Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรรายวิชาศิลปะ

หลักสูตรรายวิชาศิลปะ

Published by Koon Kru Ter ST, 2021-05-27 06:26:42

Description: หลักสูตรรายวิชาศิลปะ

Search

Read the Text Version

๔๘ สำระที่ 2 ดนตรี มำตรฐำน ตัวช้วี ัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออก 1. ระบอุ งคป์ ระกอบ  การสอ่ื อารมณ์ของบทเพลง ทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ ดนตรใี นเพลงที่ใชใ้ น ดว้ ยองคป์ ระกอบดนตรี วเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์ การสื่ออารมณ์ - จังหวะกบั อารมณ์ของบท คุณคา่ ดนตรีถ่ายทอด เพลง ความรสู้ ึก ความคิดตอ่ - ทานองกบั อารมณ์ของบท ดนตรีอย่างอสิ ระ ชืน่ ชม เพลง และประยุกตใ์ ชใ้ น ชีวิตประจาวนั 2. จาแนกลักษณะ  ลกั ษณะของเสียงนักร้อง ของเสียงขบั รอ้ งและ กลมุ่ ต่าง ๆ เคร่ืองดนตรที ่ีอยู่ในวง ดนตรปี ระเภท  ลกั ษณะเสยี งของวงดนตรี ต่าง ๆ ประเภทตา่ ง ๆ 3. อ่าน เขียนโนต้  เครือ่ งหมายและ ดนตรีไทยและสากล สญั ลกั ษณท์ างดนตรี 5 ระดับเสียง - บันไดเสียง 5 เสยี ง Pentatonic scale - โน้ตเพลงในบนั ไดเสยี ง 5 เสียง Pentatonic scale 4. ใชเ้ คร่อื งดนตรี  การบรรเลงเครื่อง บรรเลงจงั หวะ และ ประกอบจงั หวะ ทานอง  การบรรเลงทานองด้วย เครือ่ งดนตรี

๔๙ มำตรฐำน ตัวชวี้ ดั สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง สำระกำรเรียนร้ทู อ้ งถ่นิ 5. รอ้ งเพลงไทยหรือ  การรอ้ งเพลงไทยในอตั รา เพลงสากลหรือเพลง จงั หวะสองช้ัน ไทยสากลทเี่ หมาะสม  การร้องเพลงสากล หรือ กบั วยั ไทยสากล  การร้องเพลงประสานเสียง แบบ Canon Round 6. ดน้ สดงา่ ย ๆ โดย  การสร้างสรรคป์ ระโยค ใช้ประโยคเพลง เพลงถาม-ตอบ แบบถามตอบ 7. ใชด้ นตรรี ่วมกบั  การบรรเลงดนตรปี ระกอบ กจิ กรรมในการ กิจกรรมนาฏศิลป์ แสดงออกตาม จินตนาการ  การสรา้ งสรรค์เสยี ง ประกอบการเล่าเร่ือง ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ 1. อธบิ าย  ดนตรกี บั งานประเพณี - บทเพลงในงานประเพณี ระหว่างดนตรี ความสมั พนั ธ์ ในท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ และ ระหวา่ งดนตรีกับ - บทบาทของดนตรีในแต่ วฒั นธรรม เหน็ คณุ คา่ ประเพณีใน ละประเพณี ของดนตรีท่ีเปน็ มรดกทาง วัฒนธรรมตา่ ง ๆ  คณุ ค่าของดนตรีจากแหล่ง วฒั นธรรม วัฒนธรรม ภูมปิ ัญญา - คณุ ค่าทางสังคม ท้องถ่นิ ภูมปิ ัญญาไทยและ 2. อธิบายคุณคา่ - คณุ คา่ ทางประวตั ิศาสตร์ สากล ของดนตรีทีม่ าจาก วัฒนธรรมท่ตี า่ งกนั

๕๐ สำระท่ี 3 นำฎศิลป์ ตัวชวี้ ดั สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นร้ทู ้องถน่ิ 1. บรรยาย มำตรฐำน องคป์ ระกอบ  องค์ประกอบของนาฏศิลป์ นาฏศลิ ป์ - จังหวะ ทานอง คาร้อง ศ 3.1 เขา้ ใจ และ - ภาษาทา่ นาฏยศัพท์ แสดงออกทางนาฏศิลป์ 2. แสดงท่าทาง อย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ ประกอบเพลงหรือ อปุ กรณ์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์ เรอ่ื งราวตาม คุณคา่ นาฏศลิ ป์ ถา่ ยทอด ความคิดของตน  การประดษิ ฐ์ท่าทาง ความรสู้ กึ ความคิดอย่าง ประกอบเพลง หรือท่าทาง อิสระ ชื่นชม และ ประกอบเรอ่ื งราว ประยุกต์ใช้ ในชวี ติ ประจาวนั 3. แสดงนาฏศิลป์  การแสดงนาฏศลิ ป์ โดยเน้นการใช้ภาษา - ระบา ท่าและนาฏยศัพท์ใน - ฟ้อน การสื่อความหมาย - ราวงมาตรฐาน และการแสดงออก 4. มสี ่วนรว่ มในกลมุ่  องค์ประกอบของละคร กบั การเขียน - การเลือกและเขียนเคา้ เคา้ โครงเรอ่ื งหรือบท โครงเรอ่ื ง ละครสั้น ๆ - บทละครสั้น ๆ 5. เปรียบเทยี บการ  ที่มาของการแสดง แสดงนาฏศลิ ป์ชุด นาฏศิลป์ชุดตา่ ง ๆ ต่าง ๆ 6. บอกประโยชนท์ ี่  หลักการชมการแสดง ได้รบั จากการชม การแสดง  การถ่ายทอดความรสู้ ึก และคณุ คา่ ของการแสดง

๕๑ มำตรฐำน ตัวช้วี ัด สำระกำรเรียนร้แู กนกลำง สำระกำรเรียนร้ทู อ้ งถน่ิ  การแสดงนาฏศิลป์ ศ 3.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ 1. เปรียบเทยี บการ ประเภทตา่ ง ๆ ระหวา่ งนาฏศลิ ป์ แสดงประเภทตา่ ง ๆ การแสดงพื้นบ้าน ประวตั ิศาสตรแ์ ละ ของไทย ในแตล่ ะ วัฒนธรรม ทอ้ งถิ่น  การแสดงนาฏศลิ ป์ เห็นคณุ ค่าของนาฏศลิ ป์ท่ี ประเภทตา่ ง ๆ เป็นมรดกทางวฒั นธรรม 2. ระบหุ รือแสดง การแสดงพ้นื บา้ น ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ นาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ป์ ภูมิปญั ญาไทยและสากล พื้นบ้านทสี่ ะท้อนถงึ วฒั นธรรมและ ประเพณี

๕๒ โครงสรำ้ งรำยวชิ ำ รำยวชิ ำ ศลิ ปศกึ ษำ ชนั้ ประถมศึกษำปที ่ี 5 รหสั วชิ ำ ศ 15101 เวลำ 80 ช่วั โมง/ปี หนว่ ย ช่ือหน่วย มำตรฐำนกำร สำระสำคญั /ควำมคดิ รวบยอด เวลำ น้ำหนกั ที่ เรียนรู้/ตัวชี้วดั (ช่วั โมง) คะแนน ศ ๑.๑ ป.๕/๑ (100 ) ๑ เหมอื นต่าง ศ ๑.๑ ป.๕/๒ เสน้ สี รปู ร่าง ท่ปี รากฏเปน็ ระยะ ๓ สร้างสรรค์ ทมี่ ีความสมา่ เสมอ หรือเปน็ ระยะที่ ๒ ๔ ศ ๑.๑ ป.๕/๖ กาหนดไวต้ ามอารมณ์และความรู้สกึ ๒ ๒ การจดั องคป์ ระกอบ ของผ้สู รา้ งสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ ๓ ๓ และการส่ือ ศ ๑.๑ ป.๕/๓ แสดงถงึ จงั หวะท่มี องเห็นได้ ๓ ความหมายในงาน ๓ ๔ ทศั นศิลป์ ศ ๑.๑ ป.๕/๔ ในการสรา้ งผลงานทัศนศิลป์ ๓ นักเรยี นอาจพบปญั หาหลายอยา่ ง ๔ ๓ วาดแสงเล่นสี ศ ๒.๑ ป.๕/๔ ดังนน้ั ควรหาสาเหตุแลว้ แก้ไข เพ่ือให้ ผลงานมีความสมบรู ณ์ ๔ ๔ ปนั้ ตามจินตนาการ ศ ๒.๑ ป.๕/๒ น้าหนกั แสงเงา และการใชว้ รรณะสี ๕ เคร่ืองดนตรีบรรเลง มผี ลตอ่ การวาดภาพแสดงแสงเงา จังหวะและทานอง ตามธรรมชาติ เพ่ือให้มีความสวยงาม สมจริง ๖ วงดนตรไี ทยและ สากล จินตนาการเกิดข้ึนจากความคดิ สร้างสรรค์ และจินตนาการช่วยสร้าง ประโยคใหก้ ับโลกของเราได้อย่าง มากมาย นักเรียนสามารถถ่ายทอด จนิ ตนาการผ่านการปน้ั ซงึ่ เป็นการ พัฒนาจินตนาการของนกั เรยี นให้ งอกงาม เครือ่ งดนตรปี ระกอบจังหวะและ ทานองแต่ละชนดิ มีรปู ร่างลกั ษณะ และวิธีการบรรเลงท่ีแตกต่างกันไป แตเ่ ม่อื นามาบรรเลงรว่ มกันเป็นวง ดนตรี จะทาใหเ้ กิดความไพเราะ วงดนตรไี ทยและวงดนตรสี ากลแต่ ละวงมีลักษณะการใชเ้ ครื่องดนตรี การจดั วงและการบรรเลงแตกตา่ งกัน และใชบ้ รรเลงในงานต่างๆตามความ เหมาะสม เพอ่ื สรา้ งบรรยากาศใน งานให้รื่นเรงิ สนุกสนานผูม้ าร่วมงาน มีความสุข สบายใจ

๕๓ หน่วย ช่อื หน่วย มำตรฐำนกำร สำระสำคญั /ควำมคดิ รวบยอด เวลำ นำ้ หนัก ท่ี เรียนรู้/ตัวชีว้ ดั (ช่วั โมง) คะแนน (100 ) ๗ องคป์ ระกอบดนตรี ศ ๒.๑ ป.๕/๑ องค์ประกอบดนตรใี นแตล่ ะบทเพลง ๓ ๔ จะมีลักษณะแตกต่างกัน ซึ่งเป็น ๓ ๔ องคป์ ระกอบท่ีทาให้บทเพลงมีความ ๓ ๔ สมบรู ณ์ไพเราะและถา่ ยทอดอารมณ์ ๓ ๕ ๔ มาสผู่ ู้ฟงั ทาให้เกดิ ความซาบซึง้ ๔ ๔ สนกุ สนานเมื่อฟังเพลง ๓ ๔ ๘ เคร่ืองหมายและ ศ ๒.๑ ป.๕/๓ เครื่องหมายและสัญลกั ษณ์ทาง ๔ สญั ลักษณท์ างดนตรี ดนตรเี ป็นส่งิ ทีใ่ ชเ้ พื่อบอกจงั หวะและ ทานองของบทเพลงนั้น ใหผ้ ู้ขับร้อง และบรรเลงดนตรสี ามารถขับรอ้ งและ บรรเลงดนตรไี ดถ้ ูกต้อง ไพเราะ และ ส่ืออารมณข์ องบทเพลงมาสผู่ ู้ฟงั ได้ อยา่ งถูกต้อง ๙ จนิ ตนาการ ศ ๓.๑ ป.๕/๒ การแสดงท่าทางประกอบเพลงหรอื สรา้ งสรรค์ นิทาน เป็นการฝกึ ความคดิ จินตนาการสร้างสรรค์ และฝึก เคลื่อนไหวร่างกาย ทาให้สามารถ เคลือ่ นไหวได้คลอ่ งแคล่วและ สนุกสนาน ๑๐ นาฏยศพั ทแ์ ละ ศ ๓.๑ ป.๕/๑ นาฏยศัพทแ์ ละภาษาทา่ ทาง ภาษาทา่ ทาง นาฏศิลปไ์ ทยเป็นสงิ่ ที่ใช้ในการแสดง นาฏศลิ ปไ์ ทย นาฏศิลป์ ทาใหก้ ารแสดงมเี อกลกั ษณ์ และสวยงาม ๑๑ การแสดงนาฏศิลป์ ศ ๓.๑ ป.๕/๓ การแสดงนาฏศิลป์ไทยแตล่ ะ ไทย ศ ๓.๑ ป.๕/๕ ประเภท มรี ูปแบบการแสดงที่ ศ ๓.๒ ป.๕/๒ แตกตา่ งกนั มคี วามงดงามและเปน็ เอกลกั ษณ์ของชาติไทยทท่ี รงคุณค่า ควรคา่ แก่การอนุรักษ์และสืบทอด ต่อไป ๑๒ องคป์ ระกอบ ศ ๓.๑ ป.๕/๑ การแสดงนาฏศลิ ป์ไทยมคี วาม นาฏศิลป์ สวยงามจะตอ้ งประกอบดว้ ย องค์ประกอบนาฏศลิ ป์ท่ีสมบูรณ์ เพอ่ื ใหก้ ารแสดงสวยงาม ผ้ชู มชื่นชอบ และประทบั ใจในการแสดง ๑๓ สรปุ ทบทวนภำพรวม (สอบปลำยภำคเรียนที่ 1)

๕๔ หน่วย ชื่อหน่วย มำตรฐำนกำร สำระสำคัญ/ควำมคิดรวบยอด เวลำ นำ้ หนัก ท่ี เรยี นร้/ู ตวั ช้วี ดั (ชั่วโมง) คะแนน ศ ๑.๑ ป.๕/๕ (100 ) ๑๔ จัดวางสร้างงาน การจัดวางตาแหน่งของสงิ่ ต่างๆ ใน ๔ พิมพ์ ศ ๑.๑ ป.๕/๗ การสร้างสรรคง์ านพมิ พ์ภาพ ควร ๖ ๔ ศ ๑.๒ ป.๕/๑ คานึงถึงจุดเด่นในภาพ สสี ัน รปู รา่ ง ๑๕ ภูมปิ ญั ญาในงาน ศ ๑.๒ ป.๕/๒ รปู ทรง ระยะห่างของสงิ่ ต่างๆ ใน ๕ ๗ ทศั นศลิ ป์ ภาพ ซ่ึงมีความสาคญั เพราะทา ๔ ศ ๒.๑ ป.๕/๕ ใหผ้ ลงานทศั นศิลป์มีความสวยงาม ๕ ๑๖ หลกั การขบั ร้อง ศ ๒.๑ ป.๕/๖ ๑๗ สรา้ งสรรค์ดนตรี ผลงานทศั นศิลป์ท่มี าจากภูมปิ ัญญา ๔ ศ ๒.๑ ป.๕/๗ ของชาวบ้านในท้องถนิ่ ต่างๆ เปน็ งานที่สรา้ งสรรค์ มคี ุณค่าทางด้าน ความงามและประโยชน์ใชส้ อยตาม สภาพของท้องถน่ิ ภายใต้อิทธิพล ชีวิตความเปน็ อยู่ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรม ความเช่ือ จน กลายเป็นเอกลักษณข์ องท้องถนิ่ น้ันๆ และเป็นผลงานทางภมู ิปัญญาท่ีมี คุณค่าต่อสงั คมไทยมาต้ังแต่อดีต จนถงึ ปัจจบุ นั การขบั รอ้ งเพลง ผู้ขับร้องต้องฝึก ขับร้องอย่างสมา่ เสมอและปฏิบตั ติ น ตามหลักการขบั ร้องเพ่ือให้ร้องเพลง ได้ถูกต้อง ไพเราะ และถ่ายทอด อารมณ์บทเพลงมาสูผ่ ้ฟู งั ได้ ทาให้ ผู้ฟังซาบซง้ึ และเกิดอารมณ์คล้อย ตาม - การนาดนตรีมาบรรเลง ประกอบการแสดงนาฏศลิ ปจ์ ะทาให้ การแสดงน่าสนใจ และสนุกสนาน ทาให้ผ้ชู มประทับใจในการแสดง - การพากยเ์ สยี งที่ดีผูพ้ ากยจ์ ะต้อง ถา่ ยทอดความรู้สกึ ใหต้ รงกบั ตัวละคร และพากย์ให้สัมพนั ธ์กับลักษณะของ ตวั ละคร เพื่อทจ่ี ะถ่ายทอดอารมณ์ ของตัวละครได้อยา่ งถกู ต้อง

๕๕ หน่วย ชือ่ หน่วย มำตรฐำนกำร สำระสำคญั /ควำมคดิ รวบยอด เวลำ น้ำหนัก ท่ี เรียนร/ู้ ตัวช้วี ดั (ช่วั โมง) คะแนน (100 ) ๑๘ ดนตรีกบั ประเพณี ศ ๒.๒ ป.๕/๑ ประเพณีไทย เป็นมรดกทาง ๔ ๔ ทอ้ งถิน่ ศ ๒.๒ ป.๕/๒ วฒั นธรรมของชาติไทย มลี ักษณะ ๔ ๕ แตกตา่ งกันไปตามแตล่ ะภูมิภาค ๓ ๔ และในงานประเพณีจะมีการนา ๕ ๖ ดนตรมี าบรรเลงประกอบในงานเพ่อื ๕ ๘๐ ๑๐ สร้างความสนกุ สนานแก่ผมู้ าร่วมงาน ๑๐๐ เปน็ มรดกไทยท่ีควรแก่การอนุรกั ษ์ สืบไป ๑๙ ละคร ศ ๓.๑ ป.๕/๔ ละครเปน็ การแสดงท่ีสะทอ้ นให้ เหน็ ถงึ วถิ ีชีวติ สภาพสงั คม เป็นส่งิ ที่ สร้างความบนั เทงิ ความสนุกสนาน ให้กับผู้ทีไ่ ดร้ ับชม ละครที่ดคี วร สอดแทรกข้อคิดตา่ งๆ ไว้ในละคร เพอ่ื ให้ผ้ชู มไดร้ บั ประโยชน์จากการ ชมละครและสามารถนาไป ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ได้ ๒๐ หลักการชมการ ศ ๓.๑ ป.๕/๖ การชมการแสดงนาฏศิลป์ ผู้ชมควร แสดง มมี ารยาทในการชมการแสดง และมี หลักในการชมการแสดง จะทาให้ชม การแสดงได้เข้าใจและสนุกสนาน อกี ทงั้ ยงั ไดร้ บั ประโยชนต์ ่างๆ จากการ ชมการแสดงและเปน็ การช่วยอนุรักษ์ นาฏศลิ ป์ไทยดว้ ย ๒๑ นาฏศิลปไ์ ทยและ ศ ๓.๒ ป.๕/๑ การแสดงนาฏศิลป์ไทยและ นาฎศลิ ปส์ ากล ศ ๓.๒ ป.๕/๒ นาฏศลิ ปส์ ากลมรี ูปแบบ และ ลักษณะการแสดงท่แี ตกตา่ งกัน เปน็ การแสดงท่ีสะท้อนถึงวิถีชวี ติ วัฒนธรรมและประเพณขี องท้องถ่นิ และของชาตินั้นๆ เป็นมรดกท่ี ทรงคุณค่าและควรคา่ แกก่ ารอนุรักษ์ และสบื ทอดตอ่ ไป ๒๒ สรุปทบทวนภำพรวม(สอบปลำยภำคเรียนท่ี 2 ) รวมท้ังสิน้ ตลอดปี

๕๖ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ รำยวชิ ำศลิ ปศกึ ษำ ชั้นประถมศกึ ษำปีที่ 6 รหัสวิชำ ศ 16101 เวลำ 80 ชวั่ โมง/ปี อธิบาย อภิปราย บรรยาย ระบุ จาแนก สิ่งตรงข้ามและอภิปรายเกี่ยวกับการใช้สีคู่ตรงข้ามในการ ถ่ายทอดความคิด และอารมณ์ บรรยายอิทธิพลทางวัฒนธรรมในท้องถ่ินท่ีมีผลต่อการสร้างงานทัศนศิลป์ของ บุคคล ประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือการชมการแสดงนาฎศิลป์และละคร หลักการจัดขนาด สัดส่วน ความ สมดุลในการสร้างงานทัศนศิลป์ เรื่องราวของดนตรีไทยในประวัติศาสตร์ สิ่งที่มีความสาคัญต่อการแสดงนาฎศิลป์ และละคร ความสัมพันธ์ระหว่างนาฎศิลป์และการละครกับส่ิงท่ีประสบในชีวิตประจาวัน บทบาทของงาน ทัศนศิลป์ที่สะท้อนชีวิตและสังคม เพลงที่ฟังโดยอาศัยองค์ประกอบดนตรีและศัพท์สังคีต ความรู้สึกท่ีมีต่อดนตรี ความรู้สึกของตนเองที่มีต่องานนาฎศิลป์และการละครอย่างสร้างสรรค์ เก่ียวกับอิทธิพลของความเช่ือ ความ ศรทั ธาในศาสนาที่มีผลต่องานทัศนศลิ ปใ์ นท้องถน่ิ อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อดนตรใี นท้องถ่ิน ประเภทและบทบาท หนา้ ท่ี เครอ่ื งดนตรไี ทยและเครอ่ื งดนตรีท่มี าจากวัฒนธรรมตา่ งๆ ดนตรีที่มาจากยคุ สมัยตา่ งกัน สร้างสรรค์ สร้างงานทัศนศิลป์จากรูปแบบ 2 มิติ เป็น 3 มิติ โดยใช้หลักการของแสงเงาและน้าหนัก ทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิดหรือเรื่องราวเก่ียวกับเหตุการณ์ต่างๆ งานปั้นโดยใช้หลักการเพิ่มและการลด สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการของรูปและพื้นที่ว่างโดยใช้สีคู่ตรง ขา้ ม หลักการจัดขนาดสัดส่วนและความสมดุล สร้างสรรค์การเคล่ือนไหวและการแสดงโดยเน้นการถา่ ยทอดลีลา หรืออารมณ์ แสดง ออกแบบ ใช้ อ่านเขียน โน้ตไทยและโน้ตสากลทานองง่ายๆ เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการ ร้องเพลง ด้นสดที่มีจังหวะและทานองง่ายๆ ความคิดเห็นเกี่ยวกับทานองจังหวะ การประสานเสียงและคุณภาพ เสียงของเพลงท่ีฟัง นาฎศิลป์และละครง่ายๆ ความคิดเห็นในการชมการแสดง เคร่ืองแต่งกายหรืออุปกรณ์ ประกอบการแสดงอยา่ งงา่ ยๆ รหสั ตัวช้ีวดั ศ 1.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ป.6/7 ศ 1.2 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ศ 2.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ศ 2.2 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ศ 3.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ศ 3.2 ป.6/1 ป.6/2 รวมทั้งหมด 27 ตวั ชวี้ ดั

๕๗ ตวั ชีว้ ดั และสำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง ชน้ั ประถมศกึ ษำปีท่ี 6 สำระที่ 1 ทศั นศลิ ป์ มำตรฐำน ตัวชว้ี ัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน ศ 1.1 สร้างสรรค์งาน 1. ระบุสีคตู่ รงขา้ ม  วงสีธรรมชาติ และสีคตู่ รง ทัศนศลิ ปต์ ามจินตนาการ และอภิปรายเก่ยี วกบั ขา้ ม และความคิดสรา้ งสรรค์ การใช้สคี ตู่ รงขา้ มใน วิเคราะห์ วิพากษ์วจิ ารณ์ การถ่ายทอด คุณคา่ งานทัศนศิลป์ ความคิดและอารมณ์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิด ตอ่ งานศิลปะอย่างอสิ ระช่นื 2. อธบิ ายหลกั การ  หลักการจัดขนาด สดั สว่ น ชม และประยุกต์ใชใ้ น จดั ขนาดสัดส่วน ความสมดลุ ในงานทัศนศลิ ป์ ชวี ิตประจาวัน ความสมดลุ ในการ สร้างงานทัศนศลิ ป์ 3. สรา้ งงาน  งานทัศนศลิ ป์รูปแบบ ทัศนศลิ ปจ์ ากรปู แบบ 2 มิติ และ 3 มิติ 2 มติ ิ เปน็ 3 มิติ โดยใช้หลกั การ ของ แสงเงาและนา้ หนัก 4. สรา้ งสรรคง์ านปน้ั  การใช้หลักการเพมิ่ และลด โดยใชห้ ลกั การเพิ่ม ในการสรา้ งสรรค์งานป้ัน และลด 5. สรา้ งสรรค์งาน  รูปและพ้นื ที่ว่างในงาน ทศั นศลิ ป์โดยใช้ ทัศนศลิ ป์ หลักการ ของรปู และ พืน้ ที่วา่ ง

๕๘ มำตรฐำน ตวั ช้ีวดั สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง สำระกำรเรียนร้ทู ้องถน่ิ 6.สรา้ งสรรค์งาน  การสรา้ งสรรค์งาน ทศั นศิลป์โดยใช้ ทัศนศลิ ปโ์ ดยใช้ สีคตู่ รงข้าม สีคู่ตรงข้ามหลักการ หลักการจัดขนาด สดั สว่ นและ จัดขนาดสดั สว่ น และ ความสมดุล ความสมดลุ 7. สร้างงาน  การสรา้ งงานทัศนศลิ ปเ์ ป็น ทศั นศิลป์เป็น แผนภาพ แผนผัง และ แผนภาพ แผนผัง ภาพประกอบ และภาพประกอบ เพื่อถ่ายทอด ความคิดหรือ เรอ่ื งราวเกี่ยวกับ เหตุการณ์ต่าง ๆ ศ 1. 2 เข้าใจความสมั พนั ธ์ 1. บรรยายบทบาท  บทบาทของงานทัศนศิลป์ ในชีวติ และสังคม ระหว่างทศั นศลิ ป์ ของงานทัศนศิลป์  อิทธิพลของศาสนาท่ีมีต่อ ประวัตศิ าสตร์ และ ทีส่ ะท้อนชีวิตและ งานทัศนศลิ ป์ในท้องถน่ิ วัฒนธรรม เหน็ คุณค่า สังคม งานทัศนศลิ ป์ที่เป็นมรดก ทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญา 2. อภปิ รายเก่ยี วกับ ทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และ อทิ ธพิ ลของ สากล ความเช่ือความ ศรทั ธาในศาสนาทม่ี ี ผลตอ่ งานทัศนศลิ ป์ ในท้องถนิ่

๕๙ มำตรฐำน ตวั ช้ีวัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ท้องถิ่น 3. ระบุ และบรรยาย  อิทธิพลของศาสนาที่มตี ่อ อิทธิพลทางวฒั นธรรม งานทศั นศิลป์ในท้องถิ่น ในท้องถ่ินทม่ี ผี ลตอ่ การสร้างงานทศั นศิลป์ ของบุคคล สำระท่ี 2 ดนตรี ตัวชวี้ ัด สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง สำระกำรเรียนรู้ท้องถน่ิ  องค์ประกอบดนตรแี ละ มำตรฐำน 1. บรรยายเพลงท่ีฟัง ศัพท์สังคีต โดยอาศัย ศ 2.1 เข้าใจและ องคป์ ระกอบดนตรี  เคร่อื งดนตรีไทยแต่ละภาค แสดงออกทางดนตรีอย่าง และศัพทส์ ังคีต  บทบาทและหนา้ ท่ขี อง สรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ เครือ่ งดนตรี วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี 2. จาแนกประเภท  ประเภทของเครื่องดนตรี ถา่ ยทอดความรสู้ ึก และบทบาทหนา้ ที่ สากล ความคิดต่อดนตรีอยา่ ง เครื่องดนตรีไทยและ อสิ ระ ชน่ื ชม และ เครอื่ งดนตรีที่ ประยุกตใ์ ช้ใน มาจากวฒั นธรรมตา่ ง ชวี ิตประจาวัน ๆ 3. อ่าน เขยี นโน้ต  เคร่อื งหมายและ ไทย และโนต้ สากล สญั ลกั ษณ์ทางดนตรี ทานองง่าย ๆ  โน้ตบทเพลงไทย อตั รา จังหวะสองชั้น  โนต้ บทเพลงสากลในบนั ได เสยี ง C Major

๖๐ มำตรฐำน ตวั ชวี้ ดั สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ท้องถน่ิ 4. ใช้เคร่ืองดนตรี  การรอ้ งเพลงประกอบ บรรเลงประกอบ ดนตรี การร้องเพลง ด้นสด  การสร้างสรรคร์ ปู แบบ ท่ีมจี ังหวะและ จังหวะและทานองดว้ ยเครือ่ ง ทานองง่าย ๆ ดนตรี 5. บรรยายความรู้สึก  การบรรยายความรู้สึกและ ที่มตี ่อดนตรี แสดงความคิดเห็นทีม่ ตี ่อบท 6. แสดงความ เพลง คดิ เห็นเก่ยี วกับ ทานอง จงั หวะการ - เน้ือหาในบทเพลง ประสานเสียง และ - องค์ประกอบในบทเพลง - คณุ ภาพเสยี งในบทเพลง คุณภาพเสยี งของ เพลงที่ฟงั ศ 2.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ 1. อธิบายเร่อื งราว  ดนตรีไทยใน ระหว่างดนตรี ของดนตรีไทย ประวตั ศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ และ ในประวัตศิ าสตร์ - ดนตรีในเหตุการณ์สาคญั วฒั นธรรม เหน็ คณุ คา่ 2. จาแนกดนตรีทีม่ า ทางประวัติศาสตร์ ของดนตรีทีเ่ ป็นมรดกทาง จากยคุ สมยั ที่ต่างกัน - ดนตรีในยุคสมัยตา่ ง ๆ วัฒนธรรม ภมู ิปญั ญา 3. อภิปรายอิทธพิ ล - อทิ ธิพลของวฒั นธรรมท่ีมี ท้องถิน่ ภมู ปิ ญั ญาไทยและ ของวัฒนธรรม ตอ่ ดนตรี สากล ตอ่ ดนตรีในท้องถน่ิ

๖๑ สำระที่ 3 นำฎศิลป์ ตวั ช้ีวัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง สำระกำรเรียนร้ทู อ้ งถ่นิ มำตรฐำน 1. สรา้ งสรรค์การ  การประดิษฐท์ ่าทาง เคลอ่ื นไหวและการ ประกอบเพลงปลกุ ใจหรอื เพลง ศ 3.1 เข้าใจ และ แสดงโดยเนน้ การ พนื้ เมืองหรอื ทอ้ งถน่ิ เนน้ ลลี า แสดงออกทางนาฏศิลป์ ถา่ ยทอดลีลาหรือ หรอื อารมณ์ อยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ อารมณ์ วิพากษ์วจิ ารณ์  การออกแบบสร้างสรรค์ คณุ ค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอด 2. ออกแบบเครอื่ ง - เครอื่ งแตง่ กาย ความรสู้ กึ ความคิดอย่าง แต่งกาย หรือ - อุปกรณ์ ฉาก อสิ ระ ชื่นชม และ อุปกรณ์ประกอบการ ประยุกต์ใช้ แสดงอย่างงา่ ย ๆ ประกอบการแสดง ในชวี ิตประจาวัน 3. แสดงนาฏศลิ ป์  การแสดงนาฏศลิ ป์และ และละครงา่ ย ๆ การแสดงละคร - ราวงมาตรฐาน - ระบา - ฟ้อน - ละครสรา้ งสรรค์ 4. บรรยายความรู้สกึ  บทบาทและหนา้ ที่ในงาน ของตนเองท่ีมีต่องาน นาฏศลิ ป์และการละคร นาฏศลิ ป์และการ ละครอยา่ งสร้างสรรค์ 5. แสดงความ  หลกั การชมการแสดง คดิ เหน็ ในการชมการ - การวิเคราะห์ แสดง - ความรสู้ กึ ชืน่ ชม

๖๒ มำตรฐำน ตวั ชวี้ ดั สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง สำระกำรเรียนรู้ท้องถิน่ 6. อธบิ ายความ  องค์ประกอบทางนาฏศิลป์ สัมพนั ธร์ ะหวา่ ง และการละคร นาฏศิลป์และการ ละครกบั ส่ิงท่ปี ระสบ ในชีวติ ประจาวัน ศ 3.2 เขา้ ใจความสมั พันธ์ 1. อธบิ ายส่ิงทมี่ ี  ความหมาย ความเป็นมา ระหว่างนาฏศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์และ ความสาคญั ต่อการ ความสาคัญ ของนาฏศลิ ป์ วัฒนธรรม แสดงนาฏศลิ ปแ์ ละ เหน็ คณุ คา่ ของนาฏศิลป์ท่ี ละคร และละคร - บุคคลสาคัญ เป็นมรดกทางวฒั นธรรม - คณุ ค่า ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ 2. ระบุประโยชน์ที่  การแสดงนาฏศิลป์และ  ประวตั คิ วามสาคัญของ ภูมิปญั ญาไทยและสากล ไดร้ ับจากการแสดง ละครในวันสาคญั ของโรงเรียน นาฏศลิ ป์พืน้ บา้ น หรือการชมการแสดง นาฏศิลป์และละคร

๖๓ โครงสรำ้ งรำยวิชำ รำยวชิ ำ ศิลปศกึ ษำ ช้ันประถมศกึ ษำปีท่ี 6 รหัสวชิ ำ ศ16101 เวลำ 80 ชั่วโมง/ปี หนว่ ย ช่อื หน่วย มำตรฐำนกำร สำระสำคญั /ควำมคดิ รวบยอด เวลำ น้ำหนกั ท่ี เรยี นร้/ู ตวั ช้ีวดั (ชวั่ โมง) คะแนน (100 ) ๑ สวยงามดว้ ยความ ศ ๑.๑ ป.๖/๒ หลักการจัดขนาดสดั สว่ น ความ ๒ สมดุล ศ ๑.๑ ป.๖/๕ สมดุล รปู และพน้ื ที่ว่างเปน็ ๓ ๓ ศ ๑.๑ ป.๖/๑ องค์ประกอบท่ีสาคญั ในการสร้าง ๔ ๔ ๒ สีตรงขา้ มก็งามได้ ศ ๑.๑ ป.๖/๖ งานทัศนศิลป์ ๓ ๕ ๓ ๒ มติ ิ สู่ ๓ มติ ิ ศ ๑.๑ ป.๖/๓ สคี ตู่ รงข้ามเปน็ สีที่อยตู่ รงขา้ ม ๓ กนั ในวงสธี รรมชาติ สีค่ตู รงข้าม ๔ ๔ ปัน้ แต่งเตมิ เพมิ่ และ ศ ๑.๑ ป.๖/๔ ทาใหผ้ ู้ที่มองเหน็ เกดิ ความร้สู ึก ๔ ลด ศ ๒.๑ ป.๖/๑ ขัดแยง้ แตว่ ิธีการใชส้ ีคูต่ รงข้ามที่ เหมาะสมจะทาใหผ้ ลงาน ๕ องค์ประกอบดนตรี ทศั นศลิ ป์มีความโดดเดน่ และศัพท์สงั คีต สวยงามและนา่ สนใจ การวาดภาพ ๒ มิติ ใหเ้ ปน็ ภาพ ๓ มติ ิ จาเป็นต้องใชเ้ สน้ อยา่ ง ถกู ต้องและมกี ารลงน้าหนกั แสง เงาในภาพ ซ่งึ เป็นหลักการ พ้นื ฐานทผ่ี ูส้ ร้างทัศนศลิ ปต์ อ้ งรู้ และเขา้ ใจเพื่อนาไปใชส้ ร้างสรรค์ ผลงานทศั นศิลปใ์ ห้มคี วามลงตัว และสามารถนาความรู้พื้นฐานไป ประยุกต์สร้างสรรค์ผลงานให้มี ความแปลกใหมไ่ ด้อย่าง เหมาะสม หลักการเพมิ่ และลดเปน็ ส่ิง สาคัญทท่ี าใหง้ านปัน้ เกดิ เป็น รปู ทรงทต่ี ้องการ องค์ประกอบดนตรีทมี่ ผี ลต่อ ความไพเราะของเพลง ศัพท์ สังคตี ช่วยใหผ้ ูบ้ รรเลงสามารถ บรรเลงเพลงได้ถูกต้องและเข้าใจ บทเพลงไดง้ า่ ยข้ึน

๖๔ หนว่ ย ชื่อหน่วย มำตรฐำนกำร สำระสำคญั /ควำมคดิ รวบยอด เวลำ น้ำหนัก ท่ี เรยี นร/ู้ ตวั ชีว้ ัด (ช่ัวโมง) คะแนน (100 ) ๖ เครื่องดนตรีไทยและ ศ ๒.๑ ป.๖/๒ เคร่ืองดนตรีพื้นบา้ นของไทยใน ๔ ๓ ๕ เคร่อื งดนตรสี ากล แต่ละภาคและเคร่ืองดนตรสี ากล ๕ ๔ แต่ละประเภทมีลกั ษณะรูปร่าง ๕ ๕ เสยี งและวิธกี ารบรรเลงท่ี ๕ แตกตา่ งกนั เมื่อนามาบรรเลง ร่วมกันจะทาให้เกิดความไพเราะ ๗ เครื่องหมายและ ศ ๒.๑ ป.๖/๓ เคร่ืองหมายและสัญลักษณ์ทาง สญั ลักษณ์ทางดนตรี ดนตรเี ปน็ ส่ิงท่ีใชแ้ ทนจงั หวะและ เสยี ง ทาใหผ้ ขู้ ับร้องและบรรเลง ดนตรี เขา้ ใจจงั หวะ ทานองของ เพลง สามารถบรรเลงเพลงได้ ถูกต้องตามจังหวะและมีความ ไพเราะ ๘ นาฏศลิ ปส์ รา้ งสรรค์ ศ ๓.๑ ป.๖/๑ - การประดิษฐท์ ่าทางประกอบ ศ ๓.๑ ป.๖/๒ เพลงพ้ืนเมอื งเป็นการสรา้ งสรรค์ การเคลอ่ื นไหวการแสดงให้ สอดคล้องกับวถิ ีชีวิต อาชีพของ คนในท้องถิ่น - การออกแบบนาฏศิลป์เปน็ ส่งิ ที่ทาใหก้ ารแสดงนา่ สนใจ ซ่ึงใน การออกแบบควรใชห้ ลกั การ ออกแบบโดยคานึงถงึ ความ ประหยัด ปลอดภัย และการใช้ ประโยชน์ ๙ นาฏยศัพท์และภาษา ศ ๓.๑ ป.๖/๓ นาฏยศพั ทแ์ ละภาษาทา่ เป็นส่งิ ท่าทางนาฏศิลป์ไทย ทใ่ี ช้ในการแสดงนาฏศิลป์ เพ่ือ สื่อความหมายในการแสดงแทน คาพดู ทาให้การแสดงมี เอกลักษณแ์ ละมีความสมบูรณ์ สวยงาม

๖๕ หน่วย ช่ือหน่วย มำตรฐำนกำร สำระสำคัญ/ควำมคิดรวบยอด เวลำ น้ำหนัก ที่ เรยี นรู/้ ตวั ชี้วดั (ชั่วโมง) คะแนน (100 ) ๑๐ การแสดงนาฏศิลป์ ศ ๓.๑ ป.๖/๓ การแสดงนาฏศิลปแ์ ละละคร ๕ ๕ และละคร ไทยเป็นสิง่ ทส่ี รา้ งความสุข ๓ ๔ ๖ บนั เทิงใจให้กับคนในชาติ เป็น ๕ ๕ ๓ การแสดงที่เป็นเอกลักษณ์ ๕ สะท้อนศลิ ปวัฒนธรรมของชาติ ๔ และมคี วามงดงาม ถือเปน็ มรดก ทางวฒั นธรรมของชาติทม่ี ีคุณคา่ ต่อคนในชาติท่ีควรร่วมกัน ส่งเสรมิ อนรุ กั ษ์และสืบทอด ต่อไป ๑๑ สรุปทบทวนภำพรวม (สอบปลำยภำคเรียนที่ 1) ๑๒ ภาพนีม้ คี วามหมาย ศ ๑.๑ ป.๖/๗ การสร้างแผนภาพ แผนผงั และภาพประกอบเพือ่ ถา่ ยทอด ความคดิ หรือเล่าเรื่องราวต่างๆ จาเป็นต้องมีการจดั ลาดบั ข้อมูลที่ ตอ้ งการนาเสนอประกอบการใช้ ทกั ษะและความคิดสรา้ งสรรค์ใน การวาด ๑๓ ทัศนศิลปส์ ะท้อนชวี ติ ศ ๑.๒ ป.๖/๑ งานทัศนศลิ ปใ์ นทอ้ งถิ่น มีที่มา ศ ๑.๒ ป.๖/๒ จากภูมิปัญญาของชาวบา้ น โดย ศ ๑.๒ ป.๖/๓ อาศัยแรงบนั ดาลใจจากอิทธิพล ของความเชือ่ ในศาสนา วฒั นธรรมในทอ้ งถิ่น ผลงานท่ี ออกมาจึงสะท้อนให้เห็นถงึ วิถี ชวี ติ ของชาวบ้านในท้องถิ่นนั้นๆ ๑๔ หลักการร้องเพลง ศ ๒.๑ ป.๖/๔ การขับร้องเพลงตามหลกั การ ขบั ร้องจะทาให้ขบั รอ้ งเพลงได้ ไพเราะ ถูกตอ้ งตรงตามจังหวะ ถ่ายทอดอารมณข์ องเพลงได้ ถูกต้อง ทาให้ผู้ฟังเข้าใจเพลง และเกิดความซาบซ้ึง

๖๖ หน่วย ชื่อหน่วย มำตรฐำนกำร สำระสำคัญ/ควำมคิดรวบยอด เวลำ นำ้ หนัก ที่ เรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด (ช่วั โมง) คะแนน (100 ) ๑๕ การวิเคราะหเ์ พลง ศ ๒.๑ ป.๖/๕ การวิเคราะห์เพลงและการฟัง ๓ ๕ ๔ และหลักการฟังเพลง ศ ๒.๑ ป.๖/๖ เพลง จะทาให้ผวู้ เิ คราะห์และ ๖ ๓ ผูฟ้ ังเข้าใจเพลงเขา้ ใจ ๓ ๔ องค์ประกอบของเพลง เกิดความ ๔ ซาบซ้ึงในเพลงท่ีฟงั ๑๖ วิวัฒนาการดนตรี ศ ๒.๒ ป.๖/๑ - ดนตรีไทยเป็นสง่ิ ท่มี ีมาต้งั แต่ ไทย ศ ๒.๒ ป.๖/๒ สมัยอดีตมีการพัฒนาเรือ่ ยมาจน ศ ๒.๒ ป.๖/๓ ปัจจบุ นั เป็นสิ่งทสี่ ร้างความสุข สนุกสนาน บันเทิงใจให้กับคนใน ชาติ และเป็นมรดกที่แสดงถงึ เอกลกั ษณ์ของชาติทมี่ คี ุณค่าและ ควรคา่ แก่การส่งเสริมอนุรกั ษ์ สบื ไป - ดนตรที ้องถ่นิ มีอิทธิพลตอ่ คน ในท้องถิน่ เป็นส่ิงท่ีแสดงถงึ วฒั นธรรม ประเพณี วถิ ีชีวติ ของ คนในท้องถิ่น ซึ่งแตล่ ะภมู ภิ าพ จะแตกต่างกัน ถือเป็นมรดก ท้องถ่นิ ทค่ี วรสง่ เสริม อนรุ ักษ์ และสบื ทอดให้คงอยู่ต่อไป ๑๗ มารยาทในการชม ศ ๓.๑ ป.๖/๕ การมีมารยาทในการชมการ การแสดงนาฏศิลป์ ศ ๓.๒ ป.๖/๒ แสดงจะทาให้ชมการแสดงได้ และละคร เข้าใจ ไม่รบกวนสมาธขิ องผู้ชม และผูแ้ สดง ควรมหี ลกั ในการชม การแสดเพื่อที่จะทาให้ชมการ แสดงได้เขา้ ใจมากข้นึ และได้รบั ประโยชน์จากการชมการแสดงที่ สามารถนาไปปรบั ใชใ้ น ชีวติ ประจาวนั ได้ ๑๘ บทบาทหนา้ ที่ของ ศ ๓.๑ ป.๖/๔ การแสดงนาฏศิลปแ์ ละละคร งานนาฏศิลป์และ ศ ๓.๑ ป.๖/๖ เปน็ การแสดงที่มคี วามสมั พันธ์ การละคร กับชวี ิตของคนในสังคม เพราะ เป็นการแสดงท่สี ะทอนวถิ ชี วี ิต ความเป็นอยู่ วัฒนธรรม

๖๗ หน่วย ชื่อหน่วย มำตรฐำนกำร สำระสำคัญ/ควำมคดิ รวบยอด เวลำ นำ้ หนกั ท่ี เรยี นรู้/ตวั ชวี้ ดั (ชั่วโมง) คะแนน (100 ) ประเพณีของคนในสงั คม ซ่ึงใน ๘ การสรา้ งสรรคก์ ารแสดง นาฏศิลปแ์ ละละครจะต้อง ประกอบดว้ ยบคุ คลฝา่ ยต่างๆ ท่ี มหี น้าท่ีสรา้ งสรรคก์ ารแสดงท่ี แตกต่างกนั มาร่วมสรา้ งสรรค์ การแสดง โดยตอ้ งอาศยั ความ รว่ มมอื ความสามคั คีในการ สรา้ งสรรค์การแสดง เพอื่ ให้การ แสดงสมบรู ณ์ และสาเร็จลลุ ว่ งไป ไดด้ ว้ ยดี ๑๙ ประวตั ินาฏศลิ ปแ์ ละ ศ ๓.๒ ป.๖/๑ การแสดงนาฏศิลป์และละคร ๖ การละครของไทย ไทยถือกาเนิดมาช้านาน เปน็ การ แสดงทีส่ รา้ งความสุขความผ่อน คลายใหก้ ับคนในชาติ เป็นการ แสดงทมี่ ีคุณคา่ ตอ่ คนในสังคม และประเทศชาติ เพราะแสดงถงึ ความเปน็ อารยประเทศและเปน็ ศนู ย์รวมของศิลปะแขนงต่างๆ อกี ท้ังในการแสดงนาฏศิลปแ์ ละ ละครไทยยงั มบี ุคคลสาคัญทม่ี ี บทบาทในการสรา้ งสรรคก์ าร แสดงใหม้ เี อกลกั ษณแ์ ละเปน็ แบบแผนสืบทอดมาจนปัจจุบัน การแสดงนาฏศลิ ป์และละครไทย จงึ เป็นการแสดงทม่ี คี วามสาคัญ ตอ่ ชาติไทยทค่ี วรอนรุ ักษ์ไวใ้ ห้อยู่ คชู่ าตไิ ทยสบื ไป ๒๐ สรปุ ทบทวนภำพรวม(สอบปลำยภำคเรียนท่ี 2 ) ๘ ๑๐ รวมทั้งสิ้น ตลอดปี ๘๐ ๑๐๐

๖๘


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook