Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียน

ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียน

Published by Koon Kru Ter ST, 2021-05-28 04:51:45

Description: ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียน

Search

Read the Text Version

คำนำ ระเบยี บว่าด้วยการวดั และประเมินผลการเรียน ของสถานศึกษา เป็นเอกสารประกอบหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่จะช่วยขบั เคล่ือนกระบวนการนาหลักสตู รสถานศึกษา ตามหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ไปสู่การปฏิบัติ ใหเ้ ป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ โรงเรียนบ้านวังปืน จึงได้จัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพ่ืออธิบายขยายความให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายตั้งแต่ ผูบ้ ริหาร ครูผู้สอน ผู้เรียน และผู้เกี่ยวขอ้ ง มีความเข้าใจท่ีชัดเจน ตรงกัน รวมท้ังร่วมกันรบั ผิดชอบ และทางาน ร่วมกันอยา่ งเปน็ ระบบ ซ่งึ ประกอบดว้ ย ๖ หมวด ได้แก่ หมวด ๑ หลกั การวดั และประเมนิ ผลการเรียน หมวด ๒ วธิ ีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ หมวด ๓ เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู้ หมวด ๔ การเทยี บโอนผลการเรียน หมวด ๕ เอกสารหลักฐานการศกึ ษา หมวด ๖ การเทียบโอนผลการเรยี น คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ของโรงเรียนบ้านวังปืน เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่จะช่วยพัฒนาการจัดการเรียนรู้ควบคู่ไปกับการวัดและประเมินผลการเรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาเยาวชนไทยให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะกระบวนการคิด เป็นคนดี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และดารงชวี ติ ในสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข คณะผ้จู ดั ทา โรงเรยี นบา้ นวงั ปืน

เร่อื ง สำรบัญ หนำ้ หมวด ๑ ๑ หมวด ๒ หลักการวดั และประเมนิ ผลการเรยี น ๒ หมวด ๓ วธิ ีการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๖ หมวด ๔ เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลการเรยี น ๘ หมวด ๕ การเทียบโอนผลการเรยี น ๑๐ หมวด ๖ เอกสารหลกั ฐานการศึกษา ๑๑ บทเฉพาะกาล

๑ ระเบยี บโรงเรยี นบา้ นวังปนื วา่ ดว้ ยการวดั และประเมินผลการเรยี น ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ................................................................... โดยท่ีโรงเรียนบ้านวังปืน ได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาส่ัง กระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ ๒๙๓/๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ จึงเป็นการสมควรที่กาหนดระเบียบโรงเรียนบ้านวังปืน ว่าด้วยการวัด และประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให้สามารถ ดาเนินการจดั การเรียนร้ไู ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกบั คาสงั่ ดังกล่าว ฉะน้ัน อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงาน วิชาการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงวางระเบียบไว้ ดังต่อไปน้ี ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบโรงเรียนบ้านวังปืน ว่าด้วยการประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ขอ้ ๒ ระเบียบนีใ้ หใ้ ช้บังคบั ตั้งแต่ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๔ เปน็ ต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบข้อบังคับหรือคาสั่งอื่นใดในส่วนที่กาหนดไว้ในระเบียบน้ี หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับ ระเบยี บนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน ข้อ ๔ ระเบียบน้ใี ห้ใช้ควบคูก่ ับหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นวังปนื พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ข้อ ๕ ให้ผ้บู ริหารสถานศึกษารกั ษาการให้เปน็ ไปตามระเบยี บน้ี หมวดที่ ๑ หลักกำรวัดและประเมินผลกำรเรียน ข้อ ๖ การประเมนิ ผลการเรียน ให้เปน็ ไปตามหลกั การดาเนนิ การต่อไปน้ี ๖.๑ สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ของผูเ้ รียน โดยเปิดโอกาสให้ ผทู้ ีเ่ กยี่ วข้องมสี ่วนร่วม ๖.๒ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ มจี ดุ มุ่งหมายเพือ่ พฒั นาผู้เรียน และตัดสินผลการเรียน ๖.๓ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่กาหนดให้หลักสูตรสถานศึกษา และจัดให้มีการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตลอดจนการประเมนิ กิจกรรมาพัฒนาผู้เรยี น ๖.๔ การประเมินผลเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องดาเนินการด้วย เทคนิควิธีการท่ีหลากหลาย เพ่ือให้สามารถวัดและประเมินผลผู้เรียนได้อย่างรอบด้าน ท้ังด้านความรู้ ความคิด

๒ กระบวนการ พฤตกิ รรมและเจตคติ เหมาะสมกับส่ิงทต่ี อ้ งการวดั ธรรมชาตวิ ิชา และระดับชน้ั ของผูเ้ รียน โดยตั้งอยู่ บนพื้นฐานของความเทยี่ งตรง ยตุ ธิ รรม และเชอ่ื ถือได้ ๖.๕ การประเมินผู้เรียน พิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกต พฤติกรรมการเรียนรู้ การรว่ มกจิ กรรมและการทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน ตามความเหมาะสม ของแต่ละระดบั และรูปแบบการศกึ ษา ๖.๖ เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นและผ้มู สี ่วนเกี่ยวข้อง ตรวจสอบผลการประเมินผลการเรยี นรู้ ๖.๗ ใหม้ กี ารเทยี บโอนผลการเรียนระหว่างสถานศกึ ษา และระหว่างรูปแบบการศึกษาตา่ งๆ ๖.๘ ให้สถานศึกษาจัดทาเอกสารหลกั ฐานการศึกษา เพอื่ เปน็ หลักฐานการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ รายงานผลการเรียน แสดงวุฒิการศกึ ษา และรบั รองผลการเรยี นของผูเ้ รียน หมวดท่ี ๒ วิธกี ำรวัดและประเมินผลกำรเรยี นรู้ ข้อ ๗ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการท่ีให้ผู้สอนใช้พัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพ่ือให้ได้ ข้อมูลสารสนเทศ ท่ีแสดงพัฒนาการความก้าวหน้าและความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ให้เป็นการประเมิน เพอ่ื ปรับปรงุ การเรียนมากกวา่ การตัดสินผลการเรยี น ประกอบด้วย ๗.๑ การประเมนิ ผลระดับช้ันเรยี น เป็นการวัดความกา้ วหนา้ ท้ังด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมท่พี ึงประสงค์ ๗.๒ การประเมินผลระดับสถานศึกษาเพ่ือตรวจสอบความก้าวหน้า การเรียนรู้เป็นรายปี และ ช่วงช้ัน สาหรับนาข้อมูลที่ได้ใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและการพัฒนาการเรียนการสอนและคุณภาพของ ผเู้ รยี นใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการเรยี นรู้ รวมทงั้ พจิ ารณาตัดสนิ การเล่อื นช้นั ๗.๓ การประเมินผลระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินด้วยแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนท่ีเป็นมาตรฐาน เพื่อตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและคุณภาพการศึกษาของชาติ สาหรับนาผลการประเมินไปวางแผนดาเนินการปรบั ปรุงแก้ไขการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาการผู้เรียนให้ ได้มาตรฐาน ๗.๔ การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ เป็นการประเมินด้วยแบบประเมิน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เป็นมาตรฐานระดับชาติ เพื่อตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและคุณภาพ การศึกษาของชาติ สาหรับนาผลการประเมินไปวางแผนดาเนินการปรับปรุงแก้ไขการจัดการเรียนการสอน และ พฒั นาการผเู้ รยี นใหไ้ ดม้ าตรฐาน ๗.๕ การประเมินเพ่ือตัดสนิ ผลการเรยี น เป็นการประเมินเพื่อสรปุ ความสาเร็จในการเรียนรู้ของ ผ้เู รยี นในการจบช่วงช้ันและจบหลักสตู รการศกึ ษาในระดับตา่ งๆ ซ่ึงจะทาใหผ้ ู้เรยี นได้รบั การรับรองความรแู้ ละวุฒิ การศกึ ษาจากสถานศกึ ษา ข้อ ๘ แนวดาเนินการประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา เพื่อให้การวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มีการดาเนินการตามหลักการกระจายอานาจมีการประเมินผู้เรยี นตาม หลักการวัดและประเมินผลการเรียน มีการตรวจสอบและกากับติดตามประเมินคุณภาพการประเมินผลการเรียน อยา่ งเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ จงึ กาหนดแนวดาเนินการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นของสถานศึกษา ดงั น้ี

๓ ๘.๑ สถานศึกษาโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน กาหนดรูปแบบ ระบบและระเบียบประเมินผลของ สถานศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ แนวปฏบิ ัตใิ นการประเมินผลการเรียนของสถานศกึ ษา ๘.๒ สถานศึกษาโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา กาหนด ตัวช้วี ัดในแต่ละรายวิชา และแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้โดยวิเคราะห์จากมาตรฐานการเรียนรู้ คุณลักษณะอันพึง ประสงค์และมาตรฐานการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนและหลักสตู รระดับท้องถิ่น เพื่อใช้เป็นเป้าหมายในการ วดั และประเมนิ ผลการเรียนรรู้ ายภาค ๘.๓ คณะอนุกรรมการระดับกลุ่มวิชาให้ความเห็นชอบของรูปแบบ วิธีการ เคร่ืองมือสาหรับ การประเมิน และผลการตัดสินการประเมินผลการเรยี นรายวชิ าของผสู้ อน ๘.๔ ผู้สอนจัดการเรียนการสอน ตรวจสอบพัฒนาการของผเู้ รยี น และประเมินสรปุ ผลสัมฤทธิ์ ของผู้เรียนด้วยวธิ กี ารหลากหลายตามสภาพจริง โดยนาตวั ช้ีวดั ไปใช้เป็นข้อมูลรวมกบั การประเมนิ ปลายภาค ๘.๕ หวั หน้าสถานศึกษาอนมุ ัติผลการเรยี นปลายภาค และการผ่าน จบการศกึ ษา ๘.๖ สถานศึกษาจัดทารายงานผลการดาเนินการประเมินผลการเรียนประจาปีโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา เสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน ข้อ ๙ ให้มกี ารประเมินผลการเรียนในดา้ นตา่ งๆ ประกอบด้วย ๙.๑ ประเมินผลกำรเรียนรู้ของผู้เรียน ๘ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ตำมหลักสูตรสถำนศึกษำ แต่ละช้ัน/ภาค ซง่ึ สถานศึกษาตอ้ งดาเนนิ การดังน้ี ๑) กาหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับคะแนนปลายภาค โดยให้ความสาคัญของ คะแนนระหว่างเรียนมากกว่าคะแนนปลายภาค เชน่ ๖๐ : ๔๐ , ๗๐ : ๓๐ แต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรขู้ องรายวิชา พ้นื ฐาน และรายวชิ าเพิ่มเตมิ ๒) กาหนดเกณฑส์ าหรับตดั สนิ ผลการประเมิน และเกณฑ์การผ่านตัวชวี้ ดั ๓) กาหนดเกณฑ์การประเมินและให้ระดับผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้เป็นราย ภาค ๔) ประเมินผลก่อนเรยี น เพอ่ื ศกึ ษาทกั ษะพ้นื ฐานและความรู้พ้ืนฐานของผู้เรียน ๕) ประเมินผลการเรียนระหว่างเรียน เน้นการประเมินตามสภาพจริงท่ีสอดคล้องกับ แผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งเป็นการประเมินเพ่ือมุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียนว่าบรรลุตามตัวชี้วัดในแต่ละ หน่วยการเรียนรู้หรือไม่ โดยวิธีการประเมินที่หลากหลายและเหมาะสม และให้มีการประเมินผลไม่น้อยกว่าร้อย ละ ๗๐ ของการประเมนิ ท้งั หมด เพ่อื นาผลคะแนนจากการวัดผลไปรวมกับการวดั ผลปลายภาคเรยี น ๖) ในกรณที ม่ี ีการประเมนิ ผลดว้ ยแบบทดสอบ ให้มกี ารประเมินโดยใช้วธิ ีการให้ผ้เู รียน ตอบแบบทดสอบอตั นยั โดยมีการให้คะแนนคดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐ ของการทดสอบครงั้ นน้ั ๗) การประเมินเพ่ือสรุปผลการเรียน โดยมุ่งตรวจสอบความสาเร็จของผู้เรียนเม่ือผ่าน การเรยี นรูใ้ นชว่ งหนึ่งหรือสิน้ สุดการเรยี นรายวิชา เพอื่ ยกระดับผลการเรยี นใหผ้ า่ นเกณฑข์ น้ั ต่า ๘) การให้ระดับผลการเรียนให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียน ๘ กลุ่มสาระมี ๘ ระดบั ดังต่อไปน้ี ๔ หมายถึง ดีเยี่ยม ชว่ งคะแนนเป็นร้อยละ ๘๐ - ๑๐๐ ๓.๕ หมายถงึ ดมี าก ชว่ งคะแนนเป็นรอ้ ยละ ๗๕ - ๗๙ ๓ หมายถงึ ดี ช่วงคะแนนเปน็ รอ้ ยละ ๗๐ - ๗๔ ๒.๕ หมายถงึ คอ่ นขา้ งดี ชว่ งคะแนนเป็นร้อยละ ๖๕ - ๖๙

๔ ๒ หมายถงึ พอใช้ ช่วงคะแนนเปน็ ร้อยละ ๖๐ - ๖๔ ๑.๕ หมายถึง คอ่ นขา้ งตา่ ชว่ งคะแนนเปน็ ร้อยละ ๕๕ - ๕๙ ๑ หมายถงึ ตา่ ช่วงคะแนนเปน็ ร้อยละ ๕๐ - ๕๔ ๐ หมายถงึ ปรบั ปรุง ช่วงคะแนนเปน็ ร้อยละ ๐ - ๔๙ ๙.๒ กำรประเมินกจิ กรรมพัฒนำผเู้ รียน เป็นการประเมินผลการเข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนา ผู้เรียนตามท่ีหลักสูตรสถานศึกษากาหนด จะต้องพิจารณาท้ังเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและ ผลงานของผ้เู รยี น ดงั นี้ ๑) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแต่ละกิจกรรมไม่ต่ากว่าร้อยละ ๘๐ ของ เวลาเรียน ๒) กาหนดเกณฑ์สาหรบั ตดั สนิ การผ่านกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๒.๑) แต่ละกิจกรรม จาแนกเป็นเกณฑ์สาหรับตัดสินผ่านจุดประสงค์ของ กิจกรรมและเกณฑต์ ดั สินเวลาการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ๒.๒) การตัดสินผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษา นาผลจากการ ประเมนิ ทุกกิจกรรมมาพิจารณาเพื่อสรปุ เปน็ รายปี ๒.๓) กาหนดผลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นเป็น ๒ ระดับ คือ ผ (ผา่ น ) หมายถงึ ผา่ นเกณฑ์การตัดสิน มผ (ไม่ผา่ น ) หมายถงึ ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารตัดสิน ๙.๓ กำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ท่ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน กาหนดข้ึน มีจานวน ๘ คุณลักษณะ คือ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ ๓. มวี นิ ัย ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๕. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ๖. มุ่งมน่ั ในการทางาน ๗. รกั ความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ เพือ่ แกป้ ัญหาหรือสรา้ งค่านยิ มอนั ดีใหแ้ ก่ผู้เรียน ตามจุดเน้นของหลักสูตร โดยคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ภารกิจที่สถานศึกษา จะตอ้ งดาเนนิ การ มีดงั นี้ ๑) แต่งต้ังคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาเพ่ือ ดาเนินการดังน้ี ๑.๑) กาหนดแนวทางในการพัฒนา แนวทางการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และ แนวทางการปรบั ปรงุ แก้ไข ปรับพฤติกรรม ๑.๒) พิจารณาตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายภาค และการจบ การศึกษาแต่ละระดับ ๑.๓) จัดระบบการปรับปรุงแก้ไข หรือปรับพฤติกรรมด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม และส่ง ต่อข้อมลู ของผู้เรียนเพ่ือการพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง ๒) ดาเนินการประเมินการแสดงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนโดยกาหนดให้มีการ ประเมินผลตามแนวทางทส่ี ถานศกึ ษากาหนด ๓) ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายปี/รายภาค โดยให้มีผลการประเมินเป็น ๔ ระดับ คือ ดเี ย่ยี ม (๓ ) หมายถงึ ผูเ้ รียนปฏบิ ตั ติ นตามคณุ ลักษณะจนเป็นนสิ ัยและนาไปใช้ ในชีวติ ประจาวันเพ่ือประโยชนส์ ขุ ของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดเี ย่ียม จานวน ๕-๘

๕ คุณลักษณะ และไม่มคี ุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่า กวา่ ระดบั ดี ดี (๒) หมายถงึ ผเู้ รียนมคี ณุ ลักษณะในการปฏิบัตติ ามกฎเกณฑ์ เพ่ือใหเ้ ปน็ การยอมรบั ของสงั คม โดยพจิ ารณาจาก ๑. ได้ผลการประเมินระดับดีเย่ียม จานวน ๑-๔ คณุ ลักษณะ และไมม่ คี ณุ ลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ากวา่ ระดบั ดี หรือ ๒. ได้รับการประเมินระดับดีท้งั ๘ คุณลกั ษณะ หรอื ๓. ไดผ้ ลการประเมินตั้งแตร่ ะดบั ดีขน้ึ ไป จานวน ๕ - ๗ คุณลกั ษณะ และมบี างคณุ ลกั ษณะไดผ้ ลการประเมิน ระดบั ผ่าน ผา่ น (๑) หมายถึง ผเู้ รียนรบั รแู้ ละปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑ์ และเงอ่ื นไขที่ สถานศึกษากาหนด โดยพจิ ารณาจาก ๑. ไดร้ ับการประเมนิ ระดับผ่านทงั้ ๘ คุณลักษณะ หรือ ๒. ได้ผลการประเมินตั้งแตร่ ะดบั ดีข้นึ ไป จานวน ๑-๔ คุณลักษณะ และคณุ ลักษณะท่เี หลอื ได้ผลการประเมนิ ระดบั ผา่ น ไม่ผา่ น (๐) หมายถงึ ผูเ้ รียนรับรูแ้ ละปฏิบตั ไิ ด้ไม่ครบตามเกณฑ์และเงอ่ื นไขที่ สถานศกึ ษากาหนด โดยพจิ ารณาจากผลการประเมนิ ระดับ ไม่ผา่ น ตง้ั แต่ ๑ คณุ ลักษณะ ๔) การประมวลผล คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา รวบรวม ผลการประเมินจากผู้ประเมนิ ทุกฝ่ายนามาพจิ ารณาประเด็นสรุปเป็นรายปี ๕) ประเมินตัดสินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย พจิ ารณาจากผลการประเมินที่ผ่านมาตลอดปี ซ่ึงต้องมีผลการประเมินไมน่ ้อยกว่า ระดับ “ผา่ น” (๑ ) ทกุ รายปี ๙.๔ กำรประเมนิ กำรอำ่ น คิดวิเครำะห์ และเขียน กาหนดใหม้ กี ารประเมินผลตามแนวทางท่ี สถานศึกษากาหนด ภารกิจทส่ี ถานศกึ ษาจะตอ้ งดาเนนิ การ มดี งั นี้ ๑) แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามขอบเขตการ ประเมนิ และตัวชี้วดั ท่ีแสดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น ๒) กาหนดขอบเขตการประเมินและเกณฑ์การประเมินในแต่ละปีให้สอดคล้องกับ บริบทและจุดเน้นของสถานศึกษาในแตล่ ะระดับการศกึ ษา ๓) คณะกรรมกรรมการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน กาหนดเกณฑ์และ แนวทางการพฒั นา ปรับปรุงแก้ไขผู้เรยี นที่มผี ลการประเมินไม่น่าพึงพอใจ ๔) กาหนดรูปแบบการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนให้ สอดคลอ้ งกบั ขอบเขตและตวั ชว้ี ดั ตามข้อ ๑ ๕) คณะกรรมการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนส่ือความ รวบรวมผลการประเมินจากผู้ประเมินทุกกลุม่ สาระ /ทุกรายวิชา พิจารณาสรุปเปน็ รายปี ๖) กาหนดระดับคณุ ภาพหรือเกณฑก์ ารประเมินเปน็ ๔ ระดับ ดังน้ี

๖ ดเี ย่ียม (๓ ) หมายถึง มีผลงานที่แสดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขยี นที่มคี ุณภาพดีเลิศอยู่เสมอ ดี (๒) หมายถงึ มผี ลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี นทมี่ ีคุณภาพเปน็ ที่ยอมรับ ผ่าน (๑) หมายถึง มผี ลงานท่แี สดงถึงความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียนทีม่ ีคณุ ภาพเป็นทีย่ อมรบั แต่ยังมีข้อบกพรอ่ งบางประการ ไมผ่ ่าน (๐) หมายถงึ ไม่มผี ลงานท่แี สดงถงึ ความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขยี น หรอื ถ้ามผี ลงาน ผลงานน้ัน ยงั มขี อ้ บกพร่องทีต่ ้องได้รบั การปรบั ปรุงแก้ไข หลายประการ ๗) ดาเนินการพัฒนา ประเมินและปรบั ปรุงแก้ไขความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี นตามรูปแบบและวิธกี ารทก่ี าหนดอย่างต่อเน่ือง ๘) สรุปและตัดสินผลการประเมิน บันทึก รายงานผลการประเมินความสามารถการ อา่ น คิดวิเคราะห์และเขียนเพ่ือเลื่อนชั้น ผ่านช่วงชั้น ผู้เรียนต้องมีระดับผลการประเมินไม่น้อยกว่า “ผ่าน (๑) ” ทุกปี ๙) นักเรียนจบแต่ละระดับการศึกษา จะต้องได้รับการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับ “ผา่ น” หมวดที่ ๓ เกณฑ์กำรวัดและประเมินผลกำรเรยี น ข้อ ๑๐ กำรตัดสินผลกำรเรยี น ให้ถือปฏบิ ัติดงั น้ี ๑๐.๑ การตัดสนิ ผ่านรายวชิ า เมื่อส้ินปกี ารศึกษา ๑) ผู้เรยี นตอ้ งมเี วลาเรยี น ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นตลอดปีการศกึ ษา ๒) ผู้เรยี นต้องไดร้ ับการประเมนิ ทกุ ตวั ชวี้ ดั และผา่ น รอ้ ยละ ๖๐ ข้นึ ไป ๓) ผ้เู รยี นตอ้ งไดร้ บั การตัดสินผลการเรียน อยใู่ นระดบั ๑ ขนึ้ ไป ๑๐.๒ การตัดสนิ ผลการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน เม่ือส้ินปีการศกึ ษา ๑) ผู้เรยี นตอ้ งได้รบั การประเมิน และมีผลการประเมนิ ผา่ น ดี หรือ ดเี ย่ยี ม ๑๐.๓ การตดั สนิ ผลคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เม่อื สิน้ ปีการศกึ ษา ๑) ผเู้ รยี นตอ้ งได้รบั การประเมิน และมผี ลการประเมนิ ผ่าน ดี หรือ ดีเยี่ยม ๑๐.๔ การตัดสนิ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน เม่อื สิ้นปีการศึกษา ๑) ผู้เรียนต้องมีเวลาในการเข้ารว่ มกิจกรรม ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียนตลอด ปกี ารศึกษา ๒) ผู้เรียนต้องปฏิบตั ิกิจกรรม หรือมผี ลงาน และมผี ลการประเมนิ ผา่ น ขอ้ ๑๑. กำรเล่อื นชนั้ ผู้เรยี นจะได้รับการเลอื่ นชนั้ เมอ่ื ส้นิ ปีการศกึ ษา เมอ่ื มีคุณสมบัตติ ามเกณฑ์ดังนี้ ๑) ผู้เรียนมเี วลาเรยี น ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนตลอดปกี ารศึกษา ๒) ผเู้ รียนมีผลการประเมิน ผา่ น ทกุ รายวชิ าพนื้ ฐาน

๗ ๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ผ่าน ตามเกณฑท์ ีส่ ถานศกึ ษากาหนด ท้ังน้ี ถา้ ผูเ้ รียนมขี อ้ บกพร่องเพียงเล็กน้อย ตามที่ครูประจาวชิ าแจง้ และเห็นวา่ สามารถสอนซ่อมเสริมได้ ใหค้ รปู ระจาวชิ าทาการสอนซ่อมเสริม แล้วประเมนิ ผลในส่วนท่ีเปน็ ข้อบกพรอ่ ง เมอ่ื ผา่ นเกณฑ์ จึงให้เล่ือนชนั้ ได้ อนงึ่ ในกรณีทผี่ เู้ รียนมีหลกั ฐานการเรียนร้ทู ีแ่ สดงวา่ มคี วามสามารถดีเลศิ สถานศึกษาอาจให้โอกาสผู้เรยี น เล่ือนชั้นกลางปีการศึกษา โดยสถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการประกอบด้วย ฝ่ายวิชาการของสถานศึกษา และ ผู้แทนของเขตพื้นท่ีการศึกษาหรือต้นสังกัด ประเมินผู้เรียนและตรวจสอบคุณสมบัติให้ครบถ้วนตามเงื่อนไขทั้ง ๓ ประการตอ่ ไปน้ี ๑) มผี ลการเรยี นในปกี ารศึกษาทผี่ ่านมา และมีผลการเรียนระหว่างปีการศึกษาท่ีกาลงั ศึกษาอยู่ในเกณฑ์ ดเี ยยี่ ม ๒) มวี ฒุ ิภาวะเหมาะสมท่จี ะเรยี นในช้ันทส่ี งู ขนึ้ ๓) ผา่ นการประเมนิ ผลความร้คู วามสามารถทุกรายวชิ าของช้ันปีที่เรียนปจั จุบัน และความรู้ ความสามารถทุกรายวิชาในภาคเรยี นแรกของชน้ั ปที ่จี ะเลือ่ นขนึ้ การอนุมัตใิ ห้เล่ือนช้นั กลางปีการศกึ ษาไปเรียนชน้ั สงู ข้นึ ได้ ๑ ระดบั ช้ันปี ต้องได้รับการยนิ ยอมจากผู้เรยี น และผู้ปกครอง และตอ้ งดาเนนิ การใหเ้ สรจ็ ส้ินก่อนเปดิ ภาคเรยี นท่ี ๒ ของปกี ารศึกษานน้ั สาหรับกรณีที่พบว่า มีผู้เรียนกลุ่มพิเศษประเภทต่างๆ ที่มีปัญหาในการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาดาเนินงาน ร่วมกับสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา/ศูนย์การศึกษาพิเศษจังหวัด/ศูนย์การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา/หน่วยงาน ต้นสังกัด โงเรียนเฉพาะความพกิ าร หาแนวทางแก้ไขและพัฒนา ข้อ ๑๒. กำรสอนซอ่ มเสริม เป็นส่วนหน่งึ ของกระบวนการจัดการเรียนรู้และเป็นการให้โอกาสแก่ผู้เรียน ให้มีเวลาเรียนรู้สิ่งต่างๆ เพ่ิมขึ้น จนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัดที่กาหนดไว้ การสอนซ่อม เสริมเป็นการสอนกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามแผนจัดการเรียนรู้ปกติ เพ่ือแก้ไขข้อบกพร่องท่ีพบใน ผู้เรียน โดยจดั กระบวนการเรยี นร้ทู ่ีหลากหลาย และคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบคุ คลของผู้เรยี น การสอนซอ่ มเสรมิ สามารถดาเนินการไดใ้ นกรณีดังต่อไปนี้ ๑) ผู้เรียนมีความรู้/ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละรายวิชาน้ัน ควรจัดการซ่อม เสริม ปรับความรู้/ทกั ษะพื้นฐาน ๒) การประเมินระหว่างเรียน ผู้เรยี นไมส่ ามารถแสดงความรู้ ทกั ษะกระบวนการหรอื เจตคติ/คุณลกั ษณะที่กาหนดไวต้ ามมาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชี้วดั ๓) ผลการเรียนไม่ถึงเกณฑ์ และ/หรือต่ากว่าเกณฑ์การประเมิน โดยผู้เรียนได้ระดับผลการ เรียน “๐” ต้องจัดการสอนซ่อมเสริมกอ่ นจะใหผ้ เู้ รียนสอบแก้ตวั ข้อ ๑๓ กำรเรยี นซำ้ ช้ัน ผู้เรยี นที่ไมม่ ีคุณสมบัตติ ามเกณฑ์การเล่อื นช้นั จะต้องเรียนซ้ือชั้น แตท่ ั้งนอ้ี าจ ไดร้ ับการพิจารณาใหเ้ ลือ่ นชนั้ ได้ หากผเู้ รยี นมีคุณสมบตั ิขอ้ ใดขอ้ หนึง่ ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) มเี วลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ อนั เนอ่ื งจากสาเหตุจาเป็น หรือเหตุสุดวสิ ัย แต่มคี ุณสมบัติตาม เกณฑ์การเล่ือนช้ันในข้ออ่ืนๆ ครบถ้วน ๒) ผู้เรียนมีผลการประเมินผ่านมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไม่ถึงเกณฑ์ตามที่สถานศึกษา กาหนดในแต่ละรายวิชา แต่เห็นว่าสามารถสอนซ่อมเสริมได้ในปีการศึกษานั้น และมี คณุ สมบตั ิตามเกณฑ์การเล่ือนชั้นในข้ออ่นื ๆ ครบถ้วน ๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินรายวิชาในกลุ่มสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม ศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม อยู่ในระดับ ผา่ น กอ่ นทีจ่ ะให้ผเู้ รยี นเรยี นซา้ ช้นั สถานศกึ ษาควรแจง้ ใหผ้ ปู้ กครอง และผู้เรียน ทราบเหตุผลของการเรยี นซ้าชั้น

๘ ขอ้ ๑๔ เกณฑ์กำรจบกำรศึกษำ (๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน จานวน ๘๔๐ ชั่วโมง และรายวิชาเพ่ิมเติม ครบตามโครงสร้าง เวลาเรยี นท่ีสถานศกึ ษากาหนด (๒) ผู้เรียนมีผลการประเมินรายวิชาพน้ื ฐาน ไม่ต่ากวา่ ระดับ ๑ ทกุ รายวชิ า (๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป ในทุก ระดบั ชัน้ ตลอดระดับการศึกษา (๔) ผู้เรยี นมผี ลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ในระดบั “ผา่ น” ขน้ึ ไป ในทกุ ระดับชน้ั ตลอดระดบั การศึกษา (๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและได้รับการตัดสินผลการเรียน “ผ่าน” ทุกกิจกรรม ตลอดระดบั การศกึ ษา หมวดที่ ๔ กำรเทียบโอนผลกำรเรยี น ข้อ ๑๕ การเทียบโอนผลการเรียน เป็นการนาผลการเรียนซึ่งเป็นความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ของผู้เรียนท่ีเกิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย มาประเมินเป็นส่วน หนึ่งของการศึกษาตามหลกั สตู รใดหลกั สตู รหน่งึ แนวการดาเนินการเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยการเทียบโอนผลการ เรยี น ดงั นี้ ๑๕.๑ ผูข้ อเทียบโอนต้องขนึ้ ทะเบยี นเปน็ นักเรยี นของสถานศึกษา ทัง้ นีโ้ ดยผู้ขอเทียบโอนจะตอ้ ง ไม่เป็นผู้ท่ีกาลังศึกษาอยู่ในระบบโดยสถานศึกษาดังกล่าวดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน ในภาคเรียนแรกที่ข้ึน ทะเบียนเป็นนักเรยี น ยกเวน้ กรณีมีเหตจุ าเปน็ ๑๕.๒ จานวนสาระการเรียนรู้ รายวชิ า จานวนหน่วยกิตท่ีจะรบั เทยี บโอน และอายุของผลการ เรียนท่ีจะนามาเทียบโอน ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา ทั้งน้ี เม่อื เทียบโอนแลว้ ต้องมีเวลาเรยี นอยู่ในสถานศกึ ษาท่ีจะรบั เทียบโอนไมน่ ้อยกว่า ๑ ภาคเรยี น ๑๕.๓ การเทียบโอนผลการเรียนให้ดาเนินการในรูปของคณะกรรมการการเทียบโอนผลการ เรียนจานวนไมน่ อ้ ยกวา่ ๓ คนแตไ่ มเ่ กิน ๕ คน ข้อ ๑๖ การเทียบโอนใหด้ าเนนิ การดงั น้ี ๑๖.๑ การเทียบระดับการศึกษา หมายถึงการนาผลการเรียน ความรู้และประสบการณ์ท่ีได้ จากการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษานอกระบบ ไม่แบ่งระดับมาประเมินเพื่อเทียบเท่าการศึกษาระดับใด ระดบั หนงึ่ มี แนวทางการเทยี บระดับการศกึ ษาดังน้ี ๑) ผู้ขอเทียบระดับการศึกษาจะต้องไม่เป็นผู้ที่กาลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาในระบบ หรอื สถานศกึ ษานอกระบบทจ่ี ัดการศึกษาเป็นระบบเดยี วกนั กับการศึกษาในระบบ และเป็นผ้สู าเรจ็ การศึกษาตาม หลกั สูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ในระดับท่ีต่ากวา่ ระดับการศึกษาที่ขอเทียบ ๑ ระดับ ผู้ไม่เคยมีวฒุ กิ ารศกึ ษา ใดๆ จะขอเทียบระดับการศึกษาไดไ้ มเ่ กินระดับประถมศึกษา ๒) ใหส้ ถานศึกษาซ่งึ เป็นทท่ี าการเทียบระดับการศึกษา ดาเนนิ การเทียบระดบั ด้วยการ ประเมินความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ของผู้ขอเทียบระดับ ด้วยวิธีการที่หลากหลายทัง้ ด้วยการทดสอบ การประเมินแฟ้มผลงาน การสังเกตพฤติกรรมต่างๆ ให้ครอบคลุมคุณลักษณะของผู้เรียนทั้งด้านพุทธิพิสัย จิต พิสยั และทกั ษะพสิ ยั ตามเกณฑ์มาตรฐานของหลกั สูตรที่ขอเทียบระดบั

๙ ๓) ผู้ผ่านการประเมินจะได้รับหลักฐานแสดงผลการประเมินเทียบระดับความรู้และใบ ประกาศนยี บัตรรับรองระดับความร้ขู องกระทรวงศึกษาธิการ ๑๖.๒ การเทียบโอนผลการเรียน หมายถึง การนาผลการเรียนซ่ึงเป็นความรู้ทักษะ และ ประสบการณ์ของผู้เรียนที่เกิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และผล การศึกษา จากต่างสถานศึกษามาประเมินเป็นส่วนหนง่ึ ของการศึกษา ตามหลกั สตู รใดหลักสูตรหนง่ึ ท่กี าลงั ศึกษา มแี นวการดาเนนิ การดังนี้ ๑) คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตร และวชิ าการของสถานศกึ ษากาหนดจานวนรายวิชา จานวนหน่วยกิต ที่สถานศึกษาจากัดให้ผู้เรียนสามารถขอเทียบโอนได้ในการศึกษาตามหลักสูตรของสถานศึกษา แต่ละช่วงช้ัน ทั้งนผ้ี ู้เรียนจะต้องเหลือรายวชิ าที่จะต้องศึกษาในสถานศกึ ษาอกี อย่างนอ้ ย ๑ ภาคเรียน พร้อมกับ การกาหนดแนวทางและวิธีการเทียบโอนท้ังกรณีเทียบโอนผลการเรียนเดิมท่ีผู้เรียนศึกษาก่อนเข้าศึกษาใน สถานศึกษา และกรณีเทียบโอนผลการเรียนท่ีผู้เรียนขออนุญาตไปศึกษาต่างสถานศึกษา จะต้องจัดทาเป็น ระเบียบการเทียบโอนผลการเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงว่าด้วยการเทียบโอนผลการเรียน ดว้ ย ๒) สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนผลการเรียนของสถานศึกษา ให้ปฏิบัติหน้าท่ีกาหนดสาระ จัดสร้างเครื่องมือ สาหรับการเทียบโอนผลการเรียน และดาเนินการเทียบโอนผล การเรียน ๓) คณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน ทาการเทียบโอนผลการเรียนให้ ผเู้ รียนในกรณตี ่อไปน้ี กรณีกำรเทยี บโอนผลกำรเรยี นเดมิ ที่เรียนศกึ ษามากอ่ นเขา้ ศกึ ษาในสถานศกึ ษาใหด้ าเนินการดังน้ี ๑) ใหด้ าเนนิ การให้เสร็จในภาคเรียนแรกที่ผู้เรียนเข้าศกึ ษาในสถานศกึ ษา ๒) ใหเ้ ทยี บโอนผลการเรยี นเปน็ รายวชิ า ๓) ผู้เรียนยื่นคาร้องเป็นลายลักษณ์อักษรขอเทียบความรู้ตามรายวิชาในหลักสูตรของ สถานศึกษา ตามจานวนรายวิชาท่ีสถานศึกษากาหนดไว้ในระเบียบการเทียบโอนผลการเรียนของสถานศึกษาให้ ผู้เรยี นยื่นคาร้อง พรอ้ มเอกสารหลักสตู รทีน่ ามาขอเทยี บ และเอกสารการศกึ ษาทีไ่ ดร้ ับมา (ถ้าผ้เู รียนม)ี ๔) คณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนผลการเรียนพิจารณาหลักสูตรและหลักฐานเอกสารเดิม ของผู้เรยี น เพอื่ เปรียบเทียบหลักสตู รทเ่ี รียนมากับหลักสูตรของสถานศึกษาในรายวิชาทีข่ อเทียบ ถา้ มจี ุดประสงค์ และเน้ือหาสาระตรงกันไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ให้รับเทียบโอนได้ และให้ได้ระดับผลการเรียนตามท่ีได้มาใน กรณีที่ผู้เรยี นย้ายสถานศึกษา แต่ถ้าเป็นกรณีเทียบโอนผลการเรียนจากสถานศึกษาต่างระบบ ให้คณะกรรมการ ดาเนินการเทียบโอนพิจารณาว่าควรยอมรับผลการเรียนเดิมหรือไม่ ถา้ ไม่ยอมรับก็ต้องประเมินให้ใหม่ด้วยวธิ ีการ ต่างๆ ท่ีเหมาะสม ๕) คณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน จัดให้มีการประเมินความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ของผเู้ รียนใหม่ ตามตัวชีว้ ัดของรายวิชาท่ีผเู้ รยี นขอเทียบในกรณีที่ผู้เรียนไม่มเี อกสาร หลกั ฐาน การศึกษาเดิมมาแสดง หรือหลักสูตรท่ีผู้เรียนนามาขอเทียบโอนมีความสอดคล้องกับตัวชี้วัดและเน้ือหาสาระของ หลักสูตรทีข่ อเทียบไม่ถึงรอ้ ยละ ๖๐ ผู้เรยี นที่ผา่ นการประเมินจะได้รับการเทียบโอนผลการเรียนได้ โดยได้ระดับ ผลการเรยี นตามท่ีประเมินได้ สว่ นผู้ที่ไม่ผา่ นการประเมนิ จะไม่ไดร้ บั การเทยี บโอนผลการเรียน กรณีผู้เรียนขออนุญำตไปศึกษำรำยวิชำใดรำยวิชำหนึ่ง ต่างสถานศึกษาหรือขอศึกษาด้วยตนเองให้ ดาเนนิ การดงั นี้

๑๐ ๑) ให้ดาเนินการโดยผู้เรียนย่ืนคาร้องไปศึกษาต่างสถานที่หรือต่างรูปแบบต่อคณะกรรมการ เทียบโอนผลการเรียน ซึ่งจะพิจารณาผลการเรียนและความจาเป็นของผู้เรียนตามระเบียบการจัดการศึกษา ๓ รปู แบบ ของสถานศกึ ษาทจี่ ะจัดการศึกษาในระบบ ๒) รายวิชาที่ผู้เรียนขอไปศึกษาต่างสถานที่ หรอื ต่างรูปแบบต้องมีจุดประสงค์และเน้ือหาสาระ สอดคล้องกบั รายวิชาในหลักสูตรของสถานศึกษาท่ีจะนามาเทยี บโอนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ๓) กรณีผู้เรียนขอไปศึกษาต่างสถานศึกษาหรือระบบท่ีมีสถานศึกษาจัดการเรียนการสอน แน่นอน ถ้าเห็นควรอนุญาตให้ไปเรียนได้ให้มีการประสานงาน เร่ืองการจัดการเรียนการสอน การประเมินผล และการรับโอนผลการเรียนก่อน เม่ือได้ตกลงร่วมกันเรียบร้อยแล้วจึงจะอนุญาตเมื่อศึกษาสาเร็จ ให้รับโอนผล การเรยี นได้ทนั ที ๔) กรณีผู้เรียนขออนุญาตศึกษาด้วยตนเอง หรือศึกษาในสถานศึกษาที่ไม่สามารถติดต่อ ประสานได้ ถ้าคณะกรรมการพิจารณาความจาเปน็ แล้ว เห็นควรอนญุ าต เม่ือผู้เรียนมารายงานผลการเรียน ให้ คณะกรรมการดาเนินการเทยี บโอนผลการเรียนทาการเทียบโอนผลการเรยี นให้ผูเ้ รียน เช่นเดยี วกนั กรณีการเทยี บ โอนผลการเรยี นเดิมที่ผเู้ รยี นศกึ ษามาก่อนเขา้ ศกึ ษาในสถานศึกษา ๕) คณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน รายงานผลการเทียบโอนให้คณะกรรมการ บริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และเสนอผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติผลการเทียบ โอนผลการเรียน หมวดท่ี ๕ เอกสำรหลักฐำนกำรศกึ ษำ ข้อ ๑๗ ใหส้ ถานศึกษาจัดให้มีเอกสารหลกั ฐานการประเมินผลการเรยี นตา่ งๆ ดงั นี้ ๑๗.๑ เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการกาหนด ประกอบด้วย ๑) ระเบยี นแสดงผลการเรยี น (Transcript) (ปพ. ๑) เปน็ เอกสารบนั ทกึ ผลการเรียน ของผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้กลุ่มวิชาและกิจกรรมต่างๆ ท่ีได้เรียนในแต่ละชั้นของหลักสูตรการศึกษาข้ัน พน้ื ฐานเพ่อื ให้เป็นหลักฐานแสดงสถานภาพและความสาเรจ็ ในการศึกษาของผู้เรียนแต่ละคนใชเ้ ป็นหลักฐานในการ สมคั รเขา้ ศกึ ษาตอ่ ทางานหรือดาเนินการในเรือ่ งอนื่ ท่ีเกย่ี วขอ้ ง ๒) หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา (ใบประกาศนียบัตร) (ปพ. ๒) เป็นเอกสารท่ี สถานศึกษาออกให้กับผู้สาเร็จการศึกษาและรับรองวุฒิการศึกษาของผู้เรียน ให้ผู้เรียนนาไปใช้เป็นหลักฐานแสดง ระดบั วุฒกิ ารศึกษาของตน ๓) แบบรายงานผสู้ าเร็จการศึกษา (ปพ.๓) เป็นแบบรายงานรายชื่อขอ้ มูลของผู้สาเร็จ การศึกษาภาคบังคับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบยืนยันและรับรอง ความสาเรจ็ และวุฒกิ ารศึกษาของผู้สาเรจ็ การศกึ ษาแต่ละคน ต่อเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาและกระทรวงศกึ ษาธิการ ๑๗.๒ เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากาหนด เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทาข้ึนเพ่ือ บันทึกพฒั นาการ ผลการเรยี นรู้ และขอ้ มูลสาคญั เกย่ี วกบั ผเู้ รียน ดังนี้ ๑) แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ. 5) เป็นเอกสารสาหรับผู้สอนใช้ บันทึกเวลาเรียน ข้อมูลผลการวัดและประเมินผลการเรียน ข้อมูลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ ผู้เรียนแต่ละคนท่ีเรียนในห้องเรียนกลุ่มเดียวกัน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริม และตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน รวมทั้งใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ ยืนยัน สภาพการ เรียน การมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมตา่ งๆ และผลสัมฤทธ์ขิ องผเู้ รยี นแต่ละคน

๑๑ ๒) แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบคุ คล (ปพ. ๖) เป็นเอกสารสาหรับ บันทกึ ขอ้ มลู เกีย่ วกับผลการเรยี น พัฒนาการในดา้ นต่างๆ และข้อมลู อนื่ ๆ ของผเู้ รียน ๓) ใบรับรองผลการศึกษา (ปพ. ๗) เป็นเอกสารท่ีสถานศึกษาออกให้ผู้เรียนเป็นการ เฉพาะกจิ เพ่ือรับรองสถานภาพทางการศกึ ษาของผู้เรยี นเปน็ การชวั่ คราว ทั้งกรณผี ู้เรียนยังไมส่ าเร็จการศึกษาและ สาเรจ็ การศึกษาแล้ว ๔) ระเบียนสะสม (ปพ. ๘) เป็นเอกสารสาหรับบันทึกข้อมูลเก่ียวกับพัฒนาการและ ผลงานด้านตา่ ง ของผู้เรียนทั้งท่สี ถานศึกษาและทบี่ า้ น เพ่อื ประโยชนใ์ นการแนะแนวผู้เรยี นในทุกๆ ด้าน หมวดที่ 6 บทเฉพำะกำล ข้อ ๑๘ ในกรณนี ักเรยี นท่ีเรียนตามหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ ซ่ึงควรจะจบ หลกั สูตรในปีการศึกษา ๒๕๕๓ หรือก่อนปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๓ แตไ่ มส่ ามารถจบหลักสูตรไดต้ ามกาหนดให้ใช้ ระเบยี บฉบับน้ี ข้อ ๑๙ กรณีมีการเปลี่ยนแปลงแกไ้ ข ใหเ้ สนอคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานอนมุ ตั แิ ละให้ความ เหน็ ชอบก่อนนาไปใช้ ประกาศ ณ วันท่ี ๑๕ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ....................................................... ( นางศศิสร บญุ สคุ นธกลุ ) ผ้อู านวยการโรงเรียนบา้ นวังปนื

๑๒


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook