Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้พื้นฐานทาง ธุรกิจดิจิทัล

ความรู้พื้นฐานทาง ธุรกิจดิจิทัล

Published by สาธิตา จินาพร, 2021-10-03 11:12:36

Description: ความรู้พื้นฐานทาง ธุรกิจดิจิทัล

Search

Read the Text Version

Digital Business Fundamentals ความรู้พื้นฐานทาง ธุรกิจดิจิทัล

ผู้จัดทำ Thank you for joining me in this very imนาpงสoาrวtaสnาธtิตdาisจิcนuาพssรio6n43a0b2o0u4t0036 online rulesเiลnขtทีh่ 1e1nชัe้นwปวnสo.r1m/3al. แผนกวิชาเทตโนโลยีธุรกิจดิจิทัล

ความหมายของธุรกิจ ธุรกิจ (Business) ธุรกิจ (Business) หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ผลิต การจัดจ าหน่ายและบริการ โดยภายในหน่วยงานหรือธุรกิจนั้น ๆ มีการน าทรัพยากรที่มีอยู่มาผสมผสานกันอย่างมีระบบ มีระเบียบ ตามกฎเกณฑ์เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนหรือผู้ บริโภค ใน ขณะเดียวกันก็ก่อให้เกิดผลประโยชน์หรือบรรลุตามเป้า หมายธุรกิจและไม่ก่อให้เกิดมลภาวะที่ ไม่ดีต่อสิ่งแวดล้อม

การดำเนินงานของธุรกิจก่อให้เกิดการนำทรัพยากร ความสำคัญของธุรกิจ ของประเทศมาใช้ให้ เกิดประโยชน์สูงสุด ช่วยให้ผู้บริโภคหรือประชาชนได้ใช้สินค้าหรือบริการ เพื่อพัฒนาความ เป็นอยู่ของตนเองให้ดีขึ้น ธุรกิจต่าง ๆ ช่วยขจัดปัญหาการว่างงานและช่วย กระจายรายได้ไปสู่ ประชาชน ช่วยเพิ่มพูนรายได้ให้กับประเทศในรูปแบบของภาษี อากร ประชาชนหรือผู้บริโภคมีโอกาสได้เลือกสินค้าหรือ บริการที่สนองความพึง พอใจสูงสุดได้ง่าย เพราะ ธุรกิจต่าง ๆ มีการแข่งขันกันเพื่อพัฒนาสินค้า หรือ บริการ ประเทศสามารถนำภาษีอากรที่จัดเก็บไปพัฒนา ประเทศได้

วัตถุประสงค์ของธุรกิจ 1 2 3 4 เพื่อความมั่นคงของกิจการ เพื่อความเจริญ เพื่อผลประโยชน์ เพื่อความรับผิด เติบโตของธุรกิจ หรือกำไร ชอบต่อสังคม

องค์ประกอบของธุรกิจ 1. การจัดองค์กร 2. การผลิตและปฏิบัติการ 3. การตลาด 4. การบัญชีและการเงิน 5. การจัดหาวัตถุดิบมาป้อน 6. การบริหารงานบุคคล โรงงาน 7. การจัดการระบบ 8. การวิจัยและพัฒนา สารสนเทศและคอมพิวเตอร์

ปัจจัยพื้นฐานในการดำเนินธุรกิจ 1.คน 2.เงิน (Money) 3.วัสดุหรือ 4.วิธีปฏิบัติงาน 5.การจัดการ 6ุ .ขวัญและกำลัง วัตถุดิบ (Method) (Managemen) ใจ (morale) (material)

ประเภทของ วัตถุประสงค์ของธุรกิจ ธุรกิจดิจิทัล 1.ธุรกิจแบบพื้นฐาน 2. ธุรกิจแบบระดับกลาง 3. ธุรกิจแบบระดับสูง 4. ธุรกิจระดับชั้นสูงมาก

โครงสร้าง พื้นฐาน ธุรกิจดิจิทัล

โครงสร้างพื้ นฐานธุ รกิจดิ จิทั ล โครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล หมายถึง โครงสร้างพื้นฐานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) โทรคมนาคม (Telecommunication) และการแพร่ภาพกระจายเสียง (Broadcast) รวมทั้งการหลอมรวมของเทคโนโลยี (Convergence) ทั้งสามด้านที่เป็นนวัตกรรมใหม่ในการ พัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

นิยามแนวคิดเศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อสังคม นิยามแนวคิดเศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อสังคม คือ ระบบเศรษฐกิจและ สังคมที่มี การติดต่อสื่อสาร การผลิต การอุปโภคบริโภค การ ใช้สอยการจำหน่ายจ่ายแจก การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การทำ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ การคมนาคมขนส่ง การโลจิสติกส์ การศึกษา การเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม การสาธารณสุข การเงินการลงทุน การภาษีอากรการบริหารจัดการข้อมูลและ เนื้อหา หรือกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมอื่นใด หรือการใดๆ ที่มีกระบวนการหรือการดำเนินงานทางดิจิทัลหรือทาง อิเล็กทรอนิกส์ ทั้งในกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการ วิทยุคมนาคม กิจการโทรคมนาคม กิจการสื่อสารดาวเทียม และ การบริหารคลื่นความถี่ โดยอาศัยโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร รวมทั้งเทคโนโลยีที่มีการหลอมรวม หรือเทคโนโลยีอื่ นใดในทำนองคล้ายคลึงกัน

นวัตกรรม สำหรับ ธุรกิจดิจิทัล

นวัตกรรมสำหรับธุรกิจดิจิทัล นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มา ก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัย และใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนำนวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การท างานนั้นได้ผลดี oAbsceordveeมoีaปfnpdรoะelสxiิteทerธbcิieภsheาaaพvsiแogrลowoะeปdnรceiะteสizิdทetnธosิผ. ลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วยประหยัดเวลาและ แรงงานได้ด้วย

ความหมายของนวัตกรรม นวัตกรรมอาจหมายถึงสิ่งใหม่ๆ ดังต่อไปนี้ 1. สิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีผู้ใดเคยท ามาก่อนเลย 2. สิ่งใหม่ที่เคยท ามาแล้วในอดีตแต่ได้มีการรื้อฟื้ นขึ้นมาใหม่ 3. สิ่งใหม่ที่มีการพัฒนามาจากของเก่าที่มีอยู่เดิม

ลักษณะของนวัตกรรม ประเภทของนวัตกรรม 1. นวัตกรรมใหม่อย่างสิ้นเชิง (Radical 1. นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (Product Innovation) Innovation) 2. นวัตกรรมกระบวนการ (Process Innovation) 2. นวัตกรรมที่มีลักษณะ ค่อยเป็นค่อยไป



ความหมายของระบบ ธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล การทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล หมายถึง การดำเนินการต่าง ๆ ในเรื่อง ของการเงินหรือแลกเปลี่ยนสินค้า และบริการ โดยใช้เครื่องมือสื่อสาร ต่าง ๆ เช่น สมาร์คโฟน Mobile App หรือ E-wallet ผ่านระบบเครือ ข่ายอินเทอร์เน็ต และทุกคนสามารถท าได้ถ้ามีบัญชีธนาคารหรือพร้อม เพย์

ความสำคัญของระบบธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล ระบบธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัลมีความ สำคัญที่จะช่วยส่งเสริมให้การทำธุรกิจนั้น มีความมั่นคง ขึ้น เพราะได้อำนวยความ สะดวกให้การทำธุรกรรมทางการเงินเกิด ขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา และนำมาซึ่ง ความ เปลี่ยนแปลงทางสังคม พฤติกรรมผู้ บริโภค และเศรษฐกิจโลก

นวัตกรรมธุรกรรมที่ทำผ่าน Digital Banking ได้ เช่นธุรกิจดิจิทัล • การโอนเงิน โดยโอนจากเจ้าของบัญชีผู้โอนไปสู่เจ้าของบัญชีผู้รับโอนผ่านโทรศัพท์มือถือ • ชำระค่าสินค้าและบริการ โดยผ่านแอปพลิเคชั่นของธนาคาร • บริการเรียกดูข้อมูลและจัดการบัญชีต่าง ๆ • ซื้อ-ขาย-สับเปลี่ยนกองทุฟน และจัดการรายการซื้อขายต่าง ๆ • Talk to Net Officer ท าธุรกรรมผ่านระบบ VDO Call โดยเจ้าหน้าที่ Net Officer ที่จะทำธุรกรรมพร้อมส่ง สลิปรายAกcาoรdใหe้ผo่fาpนoEli-tembaeilhavior we need to • ตั้งค่าoกbาsรeใrชv้eระaบnบdเeปxลeี่ยrcนisNeeats IgDo,oPdascsitwizeonrsd., ตั้งค่าวงเงินการทำรายการ จัดการบัญชี • ชำระเงินกู้ของตนเอง ชำระเงินกู้ของบุคลอื่น ขออนุมัติสินเชื่อเบื้องต้น • ขอข้อมูลเครดิตบูโรกับ National Credit Bureau • ส่งซื้อธนบัตรต่างประเทศสกุลเงินต่าง ๆ ล่วงหน้า

ข้อดีของ Digital Banking ผลกระทบจาก Digital 1.เพิ่มความสะดวกให้ลูกค้าผู้ใช้บริการ Banking 2.ทำให้มีเวลาเหลือไปบริหารหรือทำงานอื่น ๆ 3.ลดค่าใช้จ่ายในการติดต่อด้านธุรกรรม 1.ธนาคารต้องปิดสาขาลงหลายแห่ง และมีแนวโน้ม 4.ลดความเสี่ยงจากการถอนเงินจ านวนมาก ๆ ลดจำนวนพนักงาน จากธนาคาร 5.ในส่วนของธนาคาร ลดค่าใช้จ่ายในการลงทุนเปิด 2.พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนไป เนื่องจากใช้จ่าย สาขาใหม สะดวก 3.การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลลดน้อยลง 4.การดำเนินชีวิตผูกติดไว้กับอินเทอร์เน็ต สัญญาณ Wi-Fi หน้าจอสมาร์ตโฟน 5.ในอนาคตธนาคารอาจไม่ใช่สถาบันการเงินสำคัญ สำหรับเศรษฐกิจอีกต่อไป

สื่อสังคม ออนไลน์กับ ธุรกิจดิจิทัล

ความหมายของสื่อสังคม ออนไลน์ มนุษย์เป็นสังคมที่ต้องมรการสื่อสารข้อมูลถึงกันและกัน ซึ่งใน สมัย โบราณมนุษย์สื่อสารข้อมูลโดยการที่ไม่ซับซ้อน เช่น ปากเปล่า ม้าเร็ว และ นกพิราบสื่อสาร ต่อมามีการปรับเปลี่ยนการสื่อสาร เป็นจดหมาย โทรเลข โทรศัพท์ วิทยุ จากนั้น เมื่อเข้าสู่ยุคที่มี เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ตเข้ามาเกี่วข้องการสื่อสาร ข้อมูลของมนุษย์มีการปรับเปลี่ยน เป็นสื่อที่เกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์ มากขึ้น เช่น บริการ IRC (Internet Relay Chat) โปรแกรมพูดคุย (Chat Program) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และ เว็บบอร์ด(Electronic Mail) (Webboard)

ความหมายของสื่อสังคม ออนไลน์ สื่อสังคมออนไลน์ คือ สื่อที่ผู้ส่งสาร แบ่ง สาร ซึ่งอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ ไป ยังผู้รับ สารผ่านเครือข่ายออนไลน์ โดยสามารถ โต้ตอบกันระหว่าผู้ส่ง สารและผู้รับสาร ซึ่งสามารถแบ่งสื่อสังคมออนไลน์ ออกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้

1. บล็อก (Weblogs หรือเรียกสั้น ๆ ว่า Blogs) คือ ประเภทของระบบการจัดการเนื้อหาที่อ านวยความ สะดวกให้ผู้เขียนบล็อกเผยแพร่ และแบ่งปันบทความของตนเอง การสื่อสารถึงกันอย่างเป็นกันเอง ระหว่างผู้เขียนและผู้อ่านบล็อกผ่านการแสดงความคิดเห็น (Comment)

2. เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Networking) เครือข่ายสังคมออนไลน์ คือ เว็บไซต์ที่ผู้คนสามารถติดต่อสื่อสารกับเพื่อน ที่รู้จัก มาก่อน หรือรู้จักภายหลังทางออนไลน์ ซึ่งเว็บไซต์เครือข่ายสังคม ออนไลน์แต่ละแห่งมีคุณลักษณะแตก ต่างกันออกไป แต่ส่วนประกอบหลัก ที่มีเหมือนกัน คือ โปรไฟล์ เพื่(Profiles- อแสดงข้อมูลส่วนตัว เจ้าของบัญชี) การเชื่อต่อ เพื่(Connecting- อสร้างเพื่อนกับคนรู้จักและไม่รู้จักทาง ออนไลน์) และการส่ง ข้อความ (Messaging-อาจเป็นข้อความส่วนตัว หรือ ข้อความสาธารณะ)

ไมโครบล็อก3. (Microblogging) ไมโครบล็อก คือ รูปแบบหนึ่งของบล็อกที่ มีการจำกัดขนาดของการโพสต์แต่ละครั้ง ซึ่งทวิตเตอร์เป็นไม่โคร บล็อกที่จำกัดการโพสต์แต่ละครั้งไม่เกิน 140 ตัวอักษร

ธุรกิจดิจิทัลโมไบล์

ธุรกิจดิจิทัลโมไบล์ ความหมายของธุรกอจดิจิทัลโมบาย ธุรกิจดิจิทัลโมบาย (Digital Mobile Business) เป็นกระบนการท าธุรกรรมออนไลน์ต่าง ๆ โดยใช้ เทคโนโลยีเคลื่ อนที่ไร้สาย

แนวคิดเกี่ยวกับ ความมั่นคง ปลอดภัย สำหรับธุรกิจ ดิจิทัล

1. ความเสี่ยงและภัยคุกคาม แนวคิดเกี่ยวกับ ต่อธุรกิจดิจิทัล ความมั่นคงปลอดภัย สำหรับธุรกิจดิจิทัล 2. มุมมองด้านการจัดการความ มั่นคงปลอดภัยต่อธุรกิจดิจิทัล 3. การจัดการความเสี่ยงและภัย คุกคามดิจิทัล

กฎหมายและจริยธรรมและ การทำธุรกรรมดิจิทัล

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Law) หรือมักเรียกกันว่า กฎหมายไอที (IT Law) เสนอโดย กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ สิ่งแวดล้อม และเห็นชอบให้คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่ง ชาติ (National Information Technology Committee) หรือที่เรียกโดยย่อว่า คณะกรรมการไอที แห่งชาติ หรือ กทสช. (NITC) ท าหน้าที่เป็นศูนย์กลางและประสานงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ด าเนินการ จัดท ากฎหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศและกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้คณะกรรมการไอทีแห่งชาติหรือ กทสช. (NITC) ได้ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจ เพื่อยกร่างกฎหมายไอทีทั้ง 6 ฉบับ โดยมอบหมายให้ ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Electronics and Computer Technology Center) หรือที่ มักเรียกโดยย่อว่า \"เนคเทค\" (NECTEC) ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (National Science 2 88510159 ก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซีทีMoving Forward in a Digital Society with ICT and Technology Development Agency) หรือที่เรียก โดยย่อว่า \"สวทช.\" กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ในฐานะส านักงานเลขานุการคณะ กรรมการไอทีแห่งชาติ ท าหน้าที่เป็นเลขานุการในการยกร่าง กฎหมายไอทีทั้ง 6 ฉบับ เนคเทคจึงได้เริ่มต้น โครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศขึ้น เพื่อปฏิบัติตาม นโยบายที่ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลและ คณะกรรมการไอทีแห่งชาติ ในการยกร่างกฎหมายไอทีทั้ง 6 ฉบับ ให้ แล้วเสร็จ คือ

1. กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transactions Law) เพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอข้อมูลที่ท าในกระดาษ อันเป็นการรองรับ นิติสัมพันธ์ต่าง ๆ ซึ่งแต่เดิมอาจจะจัดท าขึ้นในรูปแบบของ หนังสือให้เท่าเทียมกับนิติสัมพันธ์รูปแบบใหม่ที่จัดท าขึ้น ให้อยู่ ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ รวมตลอดทั้งการลง ลายมือชื่อในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และการรับฟัง พยานหลัก ฐานที่อยู่ในรูปแบบของ ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส

2. กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรับรองการใช้ลายมือชื่อ(Electronic Signatures Law) อิเล็กทรอนิกส์ด้วยกระบวนการใด ๆ ทางเทคโนโลยีให้เสมอด้วย การลงลายมือ ชื่อธรรมดา อันส่งผลต่อความเชื่อมั่นมากขึ้นใน การท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และก าหนดให้มีการก ากับ ดูแล การให้บริการ เกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตลอดจน การให้ บริการอื่น ที่เกี่ยวข้องกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์

3. กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และ(National Information Infrastructure Law) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ อันได้แก่โครงข่าย โทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศส าคัญอื่น ๆ อัน เป็นปัจจัย พื้นฐาน ส าคัญในการพัฒนาสังคม และชุมชนโดยอาศัยกลไกของรัฐ ซึ่งรองรับเจตนา รมณ์ส าคัญประการ หนึ่งของแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตาม รัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 (3) ใน การกระจายสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่า เทียมกัน และนับเป็นกลไกส าคัญในการช่วยลดความเหลื่อมล้ าของสังคม อย่างค่อยเป็น ค่อยไป เพื่อสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีศักยภาพในการปกครองตนเองพัฒนาเศรษฐกิจภายใน ชุมชน และ น าไปสู่สังคมแห่งปัญญา และการเรียนรู้

4. กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคล เพื่อก่อให้เกิดการ(Data Protection Law) รับรองสิทธิ และให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคลซึ่งอาจถูกประมวลผลเปิดเผยหรือ เผย แพร่ถึงบุคคลจ านวนมากได้ในระยะเวลาอัน รวดเร็วโดยอาศัยพัฒนาการทางเทคโนโลยี จนอาจก่อให้เกิดการน า ข้อมูลนั้นไปใช้ในทาง มิชอบอันเป็นการละเมิดต่อเจ้าของข้อมูล ทั้ง นี้โดยค านึงถึงการรักษาดุลยภาพระหว่าง สิทธิขั้น พื้นฐานในความเป็นส่วนตัว เสรีภาพ ในการติดต่อสื่อสาร และความมั่นคงของรัฐ

5. กฎหมายเกี่ยวกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law) เพื่อก าหน ดมาตรการทางอาญา ในการลงโทษผู้กระท าผิดต่อ ระบบการท างานของคอมพิวเตอร์ระบบ ข้อมูล และ ระบบเครือข่าย ทั้งนี้เพื่อเป็นหลักประกันสิทธิเสรีภาพ และการคุ้มครองการอยู่ร่วมกันของสังคม

6. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่ อก าหนดกลไกส(Electronic Funds Transfer Law) าคัญทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอนเงินทาง อิเล็กทรอนิกส์ ทั้งที่เป็นการโอน เงินระหว่างสถาบันการ เงิน และ ระบบการช าระเงินรูปแบบใหม่ในรูปของเงิน อิเล็กทรอนิกส์ก่อให้เกิดความเชื่อมั่น ต่อระบบการท า ธุรกรรมทางการเงิน และการท าธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์มากยิ่งขึ้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook