใ่ี ชป้ ระมาณ 40 กโิ ลกรัมตอ่ เหลก็ 1 เมกกะกรัม 3. ลม (Air) ลมเป็นวัตถุดบิ ทใ่ี ชช้ ว่ ยในการเผาไหม้ ปริมาณลมทใ่ี ช้ในการหลอมละลายเหลก็ หล่อ ขึ้นอยู่กบั คณุ ภาพของถา่ นโคก๊ และอตั ราสว่ นของถา่ นโคก๊ กบั เหล็กดบิ ทป่ี อู นเข้าเตา การบรรจวุ ตั ถดุ บิ เข้าเตาควิ โพลา่ กอ่ นทาการปอู นวตั ถดุ บิ เขา้ เตา จะตอ้ งปดิ ประตทู ก่ี น้ เตากอ่ น และทาการรองพน้ื กน้ เตาดว้ ย ทราย โดยให้พนื้ ทรายเอยี งลาดต่าลงมาทางดา้ นหน้าของเตา ให้ไดร้ ะดบั เดยี วกบั ระดบั ลา่ งของรูน้า เหล็ก หลังจากนนั้ ทาการบรรจุวัตถุดบิ เรียงลาดบั ดงั นี้ 1. ถา่ นโคก๊ 2. หนิ ปนู 3. เหลก็ ดบิ และเศษเหลก็ สาหรับถ่านโคก๊ ทบี่ รรจุไปคร้ังแรกจะบรรจุลงมากกว่าปกติ โดยใหถ้ า่ นโคก๊ เลยรูลมขน้ึ มา ประมาณ 1 ถึง 1.35 เมตร เนือ่ งจากจะใชเ้ ป็นเชอ้ื เพลงิ ในตอนเร่ิมตน้ จากนนั้ บรรจุวตั ถุดบิ เรียง ตามลาดบั ตามปริมาณทกี่ าหนด ลักษณะการบรรจุวตั ถดุ บิ เข้าเตา การทางานของเตาควิ โพลา่ การทางานของเตาเผาควิ โพลา่ เริ่มตน้ จากการจุดถา่ นโคก๊ ให้ตดิ ไฟ (ปกตจิ ะใชฟ้ นื เปน็ เชื้อใน การจุดถ่านโคก๊ ) ปริมาณถ่านโคก๊ ทเี่ ตมิ ลงไปจะตอ้ งมปี ริมาณทเี่ หมาะสมไมม่ ากไมน่ ้อยจนเกนิ ไป เมอื่ ถา่ นโคก๊ ตดิ ไฟแลว้ จะทาการเปาุ ลมเขา้ ไปภายในเตา หลังจากนัน้ ทาการเตมิ หนิ ปูน ,เหลก็
ดบิ และเศษเหลก็ ลงไป การเตมิ วัตถดุ บิ นจี้ ะทาสลบั กนั ไปจนกระทงั่ ความสงู ของวัตถดุ บิ ถึงระดบั ของ ช่องเตมิ วตั ถุดบิ เมอื่ เหลก็ เกดิ การหลอมละลาย จะไหลลงดา้ นล่างบริเวณกน้ เตา เมอ่ื ปริมาณน้าเหล็กมมี ากพอ จะทาการเจาะรูขต้ี ะกรัน เพอ่ื เอาขีต้ ะกรันออกอ่ น หลังจากนนั้ จะเจาะรูน้าเหลก็ น้าเหล็กจะไหล ออกจากเตาลงสเู่ บา้ เพอ่ื นาไปเทลงในแบบหล่อตอ่ ไป ชนดิ ของเหลก็ หลอ่ เหลก็ หล่อทใ่ี ชอ้ ยู่ในอตุ สาหกรรม สามารถแบ่งออกได้ 5 ชนิด แตล่ ะชนิดมคี ณุ สมบัตแิ ละ ปริมาณคาร์บอนแตกตา่ งกนั ตารางท่ี 1 แสดงให้เหน็ ถึงส่วนผสมทางเคมขี องเหล็กหล่อแตล่ ะชนิด 1. เหลก็ หลอ่ สเี ทา ( Gray Cast Iron) เหลก็ หล่อสีเทาเปน็ เหล็กหลอ่ ทม่ี ปี ริมาณการใช้งานมากทส่ี ดุ มคี าร์บอนผสมอยู่ 2.5 ถงึ 4 % คาร์บอนทผี่ สมอยู่ประมาณ 0.8 % อยู่ในรูปของเหล็กคาร์ไบด์ (Fe3C) นอกจากนัน้ จะอยู่อย่างอสิ ระ ในรูปของกราไฟต์ ดงั นนั้ เมอื่ ทาการหักเหล็กหลอ่ ชนิดนอี้ อก จะมองเหน็ เนื้อเหลก็ เปน็ สีเทา ซงึ่ เปน็ สขี องกราไฟต์ รปู ท่ี 4 เหล็กหล่อสเี ทา ประเภท D 2. เหลก็ หลอ่ ขาว (White Cast Iron) เหลก็ หลอ่ สีขาว เปน็ เหล็กทม่ี คี าร์บอนผสมอยู่ประมาณ 1.8 – 3.6 % คาร์บอนทผ่ี สมอยู่นีจ้ ะ ไมอ่ ยู่ในรูปของกราไฟต์ แตจ่ ะอยู่ในรูปของเหล็กคาร์ไบด์ เมอ่ื หักเหลก็ หล่อชนิดน้อี อกจะมองเหน็ เปน็ สีขาว รปู ที่ 5 เหลก็ หล่อสขี าวกาลังขยาย 1000 เท่า 3. เหลก็ หลอ่ มัลเลยี เบลิ้ (Malleable Cast Iron) เหลก็ หลอ่ มลั เลียเบล้ิ ทาจากเหล็กหลอ่ สีขาว โดยการให้ความร้อนแกเ่ หลก็ ทอ่ี ณุ หภูมิ 1 ,600 o F
(เพม่ิ อณุ หภูมอิ ย่างช้า ๆ) ทงิ้ ไว้ 25 ถึง 60 ชง่ั โมง หลงั จากน้ันคอ่ ย ๆ ทาใหเ้ ย็นตวั ลง ดว้ ยอตั รา 10oF ตอ่ ชงั่ โมง เหล็กหลอ่ สีขาวจะกลายเปน็ เหลก็ หลอ่ มลั เลียเบลิ้ ซงึ่ มคี ณุ สมบัตแิ ตกตา่ งจาก เหลก็ หลอ่ สขี าว โดยจะมคี วามออ่ นและมคี วามเหนียวเพมิ่ ขึ้น รปู ที่ 6 เหลก็ หลอ่ มลั เลียเบิ้ล 4. เหลก็ หลอ่ โนดลู าร์ (Nodular Cast Iron) เปน็ เหลก็ หล่อเหนียว ในบางคร้ังเรียกวา่ Ductile Cast Iron หรือเหล็กหลอ่ กราไฟตก์ อ้ นกลม Spherulitic graphite Cast Iron เป็นเหล็กหลอ่ ทรี่ วมเอาขอ้ ดขี องเหล็กหล่อสีเทาและเหล็กกล้า เขา้ ดว้ ยกนั ผลติ ข้ึนโดยการหลอมเหล็กดบิ ชนิดเดยี วกบั ทใ่ี ชท้ าเหล็กสีเทา และเตมิ แมกนีเซยี มลง ไป แมกนีเซยี มจะเปลีย่ นรูปร่างของกราไฟตไ์ ห้เปน็ กอ้ นกลม รปู ที่ 7 เหล็กหล่อโนดลู าร์ 5. เหลก็ หลอ่ ประสม (Alloy Cast Iron) เหลก็ หลอ่ ประสม เป็นเหลก็ หลอ่ ทนี่ าเอาธาตอุ น่ื ๆ มาประสมเขา้ ไปเพอ่ื เปลี่ยนลักษณะโครงสร้าง และปรับปรุงคณุ สมบัตใิ ห้เหมาะสมกบั สภาพการใช้งานเฉพาะอย่าง มคี ณุ สมบตั ทิ นตอ่ การสึกหรอ , การกดั กร่อน และความร้อนไดด้ ี
เหลก็ หลอ่ ประสมมอี ยู่หลายชนิดตามธาตทุ ปี่ ระสมอยู่ ไดแ้ ก่ 5.1. เหล่อหล่อ ประสมโครเมยี มสูง ( High Chromium Cast Iron) เปน็ เหลก็ หล่อทมี่ ี โครเมยี มผสมอยู่ประมาณ 20 ถึง 30 % เหล็กหล่อชนิดนี้มคี ณุ สมบัตทิ นตอ่ การสึกหรอได้ 5.2. เหลก็ หลอ่ ประสมซิลกิ อนสูง (High Silicon Cast Iron) เหลก็ หลอ่ ชนิดนมี้ ซี ลิ กิ อนผสม อยู่ประมาณ 14 % ขึน้ ไปมคี ณุ สมบตั ทิ นตอ่ ความร้อนไดด้ ี 5.3. เหลก็ หล่อประสมนิเกลิ สงู (High Nickel Cast Iron) เหลก็ หล่อชนิดนีม้ นี ิเกลิ ผสมอยู่ ประมาณ 14 ถึง 30% มคี ณุ สมบัตแิ ข็งแรงและทนตอ่ การสกึ หรอไดด้ ี มาตรฐานเหลก็ หลอ่ มาตรฐานเหล็กหล่อมอี ยู่ดว้ ยกนั หลายระบบ ซึง่ กาหนดขึน้ ในประเทศตา่ ง ๆ แตม่ าตรฐานทนี่ ิยม ใชก้ นั อย่างกวา้ งขวาง คอื มาตรฐานของประเทศเยอรมนั ตะวนั ตก (DIN) การกาหนดมาตรฐานเหลก็ หล่อระบบนี้ จะใช้ตวั อกั ษรกบั ตวั เลขเปน็ สัญลักษณโ์ ดยตวั อกั ษรจะ บอกให้ทราบถึงชนิดของเหล็กหลอ่ ส่วนตวั เลขจะบอกให้ทราบถึงคา่ ความแข็งแรงทางแรงดงึ (Tensile Strength) ของเหลก็ หลอ่ ชนิดนั้น สัญลักษณท์ ใี่ ชแ้ ทนชนิดของเหล็กหลอ่ ดงั น้ี GG หมายถงึ เหล็กหลอ่ สเี ทา GGG หมายถึง เหลก็ หล่อโนดลู าร์ GT หมายถึง เหล็กหล่อมลั เลยี เบลิ้ GTS หมายถึง เหล็กหล่อมลั เลยี เบล้ิ สดี า GTW หมายถึง เหลก็ หล่อมลั เลียเบลิ้ สีขาว GS หมายถงึ เหล็กเหนียวหล่อ ตวั อย่าง GG 10 หมายถงึ เหลก็ สเี ทา มคี า่ ความแขง็ แรงทางแรงดงึ 10 กก./มม.2 ตวั อย่าง GGG 60 หมายถึง เหลก็ หล่อโนดลู าร์ มคี า่ ความแขง็ แรงทางแรงดงึ 60 กก./มม.2 สรปุ เนอ้ื หา คณุ สมบตั ทิ วั่ ไปและการใช้งาน เหล็กหลอ่ ถูกนามาใชง้ านอตุ สาหกรรมเน่อื งจากมรี าคาถกู และมคี ณุ สมบตั ใิ นการใชง้ านทด่ี ี ไดแ้ ก่ ความสามารถในการหล่อข้นึ รูป,มคี วามแขง็ แรงในการรับแรงกดสูง, มคี วามตา้ นทานตอ่ การสึก ไดด้ ี และมคี ณุ สมบัตเิ ปน็ ตวั รองรับน้าหนักทดี่ ี แตอ่ ย่างไรกต็ ามเหล็กหลอ่ มคี ณุ สมบัตใิ นการรับแรง กระแทกไมด่ ี และมคี วามสามารถในการยืดตวั ไดต้ ่า เหล็กหลอ่ สีเทา (Gray Cast Iron) เหล็กหลอ่ ขาว (White Cast Iron) เหล็กหล่อ มลั เลยี เบล้ิ เหล็กหล่อโนดลู าร์ (Nodular Cast Iron) เหลก็ หล่อประสม(Alloy Cast Irons) กจิ กรรมการเรยี นการสอน
ข้ันตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของครู ขั้นตอนการเรียนหรือกจิ กรรมของนกั เรยี น 1. ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรยี น 1. ทากจิ กรรมสารวจบุคลิกภาพของตวั เอง ฟงั งาน บรรยายรายละเอยี ดวิชา จุดประสงคร์ ายวชิ า ที่ ทกั ทายแนะนาตวั และแสดงความคนุ้ เคยกบั และบอกรายละเอยี ดเกยี่ วกบั การประเมนิ ผล นักเรียน รายวิชา มอบ หมา อธบิ ายรายละเอยี ดรายวชิ าและ ย จุดประสงคร์ ายวิชา และบอกรายละเอยี ดการ หรอื ประเมนิ ผลรายวชิ า กจิ ก รรม 2. ขั้นบรรยาย บรรยายเกยี่ วกบั คณุ สมบตั ทิ วั่ ไปและการใช้ 2. ฟงั การบรรยายจดบันทกึ สว่ นทสี่ าคญั ลงสมดุ - งานเตาควิ โพล่าสว่ นประกอบของเตาควิ โพลา่ วัตถุ ตอบคาถามเมอื่ ถกู ถาม ร่วมกจิ กรรมทผี่ ู้สอน ทา ทปี่ อู นเข้าเตาควิ โพลา่ การบรรจุวัตถุดบิ เขา้ เตาควิ กาหนด และถามเมอื่ ไมเ่ ขา้ ใจในเนือ้ หาทเี่ รียน แบบ โพลา่ การทางานของเตาควิ โพลา่ ชนิดของ ฝึกหั เหล็กหลอ่ มาตรฐานเหล็กหลอ่ 3. ตอบคาถามกบั ผสู้ อนเปน็ การทบทวนความรู้ ด ความเขา้ ใจในเรื่องทเี่ รียน ท้าย 3. ข้ันสรุป บทเรี สรุป ทบทวนเนอ้ื หาโดยการใช้คาถามเพอ่ื ยน ทบทวนความเขา้ ใจเกยี่ วกบั เนอ้ื หาทเี่ รียน โดย การสมุ่ ผเู้ รียนให้ตอบคาถาม สงั เกตความสนใจ กอ่ น ซักถามปัญหาและข้อสงสัย เรียน ประกอบการสอน -เ - เตรียมสื่อแผ่นใสประกอบการสอน ตรีย ม หนัง สอื และ เอกส าร ขณะเรียน - แจกเอกสารประกอบการเรียน
- สังเกตพฤตกิ รรมของผู้เรียนในการตงั้ ใจเรียนหรือไม่ - สังเกตวา่ ผู้เรียนมคี วามเขา้ ใจในส่งิ ทเ่ี รียนไหม หลงั เรยี น - สรุปเนอื้ หาการเรียน - ให้ทาแบบฝกึ หัดทา้ ยบทเรียน สอื่ การเรยี นการสอน - การนาเสนอดว้ ยPower Point สอื่ สงิ่ พิมพ์ - เอกสารประกอบการสอนเกย่ี วกบั ประเภทวัสดตุ า่ ง ๆ สอ่ื โสตทศั น์ (ถา้ มี) - แผน่ ใสแสดงรายละเอยี ดเนอ้ื หารายวิชา และวิธีการวดั ผล - หนุ่ จาลองหรือของจริง (ถา้ ม)ี การประเมินผล กอ่ นเรยี น - ความสนใจ ความพร้อมในการเรียนรู้ - การให้ความร่วมมอื ในการตอบคาถาม ขณะเรยี น - ร่วมกจิ กรรมดว้ ยความกระฉับกระเฉง เชน่ ในการตอบคาถาม หรือการซกั ถาม - ผู้เรียนฟงั การบรรยายจดบันทึกในสว่ นทส่ี าคญั ลงสมดุ หลงั เรียน
- ทาแบบฝึกหัดหลังเรียน - สอบย่อยทา้ ยชว่ั โมงเรียน คาถาม แบบฝกึ หดั ที่ 4 1. เหลก็ หลอ่ หมายถึงเหล็กทม่ี ลี กั ษณะใด 2. การผลติ เหลก็ หลอ่ นิยมใชเ้ ตาชนิดใด 3. เพราะเหตใุ ด จึงนิยมใช้เหล็กหลอ่ มาทาเป็นฐาน และโครงสร้างของเครื่องจักรกล 4. วัตถุดบิ ทใ่ี ช้ในการผลิตเหลก็ หลอ่ มอี ะไรบา้ ง 5. จงบอกลาดบั ขัน้ ตอนการเตมิ วัตถุดบิ ลงในเตาผลติ เหล็กหลอ่ 6. ถ่านโคก๊ ทเ่ี ตมิ ลงไปในเตาคร้ังแรกควรมปี ริมาณเท่าใด 7. เพราะเหตใุ ด รอยหกั ของเหล็กหลอ่ สีเทาจึงมสี ีเทา 8. คาร์บอนทอ่ี ยู่ในเหลก็ หล่อสเี ทาส่วนมากจะอยู่ในรูปใด 9. คาร์บอนทอี่ ยู่ในเหล็กหล่อสขี าว ส่วนมากจะอยู่ในรูปใด 10. เหลก็ หล่อมลั เลยี เบลิ้ ผลิตมาจากเหล็กหล่อชนิดใด 11. ลกั ษณะราไฟตท์ อ่ี ยู่ในเหลก็ หลอ่ โนดลู าร์ มลี ักษณะอย่างไร 12. เหลก็ หล่อ GGG35 มคี วามหมายอย่างไร 13. เหล็กหล่อ GT 60 มคี วามหมายอย่างไร 14. เหล็กหลอ่ GTS 35 มคี วามหมายอย่างไร 15. เหลก็ หล่อ GG 20 มคี วามหมายอย่างไร
แผนการสอน หนวยที่ 5 ชือ่ วชิ า เทคโนโลยวี ัสดอุ ตุ สาหกรรม สอนครงั้ ที่ 8-9 ชือ่ หนวย เหล็กกลา ชั่วโมงรวม 6 ช่ือเร่อื ง เหล็กกลา จํานวนชั่วโมง 3 หวั ขอ เรื่องและงาน 1. การผลิตเหล็กกลา 2. ชนิดของเหลก็ กลา 3. เหลก็ กลาคารบอน 4. เหลก็ กลาผสม 5. มาตรฐานเหลก็ กลา 6. กรรมวิธกี ารแปรรปู เหลก็ กลา สาระสําคญั เหลก็ กลา ( Steel) เปน วสั ดุชา งประเภทเหล็กท่ีมคี วามสาํ คญั และถูกใชมากทสี่ ดุ ใน อุตสาหกรรมการผลิตและกอสรา ง มีปริมาณ คารบ อนผสมอยรู ะหวาง 0.05 – 1.7% ซึ่งมีคา อยู ระหวางเหล็กออ นและเหลก็ หลอ วตั ถดุ ิบท่ใี ชส าํ หรบั ผลติ เหล็กกลา ไดแ กเหลก็ ดบิ และเศษเหล็ก โดยนาํ มาทําการหลอมภายใน เตา ซึ่งมีอยหู ลายชนิดแลว แตกรรมวธิ กี ารผลิตที่เลือกใช อยา งไรกต็ ามกรรมวิธกี ารผลิตเหลก็ กลา แต ละวธิ ี มจี ุดมุง หมายเหมือนกนั คอื 1. ขจัดสิ่งเจอื ปนท่อี ยูในเหล็กดบิ ออกใหม ากท่ีสดุ เทาทที่ ําได 2. ปรบั ปรงุ ปรมิ าณคารบอนท่ีผสมอยใู หไดตามชนดิ ของเหลก็ กลา ท่ีตองการ 3. สามารถเติมสารผสม (Alloy Element) ตามท่ีตองการได สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค (ความรู ทักษะ คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี ) 1. อธิบายความหมายการผลิตเหลก็ กลาอยางถูกตอ ง 2. บอกชนิดของเหลก็ กลาไดอ ยางถูกตอง 3. สามารถบอกความหมายของมาตรฐานเหลก็ กลา ไดอ ยา งถกู ตอง 4. อธิบายกรรมวิธีการแปรรปู เหลก็ กลาได
เน้ือหาสาระ การผลติ เหล็กกลา การผลิตเหลก็ กลาทใ่ี ชอยปู จ จบุ ันมีอยหู ลายกรรมวิธกี ารผลติ มีข้นั ตอนและวิธีการทีแ่ ตกตางกัน กรรมวธิ ีการผลิตเหลก็ กลา ไดแ ก 1. กรรมวิธเี บสเซมเมอร (Bessemer steel) เปนกรรมวธิ กี ารผลิตเหลก็ กลา ท่เี กาแกท สี่ ดุ คิดคนข้นึ โดยเซอร เฮนรี่ เบสเซมเมอร (Sir Henry Bessemer) ชาวองั กฤษ ในป ค.ศ. 1856 การผลติ วิธีนี้อาศยั เตาเบสเซมเมอร ซึง่ มีลักษณะ เหมอื นถงั นาํ้ ขนาดใหญ บรเิ วณบนของเตาจะเปดออกจากแผน เหล็กกลา ภายในบุอฐิ ทนไฟ ท่ี ดา นขางของเตามีแกนหมนุ ทง้ั 2 ขาง ทําหนาทร่ี องรับเตาและทําใหเ ตาสามารถเอียงไดข นาดความสูง ของเตาหลายขนาด ตัง้ แต 15 ถึง 22 ฟตุ ลกั ษณะของเตาแสดง ดงั รปู 1 รปู ท่ี 1 เตาเบสเซมเมอร กรรมวธิ ีการผลติ เหล็กกลาดว ยเตาเบสเซมเมอร เรม่ิ จากการบรรจนุ า้ํ เหล็กดิบที่ไดจากเตา สงู ลงในเตาเบสเซมเมอรซึ่งเอยี งรับน้ําเหล็กดิบในแนวราบดังรปู 1 หลงั จากทําการบรรจนุ ้าํ เหลก็ ดบิ เรียบรอยแลว เตาจะถกู หมุนใหอ ยูในแนวต้ัง ดังรูป 1 จากนัน้ จะเปาอากาศดวยแรงดันประมาณ 15 ปอนดตอ ตารางนวิ้ ผานเขา ไปยังนํ้าเหล็กดิบทางชองอากาศดานลางของเตา คารบอนท่อี ยใู นนาํ้ เหล็ก ดิบจะรวมตัวเขากับออกซเิ จนในอากาศเปน กาซคารบ อนมอนอคไซด ซ่ึงจะถูกเผาไหมและถกู เปา ออก จากเตา เหล็กกลาทไ่ี ดจ ากกรรมวธิ นี ้ีเรียกวา เหล็กกลาเบสเซมเมอร กรรมวิธเี บสเซมเมอรใหอ ตั ราการผลิตเหลก็ กลาสงู มาก ประมาณ 0.9 ตันตอ นาที อยา งไร กต็ ามปจ จุบันกรรมวธิ ีนมี้ กี ารใชนอ ยลง เน่ืองจากไดมีการนาํ เอากรรมวิธกี ารผลติ โดยใชเตากระทะ (Open Heart Process) มาใชแ ทน 2. กรรมวธิ กี ารผลติ โดยเตากระทะ (Open Heart Process)
กรรมวธิ ีการผลิตเหลก็ กลาวธิ ีนี้ไดร บั การพัฒนาข้ึนในประเทศอังกฤษเม่อื ป ค.ศ. 1860 กรรมวิธี นี้เปน ทีน่ ยิ มใชก นั มากในการผลิตเหลก็ กลา การผลติ จะอาศัยเตากระทะดงั รูป 2 ลกั ษณะของเตากระทะท่ีบริเวณสวนหลอมละลายจะทําเปนแอง สี่เหล่ยี มคลายกระทะ ขนาด ความกวา งประมาณ 30 ฟตุ ยาวประมาณ 90 ฟตุ ทก่ี นเตาจะมรี ูสาํ หรับเจาะเอานําเหล็กออก (Top Hole) บริเวณดานขา งเตาทงั้ 2 ขาง จะมหี อ งอุน เชอ้ื เพลิง และอากาศซง่ึ ภายในจะกอ ดว ยอฐิ ทนไฟชนดิ พเิ ศษ หองทัง้ 2 นีจ้ ะทาํ หนาทีเ่ กบ็ ความรอน เพอ่ื ใชสําหรบั อุน เชื้อเพลิงทใี่ ชในการหลอม เหลก็ กลา การทํางานของหองอุน ทัง้ 2 หอ งจะทาํ สลบั กนั โดยขณะทห่ี องอนุ ดานหนึง่ กาํ ลงั รบั ความ รอ นจากกา ซที่เกิดจากการหลอมเหลก็ หองอุน อกี ดานหนึ่งจะทาํ หนาท่ีอนุ เช้ือเพลิงเพ่ือใชใ นการ หลอมเหล็ก การทาํ งานของหอ งอุนทง้ั 2 หองจะทําสลบั กัน โดยใชเวลาประมาณ 30 นาที รปู ท่ี 2 เตากระทะ วตั ถดุ บิ ท่ีใชในการผลิตเหลก็ กลา โดยเตากระทะประกอบดว ย 2.1. เหล็กดิบ ปรมิ าณท่ีใชประมาณ 50% เหลก็ ดบิ ทใ่ี ชอ าจอยใู นลกั ษณะนํา้ เหล็กดบิ หรอื เหลก็ ดิบท่ีเปน กอ นแข็ง 2.2. เศษเหล็กกลา ปรมิ าณทใ่ี ชประมาณ 50% 2.3. หินปูน เพอื่ ทาํ หนา ทเี่ ปนตวั ประสานสงิ่ เจือปนตางๆ ใหก ลายเปน ขตี้ ะกรนั 2.4. เชื้อเพลงิ ทน่ี ยิ มใชไดแกน ํ้ามนั หรือกา ซ 2.5. อากาศ เพอื่ ใหอ อกซเิ จนทอี่ ยใู นอากาศไปรวมตวั กบั คารบ อน เปนการขจัดคารบอน
ออกจากนาํ้ เหล็กและจะชวยในการเผาไหม การทํางานของเตาจะมีรอบเวลาการทาํ งานตัง้ แตการบรรจุวัตถุดิบเขาเตาจนกระท่งั ไดน้าํ เหลก็ จะใชเวลาประมาณ 8 ถึง 10 ชั่วโมง โดยเฉลย่ี นํา้ เหล็กดบิ จะถูกเจาะออกจากเตาโดยมเี บา รองรับ และนําไปเทลงแบบเพือ่ ทาํ เปนอินกอท (lngot) เตากระทะปกติใชส ําหรับผลติ เหล็กกลาคารบอนเปน สวนใหญ แตก ็สามารถใชผลติ เหล็กกลาผสมได 3. กรรมวิธเี บสิคออกซเิ จน (Basic Oxygen Process) เปน กรรมวิธกี ารผลติ เหลก็ กลาวธิ ีใหม ซึ่งเริม่ เปน ที่นยิ มใชในปจ จุบนั โดยมแี นวโนมวา กรรมวิธี นี้จะเขา มาแทนทก่ี ารผลติ เหลก็ กลา โดยเตากระทะ ขอดีของกรรมวธิ ีนีค้ อื จะใชเ วลาในการผลิตนอ ย ประมาณ 55 นาทีตอ รอบการผลิต ประสิทธิภาพการผลติ จะขน้ึ อยูกับความบริสุทธิข์ องกาซ ออกซเิ จนท่ีใช วตั ถุดบิ ทีใ่ ชในการผลติ เหล็กกลา โดยกรรมวิธีเบสิคออกซเิ จน ประกอบดวย 3.1. นาํ้ เหล็กดบิ ปรมิ าณท่ใี ชป ระมาณ 65 ถงึ 85% 3.2. เศษเหล็กกลา ปริมาณทใ่ี ชป ระมาณ 15 ถึง 35% 3.3. หินปูน เพ่ือประสานกบั สงิ่ เจอื ปนกลายเปนข้ตี ะกรนั 3.4. กาซออกซิเจนบรสิ ุทธิ์ (คาความบริสทุ ธิ์ 99.5%) รูปที่ 3 เตาเบสคิ ออกซเิ จน
ลกั ษณะของเตาทีใ่ ชในการผลิตเหล็กกลา โดยกรรมวิธีเบสิค ออกซเิ จน ดงั รูปที่ 3 เปนเตาทท่ี ํา จากแผนเหลก็ กลา ภายในบุอฐิ ทนไฟ บริเวณดานขางเตาจะมีแกนหมนุ 2 ขาง เปนตัวรองรับเตา และทาํ ใหเตารองรบั เตาและทําใหเตาสามารถหมุนเอียงได 180 o การทาํ งานของเตาเร่ิมตน โดยการเอยี งเตาเพือ่ รอรับวตั ถุดบิ โดยจะบรรจุเศษเหลก็ ลงไปกอน และบรรจนุ ้าํ เหล็กดิบตามลงไป หลังจากนน้ั จะทําการหมนุ เตาใหมาอยูในแนวตั้ง เลอ่ื นทอ ออกซิเจน พรอ มฝาครอบมาปด ครอบปากเตา ทาํ การปรับตาํ แหนง ทอใหไ ดร ะยะหา งจากวัตถดุ ิบภายในเตาตาม กําหนด 4. กรรมวธิ ผี ลิตเหล็กโดยใชเ ตาไฟฟา (Electric Furnace Process) เปนกรรมวธิ ีท่ีใชใ นการผลติ เหล็กกลาพิเศษ เชน เหล็กกลาทําเคร่ืองมือ ( Tool Steel ) เหลก็ กลาไรสนมิ ( Stainless Steel) เปน ตน เตาไฟฟาท่ีใชนจ้ี ะไมใ ชเ ช้ือเพลิงหรอื กา ซแตจะใช กระแสไฟฟา ในการใหความรอน กระแสไฟฟา ท่ีนิยมใชไ ฟฟากระแสสลับ 3 เฟส ความรอ นเกดิ จาก การอารค ระหวางแทง อิเลก็ โทรดกบั วตั ถุดิบในเตา,การอารค ระหวา งแทง อิเลก็ โทรดกบั แทง อิเล็กโทรดหรือจากการเหน่ยี วไฟฟา ข้ึนอยูกบั ชนดิ ของเตา เตาไฟฟา แบงออกได 3 ชนิด คอื 4.1. เตาไฟฟา ชนดิ อารค โดยตรง (Direct Arc Furnace) เตาไฟฟา ชนิดนเี้ ปนที่นยิ มใชมากที่สดุ ลักษณะของเตาคลา ยถวยนา้ํ ชาใหญส ามารถเอยี ง เพื่อทาํ การเทนํา้ เหล็กลงเบา ทมี่ ารองรับได ฝาดานบนของเตาสามารถหมนุ เปด ออกเพอื่ ทําการบรรจุ วตั ถดุ บิ ได ทฝ่ี าเตามีแทงอิเล็กโทรดทรงกระบอกขนาดใหญ (ขนาด 5 ถงึ 25 นิว้ ) ตดิ ตั้งอยโู ดยเสยี บ ทะลุผานฝาเตาผา นเขาไปภายในเตา แทง อิเลก็ โทรดทําจากคารบ อนหรอื กระไฟต ความรอ นที่ใชใน การหลอมละลาย ระยะเวลาในการหลอมละลายประมาณ 3 ถึง 6 ชัว่ โมง ขึ้นอยกู บั ขนาดของเตา ซง่ึ ขนาดของเตาจะมีต้งั แตข นาด 2 ตัน ถงึ 200 ตนั ลักษณะของเตาแสดงรปู ท่ี 4 รปู ท่ี 4 เตาไฟฟาชนิดอารคโดยตรง
การผลติ เหล็กกลา ดวยไฟฟาชนิดนี้ ทาํ ไดทัง้ แบบกรดและแบบดางวธิ กี ารผลิตแบบกรดปกติ จะใชสาํ หรับผลิตเหล็กกลาชนดิ พเิ ศษ ขอดขี องเตาชนดิ นี้สามารถใหค วามรอ นในการหลอมเหลก็ ได สงู ( สงู กวา 3500 oF) และรวดเร็ว การควบคุมอุณหภมู ทิ ําไดแ นนอนและไมใชเช้ือเพลงิ จึงทําให เหล็กกลา ท่ไี ดม ีคณุ ภาพดี 4.2. เตาไฟฟา ชนิดอารค ทางออ ม (Indirect Are Eurnace) เตาชนดิ นีแ้ ตกตางจากเตาชนิดอารค โดยตรง ตรงท่คี วามรอ นทีใ่ ชในการหลอมเหลก็ ได จากการอารคระหวางแทงอิเลก็ โทรด 2 แทงซ่ึงวางในแนวเหนือวัตถดุ บิ ดังรูปท่ี 5 วัตถุดิบจะไดรบั ความรอ นจากการแผรังสที ่เี กิดจากการอารค ของแทง อิเลก็ โทรด เตาชนิดนี้ปกตเิ ปนเตาขนาดเลก็ และใชน อยกวา เตาชนิดอารคโดยตรง รปู ท่ี 5 เตาไฟฟาชนดิ อารค ทงออม 4.3. เตาไฟฟา ชนดิ เหน่ยี วนํา (Induction Furnace) เปนเตาไฟฟาทเี่ ริม่ นิยมใชก ันมากในปจจบุ นั ปกติใชส ําหรับผลิตเหล็กกลา ทีม่ ปี รมิ าณการ ผลิตไมม าก และใชในงานหลอเหลก็ กลา (Steel Casting) ลกั ษณะของเตาเปนเตารปู ทรงสี่เหล่ยี มทํา จากแผน เหลก็ กลา ผนังเตาดว ยอิฐทนไฟ ภายในเตาจะมีเบา น้ําเหลก็ ซ่ึงลอ มรอบดว ยฉนวนความ รอ นและฉนวนไฟฟา โดยดานนอกฉนวนไฟฟา จะมีทอทองแดงพนั เปนขดวางอยูโ ดยรอบเตา ภายใน ทอ ทองแดงจะมีนา้ํ ไหลหมุนเวยี นอยู เพื่อระบายความรอ นท่เี กดิ ขนึ้ ซ่งึ จะชวยไมใ หทอ ทองแดงเกิด การละลาย ลักษณะของเตาแสดงดงั รปู ท่ี 6 และ รูปที่ 7
รปู ที่ 6 ภาพตดั แสดงลักษณะภายในเตาเหนย่ี วนาํ การทํางานของเตา หลงั จากบรรจุวตั ถุดบิ เขาเตาแลว จะปลอยกระแสไฟฟาผา นไปใหเกดิ สนามแมเหล็กข้ึน ซึ่งจะไปเหน่ียวนาํ กับวัตถุดิบภายในเตาซ่งึ เตาเปรยี บเหมอื นเปน ขดลวดทุติยภมู ิ (Secondary) ของหมอแปลงไฟฟาทาํ เกิดความรอนขน้ึ ซง่ึ จะไปหลอมเหล็กกลาทีอ่ ยูในเตา รปู ที่ 7 เตาไฟฟาชนดิ เหน่ียวนาํ ชนิดของเหล็กกลา เหลก็ กลา ท่ผี ลติ ขน้ึ มาในปจจบุ นั สามารถแบงออกได 2 ชนิด 1. เหล็กกลา คารบอน (Carbon Steel) 2. เหลก็ กลา ผสม (Alloy Steel) เหล็กกลาคารบอน
เปนเหลก็ กลา ท่ีมคี ารบ อนเปนสวนผสมหลัก ดงั นัน้ คณุ สมบัติของเหลก็ กลาชนดิ นี้ขึ้นอยูกบั ปรมิ าณคารบ อนแบง ออกได 3 ชนดิ คือ 1. เหล็กกลาคารบอนตาํ่ (Low Carbon Steel) มีคารบอนผสมอยรู ะหวาง 0.08 - 0.35% เหลก็ กลาคารบอนตา่ํ ไมส ามารถนํามาชุบแขง็ ได เนอ่ื งจากคารบ อนท่ผี สมอยูมีปรมิ าณนอ ยเปน เหลก็ ท่ผี ลติ จากเตากระทะ หรือเตาเบสอิ อกซิเจนใชทํา หมุดย้ํา ,โซ ,งานตขี น้ึ รูปและชนิ้ สวนเคร่ืองจักรกลทไ่ี มตองการความแข็งแรงมาก นอกจากน้ียังใชใน งานกอสราง , ทาํ สะพานและเรือ รูปที่ 8 ผลิตภณั ฑท ่ีทําจากเหลก็ กลาคารบอนตาํ่ 2. เหล็กกลาคารบ อนปานกลาง (Medium Carbon Steel) มคี ารบ อนผสมอยรู ะหวา ง 0.35 - 0.50% เหล็กชนิดนี้สามารถนํามาชบุ แข็งได โดยการชบุ นาํ้ (Water Quench) ความแข็งทไี่ ดจากการชุบประมาณ 40 – 60 Rockwell c เหลก็ กลา คารบอนปาน กลางใชทําสลกั เกลยี ว , เพลารถยนต , รางรถไฟ , เพลาขอเหวยี่ ง , เคร่อื งมือตาง
รูปที่ 9 ผลติ ภณั ฑท่ที าํ จากเหลก็ กลา คารบอนปานกลาง 3. เหล็กกลา คารบอนสงู (High Carbon Steel) ปรมิ าณคารบอนทผ่ี สมอยูในเหลก็ กลา ชนดิ นี้ มากกวา 0.55 % แตไมเ กนิ 1.7 % เหล็กกลา คารบ อนสงู ผลิตจากเตาไฟฟา สามารถนาํ มาทําชบุ แข็งไดด ี แตขึ้นรูปไดยากกวาเหลก็ กลา คารบ อน ชนิดอน่ื ๆ และราคาแพง ดังน้ัน จึงมีท่ีใชงานจํากัด โดยใชท าํ สปรงิ , เครอ่ื งมือตัด และเคร่ืองมอื ทางการเกษตร รูปที่ 10 ผลิตภณั ฑทําจากเหลก็ กลา คารบ อนสงู เหล็กกลาผสม
เหล็กกลา ผสม เปน เหลก็ กลาทมี่ คี ารบ อนเปนสว นผสมหลกั และมีธาตอุ ่ืนผสมเพิม่ เตมิ ธาตุที่ ผสมเพิ่มเตมิ ธาตทุ ีผ่ สมเขาไปเพื่อทาํ การปรบั ปรงุ คณุ สมบัตขิ องเหลก็ กลาใหด ีขึ้น ไดแ ก 1. เพ่ือเพม่ิ ความแข็งแรงและความแข็งใหแ กเหลก็ 2. เพมิ่ คณุ สมบตั ิทางกลตาง ๆ ใหม คี าสูงขึ้น 3. เพิม่ ความตา นทานตอการกดั กรอ น และการสกึ หรอ เหล็กกลาผสมแบง ออกได 3 ชนิด ดังนี้ 1. เหลก็ กลา ผสมตา่ํ (Low Alloy Steel) เปนเหล็กที่มธี าตุอ่ืนผสมอยูไมเกิน 4 % ธาตทุ ่ผี สมในเหลก็ กลา คารบอนต่าํ ไดแกคารบอน , ฟอสฟอรัส , โมลิบดินั่ม , แมงกานีส , ซลิ กิ อน , ทองแดง ,โครเมยี มและนิเกลิ โดยที่ฟอสฟอรัส , แมงกานสี ,โครเมียม และนิเกลิ ผสมเขาไปเพอื่ เพ่ิมความแข็งแรงใหแกเหล็กโมลิบดนิ ่มั ผสมเพ่ือความ แขง็ แรงและความแขง็ ทองแดงผสมเพื่อเพ่ิมความตานทานตอการกดั กรอน รปู ท่ี 11 ผลติ ภัณฑท ่ีทําจากเหล็กกลา ผสมตา่ํ 2. เหล็กกลา ผสมปานกลาง (Medium Alloy Steel) เปนเหลก็ กลาทถี่ ูกพฒั นาขนึ้ มาเพอื่ ปรับปรงุ คุณสมบตั ดิ านความแข็งในการนํามาใชในงานท่ี เหล็กกลาคารบ อนไมอ าจใหผลในการใชไดด ี เหลก็ กลา ผสมปานกลางสามารถนํามาทําการชบุ แขง็ ได ดี ในการปรบั ปรงุ คณุ สมบตั ดิ า นความแข็ง พบวาการเพิ่มธาตุผสมพรอ มกนั หลายชนิดจะให
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108