Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานคอมพิวเตอร์

โครงงานคอมพิวเตอร์

Published by Samimi Sa-ah, 2023-03-04 11:33:27

Description: เรื่อง ถังขยะอัตโนมัติ
ปีการศึกษา 2565

Search

Read the Text Version

โครงงานคอมพิวเตอร์ การพฒั นาฮาร์ดแวร์การประยกุ ตใ์ ช้งาน เรอ่ื ง ถังขยะอตั โนมัติ (Automatic waste bin) นางสาวอัยเซาะห์ เสมหีม เลขท่ี 3 นางสาวนจั ดา แวกะจิ เลขที่ 7 นางสาวซลั วา แมลาเต๊ะ เลขท่ี 12 นางสาวนรู ฮยั ฟาอ มูเซะ เลขที่ 15 นางสาวซามมี ี สะอะ เลขที่ 24 นางสาวเดยี นา หมดั ตะพงศ์ เลขท่ี 32 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4/2 โครงการคอมพวิ เตอร์ฉบับน้เี ปน็ สว่ นหนึง่ ของวชิ าเทคโนโลย(ี วิทยาการคานวณ) รหัสวิชา ว 31104 โรงเรียนพัฒนาวิทยา ยะลา ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2565

ก ช่ือโครงงาน โครงงานคอมพวิ เตอร์ การพฒั นาฮาร์ดแวร์การประยกุ ตใ์ ชง้ าน เร่อื ง ถงั ขยะอัตโนมตั ิ ประเภท โครงงานประยุกต์ใชง้ าน ชื่อผจู้ ัดทาโครงงาน 1.นางสาวอัยเซาะห์ เสมหมี 2.นางสาวนจั ดา แวกาจิ 3.นางสาวนรู ฮยั ฟาอ มูเซะ 4.นางสาวซลั วา เเมลาเตะ๊ 5.นางสาวซามีมี สะอะ 6.นางสาวเดียนา หมดั ตะพงศ์ ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่4/2 ครทู ี่ปรึกษาโครงงาน นางสาวนรู รมี ะฮ์ ยามา โรงเรียน พัฒนาวิทยา ปีการศกึ ษา 2565

ข บทคดั ย่อ โครงงานสง่ิ ประดิษฐน์ ้ีเป็นการศึกษาแบบจาลองถังขยะเปดิ -ปิดอัตโนมัติด้วยระบบเซ็นเซอร์ในช่วงที่ ขยะเต็ม จะมีเสียงแจ้งเตือนและแยกขยะตามประเภทของขยะ ซึ่งต้องรู้จักหลักการทางานของอุปกรณ์การ ประกอบส่วนต่าง ๆ ของอุปกรณ์และการเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานตามวัตถุประสงค์ มีการวิเคราะห์ และหาข้อมูลในส่วนน้ัน โดยควบคุมการทางานจาก Arduino สั่งให้ Sensor รับสัญญาณและส่งกลับไปยัง Arduino ใหส้ ่ังให้ Servo ทางาน ถังขยะจะเปิดปิดอตั โนมัติ เพ่ือพัฒนาและขยายความสามารถให้มากข้ึนจาก แบบจาลองถงั ขยะเปดิ -ปดิ อัตโนมัตดิ ว้ ยระบบเซน็ เซอรต์ ่อไป ผลการทดลองพบว่า ถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติด้วยระบบเซ็นเซอร์ การควบคุมด้วย Arduino สามารถ ควบคุมการเปิด-ปิด ถังขยะ แบบอัตโนมัติด้วยการติด ตัวSensor สามารถรับสัญญาณได้ในทิศฉากกับพืนส่ง ไปยัง Arduino สั่งให้ Servo ทางาน ส่วนการแยกประเภทขยะ โดยควบคุมจาก Arduino ส่ังให้ Senser ใส่ สัญญานว่าจดั อยูใ่ นประเภทไหน จงึ สั่งให้ Servo ทางาน จงึ ได้เพมิ่ ฐานรองพนื้ ถงั ขยะเพอ่ื ทาให้ทราบวา่ Sensor ตรวจจับในระยะนนั้ จึงทาให้ถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติด้วยและมี Sensor ตรวจจับขยะ อยบู่ นฝา ถัง ควบคุม ด้วยArduino จะสั่งเสยี งเตือน จะส่งผลให้ทราบว่าขยะเต็ม Abstract This invention project is to study a model of garbage bins that automatically open and close with a sensor system while the garbage is full. There will be a notification sound and waste sorting according to the type of waste. which must know the working principle of the device when assembling different parts of the device and programming to control the work according to the objectives There is analysis and information in that section. By controlling the operation from the Arduino and instructing the sensor to receive the signal and send it back to the Arduino to order the servo to work, the trash can will open and close automatically. to further develop and expand the capabilities of the automatic open-close garbage bin model with a sensor system. The experimental results showed that the garbage bin opens and closes automatically with a sensor system. Arduino control can control the opening and closing of the trash can automatically by installing the sensor, which can receive signals in the direction perpendicular to the ground sent to the Arduino, commanding the servo to work. What type of contract is it . So ordered the Servo to work, so added a trash bin base to make it known that Sensorsor detected in that range Therefore causing the trash can to open and close automatically as well and has a sensor to detect garbage on the lid of the bin, controlled by Arduino will give an alarm will result in knowing that the garbage is full.

ค กติ ติกรรมประกาศ ในการทาโครงการคร้ังนี้บรรลวัตถุประสงค์สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลือเป็น อย่างดียิ่งจากอาจารย์ท่ีปรึกษา อาจารย์ นูรรีมะฮ์ ยามา ท่ีกรุณาเสียสละเวลาให้คาแนะนา ตรวจแก้ไขข้อ บกพร่องด้วยความเอาใจใส่ ผู้ศึกษารู้สึกซาบซ้ึงในความกรุณาของอาจารย์และขอขอบคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ ทีน่ ้ีดว้ ย ขอขอบคณุ อาจารย์ นูรรีมะฮ์ ยามา อาจารย์ผู้สอนทใ่ี ห้ความรู้ สาหรับคาแนะนาและกาลังใจเมื่อเกิด ปญั หาในการทาโครงการและขอขอบคุณอาจารย์สาขาทุกทา่ นทอี่ บรมสง่ั สอนให้คาแนะนามาโดยตลอด ขอขอบคุณพระบิดามารดาท่ีสนับสนุนในการศึกษาและกาลังใจและขอขอบคณุ เป็นอย่างย่ิงสาหรับผู้ เขียนเอกสารค้นคว้า ตารา หนงั สือ ทที่ าใหเ้ ข้าใจการทาโครงการแจม่ ชดั ขนึ้ สุดท้ายขอบคณุ เพ่ือนๆ ทช่ี ว่ ยใหค้ าแนะนาดๆี เก่ียวกบั การทาโครงการ คณุ คา่ และประโยชณ์พึงมจี าการศึกษาโครงการน้ี ผจู้ ัดทาขอขอบคุณพระคุณบิดามารดา อาจารยแ์ ละ ทุกคนทมี่ สี ่วนสรา้ งพืน้ ฐานการศึกษาใหแ้ กผ่ ้จู ดั ทา คณะผจู้ ัดทา

จ สารบญั น้า บทคดั ยอ่ ……………………………………………………………………………………………………………………………..ข กิตตกิ รรมประกา ………………………………………………………………………………………………………………..ค ารบญั ………………………………………………………………………………………………………………………………..ง บทที่ 1 บทนํา - ที่มาเละค าม าํ คัญของโครงงาน……………………………………………………………………………..1 - ัตถปุ ระ งค์…………………………………………………………………………………………………………..1 - ขอบเขตของเนอื้ า…………………………………………………………………………………………………1 - ผลทค่ี าด า่ จะได้รับ…………………………………………………………………………………………………2 บทที่ 2 ทฤษฎแี ละงานที่เกย่ี วข้อง - ทฤ ฎีทีเ่ ก่ีย ขอ้ ง……………………………………………………………………………………………………3 - ลักการของการ ดั ระยะด้ ยคลน่ื อัลตราโซนิค…………………………………………………………4 - ลกั การทาํ งานของเซ็นเซอร์ ดั ระยะด้ ยคล่นื อลั ตรา้ โซนคิ ………………………………………..5 - ลักการใช้งาน……………………………………………………………………………………………………..6 บทท่ี 3 วธิ กี ารดาํ เนนิ การโครงงาน - ั ดุอปุ กรณ์ เคร่ืองมอื รอื โปรแกรมทีใ่ ช้พฒั นา…………………………………………………………8 - ขน้ั ตอนการดําเนินงาน…………………………………………………………………………………………..16 บทที่ 4 ผลการดาํ เนินโครงงาน - ผลการพัฒนา.………………………………………………………………………………………………………19 - ผลการประเมิณประ ทิ ธภิ าพ…………………………………………………………………………………21 - มมุตฐิ าน……..……………………………………………………………………………………………………..21 บทที่ 5 สรุปผลการดําเนินงาน - รุปผลการดําเนนิ งาน……………………………………………………………………………………………22

ฉ สารบัญ (ตอ่ ) น้า - การทด อบการพัฒนาโครงงาน…………………………………………………………………….…………22 - การประเมิณผลประ ทิ ธภิ าพ…………………………………………………………………………….……22 - อปุ รรคในการทาํ งาน…………………………………………………………………………………………...22 - ขอ้ เ นอแนะแน ทางในการพัฒนาต่อ……………………………………………………………….……..23 บรรณานุกรม………………………………………………………………………………………………………………………24 ภาคผน ก - ประ ัตคิ ณะผ้จู ดั ทาํ โครงงาน…………………………………………………………………………………….26

1 บทท่ี 1 บทนำ 1. ทม่ี ำและควำมสำคญั ขยะมูลฝอยหรือขยะทั่วไป เป็นปัญหาของคนส่วนใหญ่ ซึ่งในสังคมปัจจุบัน ยังไม่มีการจัดการท่ีดี รวมถึงครวั เรือนที่การทิ้งขยะทุกวันเชน่ เศษอาหาร ถุงพลาสติก เศษกระดาษ อกี ท้ังประเทศไทยเราเป็นเมือง การเกษตร ขยะอนิ ทรยี ์ หรอื สารเคมีจากปุ๋ย ทสี่ ่งผลต่อส่ิงแวดล้อมรวมถึงจิตใตส้ านกึ ของคนในยคุ ปัจจุบันที่ ยงั ไม่คานงึ ถงึ ผลกระทบต่างๆที่จะตามมาปัจจุบันขยะมูลฝอยเพิ่มมากข้ึนเรอ่ื ยๆ ตามจานวนประชากร ถา้ หาก ไม่มกี ารจดั การทด่ี ี และจะทาให้เกดิ ปญั หาตอ่ สุขภาพอนามัย เช่น ปัญหาเช้อื โรค สารเคมี และกล่ินเหม็น ปัจจุบันมีถังขยะจานวนมาก แต่ถังขยะที่มีอยู่ปัจจุบันส่วนใหญ่นั้นอยู่ในสภาพท่ีไม่สมบูรณ์ เช่น ไม่มีฝา ปิด ถังชารุด มีการสะสมของขยะ และยังขาดการดูแลรักษาท่ีดีซึ่งเป็นสถานที่สะสมเชื้อโรคและแบคทีเรีย อาจจะเกิดการตดิ เชือ้ แก่ผูท้ ีม่ าท้ิงขยะโดยสัมผัสกบั ถงั จากเหตผุ ลดังกลา่ ว ผู้จดั ทาจึงทาโครงงาน ถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมตั ิด้วยระบบเซน็ เซอร์เป็นโครงงานท่เี ห็น ถึง ความสาคัญของการพัฒนาเทคโนโลยีประกอบเข้ากับปัญหาขยะในปัจจุบันเพื่อให้มนุษย์เห็นความสาคัญ ของ การทิ้งขยะและปญั หาของส่ิงแวดลอ้ มสขุ อนามยั ของคนในยคุ ปัจจุบนั 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 เพื่อประหยดั เวลาในการแยกขยะมากข้นึ 2.2 เพื่อป้องกนั เช้ือโรคทเี่ กิดจากการสัมผัสถงั ขยะ 2.3 เพอื่ ประยกุ ตแ์ ละนาความรู้ทีไ่ ด้เรยี นมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ 3. ขอบเขตของกำรศึกษำ 3.1 ขอบเขตของเนื้อหำ ศึกษาการทางานของไมโครคอนโทรเลอร์ เพ่ือประยุกต์ใช้ในการควบคุมการ ทางานระบบเปิด-ปิด อัตโนมัติของถังขยะ ศึกษาการออกแบบระบบ การติดต้ังและการทางานของระบบ เซ็นเซอรอ์ ัลตราโซนิคศกึ ษาการตอบสนองของระบบเซน็ เซอรก์ ับการเปดิ -ปิดอตั โนมัติของถงึ ขยะ 3.2 วัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ 3.2.1 Arduino Board 3.2.2 Servo Motor 3.2.3 Buzzer 3.2.4 เซ็นเซอร์อัลตราโซนคิ วดั ระยะทาง US-100

2 3.2.5 สายไฟจัมเปอร์ 3.2.6 น็อตM3x6mm 3.2.7 กลอ่ ง(สีดา)อเนกประสงคใ์ ส่วงจร (Boxes) 3.2.8 แบตสารอง (Power bank) 3.2.9 เเผน่ อะคริลิคใส A4 3.2.10 ถังขยะขาเหยียบ 4. ผลที่คำดวำ่ จะได้รบั 4.1 ปอ้ งกนั การติดเชื้อโรคจากสมั ผัสถงั ขยะ 4.2 สามารถประยุกต์สิ่งของทมี่ ีใหม้ คี วามทันสมัยข้ึน 4.3 เพมิ่ ความสะดวกสบายต่อการใช้งานในแตล่ ะวนั

3 บทที่ 2 ทฤษฎที เ่ี กย่ี วข้อง ในการศึกษาโครงงานเร่ือง ถงั ขยะเปิด-ปิดอตั โนมตั ดิ ้วยเซน็ เซอรอ์ ลั ตราโซนิค สง่ิ แรกที่จําเปน็ ในการ จัดทาํ โครงงาน ตอ้ งร้จู กั หลักการทํางานของอปุ กรณ์ การประกอบส่วนต่าง ๆ ของอปุ กรณแ์ ละการเขียน โปรแกรมควบคมุ การทํางานตามวัตถปุ ระสงค์ มีการวิเคราะห์และหาข้อมูลในสว่ นนั้น เพื่อเป็นแหล่งข้อมลู ใน การนาํ ไปใชใ้ นการทําโครงงานและพัฒนาต่อยอดการศกึ ษา คณะผ้จู ัดทาํ ได้ทาํ การรวบรวมแนวคดิ หลกั การ และทฤษฎีต่าง 2.1 หลักการ Arduino MEGA 20 2.2 หลักการ Arduino Mega 2560 รูปที่ 2.2.1 Arduino MEGA 2560 Arduino Mega 2560 เป็นบอรด์ ไมโครคอนโทรลเลอรท์ ีท่ าํ งานบนพน้ื ฐานของ ATmega 2560 ซ่ึง ประกอบดว้ ย - 54 digital input/output pins - 16 analog inputs - 4 UARTs - 16 MHz crystal oscillator - USB connection - ช่องเสยี บแหลง่ จ่าย

4 - ICSP header: In-Circuit Serial Programming - ป่มุ กด reset 2.3 หลักการ เซนเซอร์ วัดระยะทาง US-100 คล่ืนอัลตราโซนิค เป็นคล่ืนความถี่เหนือความถี่ สัญญาณเสียง ปกติแล้วมนุษย์จะไม่สามารถได้ยินเสียง เพราะมนุษย์สามารถได้ยินเสียงได้ที่ความถี่ 20 Hz ถึง 20 kHz ความถ่ีอัลตราโซนิคนั้น ที่นิยมใช้งานในเซ็นเซอร์วัดระยะรุ่นต่าง ๆ จะมีความถี่ที่ประมาณ 40kHz ข้อดีของการใช้ความถ่ีน้ี คือมีลักษณะของความยาวคลื่นที่ส้ัน ส่งผลให้คลื่นไม่แตกจายออกเป็นวงกว้าง และ สามารถยิงคลื่นตรงไปชนวัตถุใดๆ ก็ได้ และนอกจากน้ีความถ่ี 40kHz ยังเป็นความถ่ีท่ีมีระยะเดินทางเพียงพอ กับการใช้งาน หากใช้ความถี่สูงข้ึน จะทาให้คลื่นเดินทางได้ในระยะทางที่ลดลง ทาให้เมื่อนามาใช้งานจริงจะวัด ระยะไดใ้ นระยะที่สนั้ หลักการวัดระยะดว้ ยคล่ืนอลั ตราโซนิค หลักการของการวัดระยะด้วยคลื่นอัลตราโซนิค คือ การส่งคลื่นอัลตราโซนิคออกไปจากตัวส่ง (Transmitter) เมื่อคล่ืนท่ีส่งออกไปวิ่งไปชนกับวัตถุ คลื่นจะมีการสะท้อนกลับมา แล้วว่ิงกลับไปชน ตัวรับ (Receiver) ด้วย การเรมิ่ นับเวลาทสี่ ่งคลื่นออกไปจนถึงไดร้ บั คล่นื กลบั มา ทาใหส้ ามารถหาระยะหา่ งระหวา่ ง วัตถกุ บั เซ็นเซอร์ รูปที่ 2.3.1 หลักการวดั ระยะด้วยอัลตราโซนิค

5 หลกั การทาํ งานของเซ็นเซอร์วดั ระยะด้วยคลืน่ อลั ตรา้ โซนคิ ในโมดูลเซ็นเซอร์อลั ตราโซนิค จะมีวงจรทแี่ ตกตา่ งกัน แต่มีหลักการทาํ งานงานทีส่ ําคญั ทีเ่ หมอื นกัน รปู ที่ 2.3.2 ไดอะแกรมการทํางานของเซน็ เซอร์วดั ระยะดว้ ยคลืน่ อลั ตราโซนิค เมอื่ มกี ารสง่ สัญญาณเขา้ ไปท่ี Trigger วงจรภายในจะเรมิ่ สรา้ งความถี่ 40 kHz จาํ นวน 8 ลกู คลน่ื ออกไป โดยใช้ความถ่ีจากคริสตอลเป็นตัวอ้างอิง แล้วตัวส่งที่เปรียบเสมือนล าโพงจะส่งสัญญาณออกไป จากนั้น เม่ือคล่ืนที่ส่งออกไปว่ิงกลับมาที่ตัวรับ ที่เปรียบเสมือนเป็นไมโครโฟน สัญญาณไฟฟ้า จะผ่านตัว ประมวลผล แล้วใหค้ า่ เอาต์พตุ ออกมาทางขา Echo

6 หลักการใช้งานจะขึน้ อยูก่ ับบสั ท่ใี ช้ส่ือสาร สามารถแบ่งได้ดงั นี้ การสื่อสารแบบทริกสัญญาณ เร่ิมต้นจะต้องให้สัญญาณขา Trigger มีสถานะทางลอจิกเป็น LOW จากน้ันจึงเร่ิมทริกเกอร์สัญญาณ โดยให้ขา Trigger มีสถานะเป็น HIGH ค้างไว้อย่างน้อย 10uS แล้วจึง ปรับ สถานะเป็น LOW จากน้ัน ท่ีขา Echo ให้เตรียมรับสัญญาณทริกเกอร์HIGH กลับมา เม่ือมีการส่ง สัญญาณ HIGH กลับมา ให้เริ่มนับเวลาท่ีสัญญาณเป็น HIGH และเม่ือสัญญาณขา Echo กลับเป็น LOW ให้ ส้ินสุด การ นับเวลา แล้วจึงนําค่าเวลาที่นับได้ ไปคํานวณอีกที ซึ่งในการคํานวณนั้น จะข้ึนอยู่กับรุ่น ในบางรุ่น สามารถใช้ค่า อัตราเร็วเสียงมาคํานวณได้เลย แต่ในบางรุ่นต้องใช้สูตรคํานวณเฉพาะ การสื่อสารแบบ UART นอกจากการสอ่ื สารผา่ นการทรกิ สญั ญาณแลว้ ยังสามารถใช้ การส่ือสารแบบ UART ได้อีกด้วย ท าให้สามารถใช้งานง่ายมากข้ึน เพราะเมื่อส่งค่าบางอย่างไปให้กับ ตัวโมดูล ก็จะตอบค่าที่วัดได้ออกมาให้เลย การส่ือสารแบบ UART แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือส่วนส่งข้อมูลไป และสว่ นรบั ขอ้ มูลกลับมา 2.4 หลักการ Servo Motor Servo เป็นคําศัพท์ที่ใช้กันทั่วไปในระบบควบคุมอัตโนมัติ มาจากภาษาละตินคําว่า Sevus หมายถึง “ทาส” (Slave) ในเชิงความหมายของ Servo Motor ก็คือ Motor ท่ีเราสามารถส่ังงานหรือต้ังค่า แล้วตัว Motor จะหมุนไปยังต าแหน่งองศาท่ีเราสั่งได้เองอย่างถูกต้อง โดยใช้การควบคุมแบบ ป้อนกลับ (Feedback Control) ในหน่วยนี้จะกล่าวถึง RC Servo Motor ซึ่งนิยมนามาใช้ในเคร่ืองเล่นที่ บังคับด้วยคลื่นวิทยุ (RC = Radio - Controlled) เชน่ เรือบงั คับวทิ ยุ รถบงั คับวิทยุ เฮลคิ อปเตอรบ์ ังคับวทิ ยุ รปู ที่ 2.4.1 ลักษณะโดยทว่ั ไปของเซอร์โวมอเตอร์

7 Feedback Control คือระบบควบคุมท่ีมีการนําค่าเอาต์พุตของระบบน ามาเปรียบเทียบ กับค่าอินพุต เพ่ือควบคุมและปรับแต่งให้ค่าเอาต์พุตของระบบให้มีค่าเท่ากับหรือใกล้เคียง กับค่าอินพุต ส่วนประกอบ ภายนอก RC Servo Motor • Case ตัวถัง หรอื กรอบของตัว Servo Motor • Mounting Tab ส่วนจับยึดตัว Servo กับช้ินงาน • Output Shaft เพลาส่งก าลัง • Servo Horns สว่ นเชอ่ื มตอ่ กับ Output shaft เพื่อสร้างกลไกล • Cable สายเช่ือมต่อเพื่อ จ่ายไฟฟ้า และ ควบคุม Servo Motor จะประกอบด้วยสายไฟ 3 เส้น และ ใน RC Servo Motor จะมสี ขี องสายแตกต่างกนั ไปดงั น้ี • สายสีแดง คอื ไฟเลย้ี ง (4.8-6V) • สายสีด า หรือ น้ าตาล คือ กราวด์ • สายสเี หลอื ง (สม้ ขาว หรอื ฟ้า) คือ สายสง่ สญั ญาณพลั สค์ วบคมุ (3-5V) • Connector จุดเชื่อมตอ่ สายไฟ























19 บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งาน 1. ผลการพัฒนา จากการออกแบบพัฒนาถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติด้วยระบบเซ็นเซอร์ พบวา่ มีการพัฒนาเพิ่ม ดงั ตอ่ ไปนี้ รปู ที่ 1 แสดงการออกแบบตวั ฝาถังขยะ ฝาถังขยะ ประกอบไปด้วย ช่องสำหรับใส่ถังขยะ และแผงโซลาร์เซลล์ที่ใช้ในการผลิต กระแสไฟฟ้า เพื่อสง่ พลงั งานไฟฟ้าให้กับระบบเซนเซอร์ท่ีจำแนกประเภทขยะ และชว่ ยในการเปิดฝา ถงั ขยะอัตโนมตั ิเม่ือตอ้ งการท้งิ ขยะ รปู ที่ 2 แสดงการออกแบบตัวถังขยะ ภายในตัวถังขยะจะเซนเซอรท์ ่ีทำการแสกนประเภทของขยะก่อนท่ฝี าจะเปิดออก โดยขยะจะ แยกเปน็ สีเขยี ว สีฟา้ สเี หลอื ง สีแดง ซงึ่ ความหมายของแต่ละสีมี ดงั นี้

20 สเี ขียว หมายถงึ ขยะเปยี ก ยอ่ ยสลายได้ เศษอาหาร ใบไม้ สีฟา้ หมายถงึ ขยะทว่ั ไป ย่อยสลายไม่ได้ หลอดพลาสตกิ พลาสติกใสอ่ าหาร สเี หลืองหมายถงึ ขยะรีไซเคลิ เศษกระดาษ แกว้ ขวดพลาสตกิ สแี ดง หมายถึง ขยะอันตราย สารเคมี หลอดไฟ ทนิ เนอร์ รูปท่ี 3 แสดงด้านหลังตัวถังขยะ ด้านหลังของตัวถงั ขยะจะมีชอ่ งสำหรบั ทงิ้ ขยะ โดยตวั ช่องจะเปิดออกหลังจากที่เซนเซอรร์ ะบุ ประเภทของขยะแล้ว รูปท่ี 4 แสดงภาพรวมตัวถังขยะ

21 2. ผลการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพ จากการประเมนิ ประสทิ ธิภาพของถงั ขยะเปดิ -ปดิ อตั โนมัติด้วยระบบเซนเซอร์ พบว่าถังขยะ เปดิ -ปิดอัตโนมตั ดิ ว้ ยระบบเซน็ เซอรไ์ มส่ ้นิ เปลืองพลงั งานไฟฟา้ เนอ่ื งจากตวั ถงั ขยะมกี ารใชแ้ ผงโซลาร์ เซลในการผลิตพลังงานไฟฟ้า อีกทง้ั ยงั ชว่ ยประหยัดเวลาในการทงิ้ ขยะ เพราะถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติ ด้วยระบบเซนเซอร์จะช่วยแยกประเภทขยะท่ีเราท้ิงให้ถกู ตอ้ งตามท่ีควรจะเป็นมากยิ่งข้ึน ดว้ ยการทิ้ง ขยะแบบนี้จะส่งผลให้ชุมชนมีความสะอาด และปลอดภัยจากสารพิษที่จะรั่วไหลจากการทิ้งขยะผิด ประเภทได้ แต่เนื่องจากถังขยะเปิด-ปิดอัตโนมัติด้วยระบบเซ็นเซอร์ ระบบส่วนใหญ่ต้องใช้ กระแสไฟฟา้ จึงเกดิ ระบบขดั ขอ้ งได้คอ่ นขา้ งง่าย 3. สมมุตฐิ าน 3.1 เพอ่ื ปอ้ งกนั เชื้อโรคจากการสัมผสั ถงั ขยะ 3.2 เพือ่ ความสะดวกสบายในการทิง้ ขยะ 3.3 เพอ่ื ง่ายต่อการแยกประเภทของขยะ

22 บทที่ 5 สรปุ ผลการดําเนินงาน การพัฒนาโครงงานประยกุ ตใชงาน เร่อื ง ถงั ขยะเปด-ปดอัตโนมัติดว ยระบบเซ็นเซอร (Automatic Waste Bin)นสี้ รุปผลการดำเนนิ งานและขอ เสนอเเนะ ไดดังนี้ 1. สรปุ ผลการดำเนนิ โครงงาน โครงงานนี้เปนระบบเปด-ปดของกลไกลใหตรวจจับระยะที่กำหนดโดยทำการควบคุมสั่งการดวยตัว ควบคุม Arduino Mega 2560 ควบคมุ การทำงานดวย Sensor และควบคุมการเปด-ปด ดว ย Servo โดย จา ยไฟ 5 Vdc ให กับตัวควบคุมในการทำใหทำงานตามลำดับ Sensor สามารถทำงานไดจากการจับระยะที่ตอ งการ โดยการสรา งความถ่ี 40 Hz ดวย Arduino mega 2560 โดยมีการเขยี นโปรแกรมสัง่ การ การทำงาน ของระบบตามความตอ งการ Servo สามารถทำงานไดโดยรับสัญญาจาก Sensor ทส่ี ง ขอ มลู ตามคำสง่ั ที่เขียนไวใน Arduino mega 2560 ใหเ ปด ปดตามคำส่งั ของระบบตามตองการ 2. การทดสอบการพัฒนาโครงงาน ในการทดสอบการพัฒนาโครงงาน เร่อื ง ถังขยะเปด-ปด อัตโนมัติดว ยระบบเซน็ เซอร (Automatic Waste Bin) ผจู ัดทําไดใชวิธกี ารทดสอบ โดยผูจัดทําทดสอบดว ยระบบเซ็นเซอรไมส้นิ เปลืองพลงั งานไฟฟา เน่ืองจากตัวถงั ขยะ มกี ารใชแ ผงโซลารเ ซลลในการผลติ พลงั งานไฟฟา ทำใหประหยดั เวลาในการท้ิงขยะ จากการทดสอบพบวา เร่อื ง ถงั ขยะเปด -ปด อัตโนมตั ิดวยระบบเซ็นเซอร (Automatic Waste Bin) ท่ี ไดพ ัฒนาขึ้นน้ีสามารถทาํ งานไดครบตามความตองการของผใู ชงาน คอื การทดลองตรวจจับของของ Sensor, การ ทดลองสัญญาณเขา Servo, การทดลองการทำงานของ Buzzer และ การทดลองตรวจจับวตั ถแลุ วเปด-ปดอตั โนมัติ 3. ผลการประเมนิ ประสิทธภิ าพ ผลการประเมนิ ประสทิ ธิภาพของการพัฒนาโครงงานเพือ่ การประยกุ ตใ ชง าน เร่ือง ถังขยะเปด -ปด อัตโนมัติ ดวยระบบเซ็นเซอร (Automatic Waste Bin) มคี าเฉล่ียรวมอยใู นระดับดี (75%) เนอ่ื งจากระบบสวนใหญตอ งใช กระแสไฟฟา จงึ เกดิ ระบบขัดของไดค อนขา งงาย 4. อุปสรรคในการทำโครงงาน การพัฒนาโครงงาน เร่ือง ถังขยะเปด-ปดอัตโนมัติดว ยระบบเซ็นเซอร (Automatic Waste Bin) และไดม ีการ ทดลองใชงานทำใหพบปญหาตาง ๆ ดงั น้ี 4.1 ไมส ามารถคดั แยกขยะไดอยา งเต็มประสิทธภิ าพ 4.2 เน่อื งจากระบบสวนใหญต องใชก ระแสไฟฟา จึงเกดิ ระบบขัดของไดค อนขา งงา ย

23 5. ขอ เสนอแนะและแนวทางในการพฒั นาตอ 5.1 ควรพัฒนาใหมคี วามกาวหนาอยเู สมอ 5.2 ควรพฒั นาและปรับปรุงชิ้นงานใหเปนถงั ขยะที่ใชใ นชีวติ ประจำวนั ไดจ รงิ

24 บรรณานกุ รม ประเภทถังขยะ.[ออนไลน์].เขา้ ถงึ ได้จาก: https://www.sustainablelife.co/news/detail/74 (วนั ท่สี บื : 17 กนั ยายน 2565) บอรด์ Arduino (2559).[ออนไลน์].เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://www.scimath.org/article-technology/item/9815-arduino (วันทสี่ ืบคน้ : 18 กุมภาพนั ธ์ 2566) Active Buzzer Module.[ออนไลน์].เข้าถงึ ได้จาก: https://www.spmicrotech.com/product/active-buzzer-module-3-3-5v- %E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9A% E0%B8%9A-active-low/ (วันทส่ี บื : 18 กุมภาพันธ์ 2566) Servo Motor (SG90). [ออนไลน]์ .เข้าถึงได้จาก: http://nanjarinya.blogspot.com/2018/03/6-servo-motor-sg90-arduino-uno-r3.html (วันที่สืบ : 19 กุมภาพันธ์ 2566)

ภาคผนวก

26 ประวัตคิ ณะผจู้ ดั ทาโครงงาน ประวัติส่วนตวั ชอ่ื นางสาวอยั เซาะห์ เสมหีม เกิดวันที่ 26 มกราคม 2550 ทอ่ี ยู่ 114/9 หมู่ 1 ตาบล สะเตงนอก อาเภอ เมอื ง จังหวัด ยะลา 95000 มีพน่ี อ้ งทงั้ หมด 4 คน วิชาทถี่ นัด วชิ า ชวี วิทยา โปรแกรมหอ้ งท่เี รียน Change MSO การศกึ ษา - ปีพ.ศ. 2556 ประถมศึกษา โรงเรียนศานติธรรม - ปี พ.ศ. 2562 มัธยมศกึ ษาตอนต้น โรงเรียนพฒั นาวทิ ยา(เเผนกสาธติ ) - ปจั จบุ นั กาลังศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพัฒนาวิทยา สงิ่ ท่ีวางแผนไว้ ตงั้ ใจเรียน คตปิ ระจาตัว ทาวันนใี้ ห้ดที ส่ี ดุ กไ็ ด้

27 ประวตั ิคณะผูจ้ ดั ทาโครงงาน ประวตั สิ ่วนตัว ชือ่ นางสาวนัจดา เเวกาจิ เกิดวันท่ี 24 กันยายน 2549 ท่ีอยู่ 212 หมู่ 2 ตาบล รือเสาะ อาเภอ รอื เสาะ จงั หวัด นราธวิ าส มพี น่ี ้องทง้ั หมด 3 คน วชิ าทถ่ี นดั วิชา คณิตศาสตร์ โปรแกรมหอ้ งทีเ่ รียน Change MSO การศึกษา - ปพี .ศ. 2556 ประถมศึกษา โรงเรียนวัดราษฎร์สโมสร(ไพโรจน์วทิ ยา) - ปี พ.ศ. 2562 มัธยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนพัฒนาวทิ ยา(เเผนกสาธิต) - ปจั จุบนั กาลังศึกษา มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพฒั นาวิทยา ส่งิ ท่วี างแผนไว้ สรา้ งความสาเร็จต่อเนอ่ื ง คติประจาตัว ความสาเรจ็ คอื การก้าวเดนิ จากความลม้ เหลวหนึง่ ส่อู ีกความลม้ เหลวหนึ่ง โดยไมส่ ูญสนิ้ ซึง่ แรง ศรัทธา

28 ประวัตคิ ณะผจู้ ดั ทาโครงงาน ประวัตสิ ่วนตวั ชือ่ นางสาวนรู ฮัยฟาอ มูเซะ เกิดวันที่ 5 สิงหาคม 2550 ท่อี ยู่ 52/5 หมู่ 4 ตาบล ตาเนาะปูเตะ๊ อาเภอ บันนังสตา จงั หวดั ยะลา 95130 มีพีน่ ้องท้ังหมด 2 คน วิชาที่ถนดั วิชาชีววทิ ยา โปรแกรมหอ้ งที่เรยี น Change MSO การศกึ ษา - ปพี .ศ. 2556 ประถมศกึ ษา โรงเรยี นอาลาวียะห์วิทยา - ปี พ.ศ. 2562 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรียนพฒั นาวิทยา(แผนกสาธิต) - ปัจจบุ นั กาลังศึกษา มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพัฒนาวิทยา สิง่ ทวี่ างแผนไว้ มอี นาคตท่ดี ี คตปิ ระจาตัว อย่าไปคาดหวังเยอะอะไรๆก็ไมแ่ นน่ อน

29 ประวตั ิคณะผจู้ ดั ทาโครงงาน ประวตั สิ ่วนตวั ชื่อ นางสาวซลั วา เเมลาเต๊ะ เกดิ วันท่ี 11สงิ หา 2550 ท่อี ยู่ 256/8 หมู่ 1 ตาบล ตล่งิ ชัน อาเภอ บนั นงั สตา จงั หวัด ยะลา 95130 มีพีน่ ้องท้งั หมด 3 คน วชิ าท่ีถนัด วิชาศลิ ปะ โปรแกรมหอ้ งที่เรยี น Change MSO การศกึ ษา - ปีพ.ศ. 2556 ประถมศกึ ษา โรงเรียนบา้ นตะบงิ ตงิ งี - ปี พ.ศ. 2562 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรยี นพฒั นาวิทยา - ปัจจุบนั กาลังศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพัฒนาวทิ ยา สงิ่ ทวี่ างแผนไว้ สถาปนิก คตปิ ระจาตวั -

30 ประวตั ิคณะผูจ้ ัดทาโครงงาน ประวัตสิ ว่ นตวั ชอื่ นางสาวซามีมี สะอะ เกดิ วนั ท่ี 06 มีนาคม 2550 ทีอ่ ยู่ 2/5 หมู่ 5 ตาบล ป่าไร่ อาเภอ แม่ลาน จงั หวดั ปตั ตานี 94180 มีพน่ี ้องท้งั หมด 3 คน วชิ าท่ีถนดั วชิ า เคมี โปรแกรมห้องที่เรียน Change MSO การศึกษา - ปพี .ศ. 2556 ประถมศึกษา โรงเรยี นศานตธิ รรม - ปี พ.ศ. 2562 มธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนธรรมวทิ ยามูลนธิ ิ - ปัจจบุ ันกาลังศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นพัฒนาวิทยา สิ่งท่ีวางแผนไว้ เก็บเนอ้ื หากอ่ นสอบสอวน. คติประจาตัว พยายามให้สุด แมจ้ ะผิดพลาดขนาดไหน สักวันจะเป็นของเรา

31 ประวตั คิ ณะผู้จัดทาโครงงาน ประวัตสิ ว่ นตัว ชอ่ื นางสาวเดยี นา หมดั ตะพงศ์ เกิดวนั ที่ 15 กรกฏาคม 2549 ทอ่ี ยู่ 495/92 ถนน อุตรกิจ ตาบล กระบี่ใหญ่ อาเภอ เมือง จังหวัด กระบ่ี มพี ี่นอ้ งทั้งหมด 7 คน วิชาท่ีถนัด วชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละภาษาอังกฤษ โปรแกรมห้องท่เี รยี น Change MSO การศกึ ษา - ปพี .ศ. 2556 ประถมศกึ ษา โรงเรียนเทศบาล 4 มหาราช - ปี พ.ศ. 2562 มธั ยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนมสุ ลิมศึกษา - ปจั จุบันกาลังศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นพัฒนาวิทยา ส่งิ ท่ีวางแผนไว้ สอบติดสอวน. คติประจาตวั Do it now Sometimes later become never


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook