Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือพระพุทธศาสดาประชานาถ (ฉบับเต็ม)

หนังสือพระพุทธศาสดาประชานาถ (ฉบับเต็ม)

Published by NKRAFA EduQA, 2021-04-08 07:28:10

Description: หนังสือพระพุทธศาสดาประชานาถ (ฉบับเต็ม)

Search

Read the Text Version

พระพทุ ธศาสดาประชานาถ พระพุทธรูปขนาดหน้าตัก ๒๐.๒๐ น้ิว ปางสมาธิทรงเคร่ืองจักรพรรดิ พุทธลักษณะประกอบด้วย ศิลปะ ๔ ยุค ได้แก่ ล้านนา สุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ พระพักตร์เป็นพุทธลักษณะแบบเชียงแสน ๓ พระวรกายเป็นพุทธลักษณะแบบสุโขทัย ทรงเครื่องจักรพรรดิเป็นพุทธลักษณะแบบอยุธยา ฐานเป็นพุทธ ลักษณะแบบรัตนโกสินทร์ เป็นพระพุทธรูปบูชาท่ีกองทัพอากาศจัดสร้างในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปี แห่งการทิวงคต จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ “พระบิดาแห่งกองทัพอากาศ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราชสกล มหาสังฆปริณายก (อัมพร อมพฺ โร) ประทานนามวา่ “พระพุทธศาสดาประชานาถ” แปลวา่ พระพุทธเจา้ ทรงเป็นพระศาสดาผู้เป็น ท่ีพึ่งของประชาชน เมื่อ ๑๓ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๓ ประกอบพิธีเททองเมื่อวันท่ี ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ และจัดพิธีมหาพุทธาภิเษก ณ ยอดดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันท่ี ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ (๐๒๐๒๒๐๒๐) ทั้งนี้ ประดษิ ฐาน ณ สถานีรายงานดอยอนิ ทนนท์ กองทพั อากาศ จังหวัดเชียงใหม่ (ภาพ) พระพทุ ธศาสดาประชานาถ หน้า ๓๕ พระพุทธศาสดาประชานาถ

(ภาพ) พระพทุ ธศาสดาประชานาถ ความเปน็ มาของพระพุทธศาสดาประชานาถ เพื่อน้อมรำลึกครบรอบ ๑๐๐ ปี แห่งกำรทิวงคตของ จอมพล สมเด็จพระเจ้ำบรมวงศ์เธอ เจ้ำฟ้ำ จักรพงษ์ภูวนำรถ กรมหลวงพิศณุโลกประชำนำรถ ซึ่งกองทัพอำกำศเทิดพระเกียรติเป็น “พระบิดำแห่ง กองทัพอำกำศ” ในวันที่ ๑๓ มิถุนำยน พ.ศ.๒๕๖๓ พลอำกำศเอก มำนัต วงษ์วำทย์ ผู้บัญชำกำรทหำรอำกำศ มีดำริท่ีจะจัดสร้ำงพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ประดิษฐำนที่บริเวณสถำนีรำยงำนดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อถวำยเป็นพุทธบูชำและถวำยเป็นพระรำชกุศลแด่พระบิดำแห่งกองทัพอำกำศ ทั้งน้ี นับเป็นพระกรุณำธิคณุ แก่กองทัพอำกำศที่สมเด็จพระอริยวงศำคตญำณ สมเด็จพระสังฆรำชสกลมหำสังฆปริณำยก (อัมพร อมฺพโร) ประทำนนำมแด่พระพุทธรูปทกี่ องทพั อำกำศได้จัดสรำ้ งวำ่ “พระพุทธศำสดำประชำนำถ” แปลว่ำ พระพุทธเจ้ำ ทรงเป็นพระศำสดำผู้เป็นท่พี ่งึ ของประชำชน หน้า ๓๖ พระพุทธศาสดาประชานาถ

(ภาพ) ใบลิขิตประทานภาพพระนามพระพทุ ธศาสดาประชานาถ นอกจำกนี้ประทำนแผ่นอักขระทอง เงิน นำก เพื่อกำรจัดสร้ำงพระพุทธรูป อีกทั้งประทำนพระบรม สำรีริกธำตุเพ่ือบรรจใุ นพระเกตุมำลำขององค์พระประธำนอีกดว้ ย พระพทุ ธศำสดำประชำนำถ เป็นพระพุทธรปู ทปี่ ระกอบดว้ ยศลิ ปะ ๕ ยุค ไดแ้ ก่ ศลิ ปะหริภญุ ชัย ศลิ ปะ เชียงแสน ศิลปะสุโขทยั ศิลปะอยุธยำ และศิลปะรตั นโกสินทร์ (ภาพ) แผ่นอกั ขระทอง เงนิ นาก หน้า ๓๗ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ

ศิลปะหริภุญชัย กลุ่มพุทธศิลป์ในลุ่มน้าปิง เศียรพระพุทธศำสดำประชำนำถ ประดับด้วย เทริด๑ อันเป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพำะของศิลปะหริภุญชยั (ภาพ) เทรดิ ศลิ ปะหรภิ ญุ ชัย ศิลปะเชียงแสน พระพุทธศำสดำประชำนำถ เป็นพระพุทธรูปปำงขัดสมำธิเพชร จำลองพระพักตร์ (ใบหน้ำ) และพระหนุ (คำง) จำกพระพุทธรูปศิลปะเชียงแสน ที่มีพระพักตร์อิ่มเอิบ พระหนุเป็นปม แสดงถึง ควำมเมตตำ ออ่ นโยน และน่มุ นวล (ภาพ) พระพุทธรูปศลิ ปะเชียงแสนปางขัดสมาธเิ พชร ๑ อำ่ นวำ่ เซิด หมำยถงึ เครื่องประดบั ศีรษะ รปู มงกุฎทรงเตยี้ มกี รอบหน้ำ หน้า ๓๘ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ

ศิลปะสุโขทัย ส่วนพระวรกำยของพระพุทธศำสดำประชำนำถได้รับแรงบันดำลใจจำกพระพุทธรูป สมัยพระมหำธรรมรำชำ (ลิไท) อันเป็นยุคทองของพระพุทธศำสนำในอำณำจักรสุโขทัย องค์พระสวยสง่ำ มีควำมอ่อนชอ้ ยสงบนง่ิ มีเอกลักษณเ์ ฉพำะองค์ท่ีถือว่ำงำมที่สดุ (ภาพ) พระวรกายงดงามของพระพุทธรปู ศลิ ปะสโุ ขทยั ศิลปะอยุธยา เคร่ืองทรงจักรพรรดิของพระพุทธศำสดำประชำนำถ ประกอบด้วย กรองศอ ทับทรวง พำหุรัด และทองกร ดูนุ่มนวลกลมกลืน ดูสบำยตำ เป็นกำรเทิดทูนและแสดงควำมจงรักภักดีต่อสถำบัน พระมหำกษตั รยิ ์ (ภาพ) พระพทุ ธรูปศลิ ปะอยุธยาเครอื่ งทรงจักรพรรดิ ประกอบดว้ ย กรองศอ ทับทรวง พาหรุ ัด พระพทุ ธศาสดาประชานาถ หน้า ๓๙

ศิลปะรัตนโกสินทร์ ปรำกฏในกำรสร้ำงฐำนพระพุทธศำสดำประชำนำถ บริเวณทับทรวงอกด้ำนหน้ำ และชำยสังฆำฏิประดับด้วยดอกรวงผึ้ง ซ่ึงเป็นดอกไม้ประจำพระองค์พระบำทสมเด็จพระวชิรเกล้ำเจ้ำอยู่หัว บริเวณผ้ำทิพยป์ ระดับตรำกองทัพอำกำศ สื่อควำมหมำยวำ่ กองทัพอำกำศมีควำมม่ันคง ม่ังคั่ง สมบูรณ์พร้อม ทกุ สงิ่ เทดิ ทนู และรักษำไว้ซึง่ สถำบนั ชำติ ศำสนำ และพระมหำกษัตรยิ ์ (ภาพ) ฐานพระพุทธรปู ศลิ ปะอยธุ ยา พระประธำนเป็นพระพุทธรูปท่ีหล่อด้วยทศโลหะ ซ่ึงนับเป็นคร้ังแรกของประเทศไทยที่มีกำรหล่อ พระพุทธรูปในลักษณะนี้ เป็นกำรนำโลหะ ๙ ชนิด ได้แก่ ทอง เงิน ทองแดง สังกะสี ดีบุก ตะกั่ว จ้ำวน้ำเงิน (บอร์ไนท์) พลวง และซิลิคอน ตำมหลักกำรสร้ำง “นวโลหะ” ในสูตรโบรำณ มำผสมกับไททำเนียมที่ใช้ใน โครงสร้ำงอำกำศยำน ซ่ึงมีควำมแข็งแรงทนทำนและจุดหลอมเหลวสูง แต่มีน้ำหนักเบำ เพ่ือหลอมรวมเป็น “ทศโลหะ” ในปัจจุบันพบว่ำกำรหล่อพระพุทธรูปเนื้อนวโลหะด้วยโลหะครบ ๙ ชนิดตำมสูตรนวโลหะโบรำณ มีจำนวนน้อยมำก กำรหล่อพระพุทธรูปให้สมบูรณ์ทำได้ค่อนข้ำงยำก เนื่องจำกมีต้นทุนค่อนข้ำงสูง อีกทั้งต้อง ใช้ช่ำงหล่อที่มีควำมชำนำญ ทั้งน้ี กำรสร้ำงพระพุทธรูปเนื้อทศโลหะจึงมีควำมท้ำทำยกว่ำมำก เนื่องจำกยังไม่ เคยมีกำรสร้ำงมำก่อน กำรนำเอำโลหะท่ียังไม่เคยนำไปใช้ในกำรหล่อมำหลอมรวมกันมีโอกำสเกิดควำม ผิดพลำดได้ค่อนข้ำงสูง นำยชวลิต คล้อยตำมวงศ์ ประติมำกรผู้สร้ำงพระพุทธศำสดำประชำนำถจึงได้ปรึกษำ และขอคำแนะนำจำกอำจำรย์ สง่ำ จันทร์ตำ ครูชำนำญกำรของกองช่ำงสิบหมู่ กรมศิลปำกร เกี่ยวกับกำร คำนวณสดั ส่วนของโลหะแตล่ ะชนดิ ลำดับของโลหะแต่ละชนดิ ทจี่ ะหลอมกอ่ นหลงั วิธกี ำรท่จี ะหลอมรวมโลหะ แต่ละประเภท กำรใช้ควำมร้อน ตลอดจนขั้นตอนขณะหล่อทุกข้ันตอน จนกระทั่งเป็นพระพุทธรูปเนื้อ “ทศโลหะ” ท่มี คี วำมงดงำมยง่ิ หน้า ๔๐ พระพุทธศาสดาประชานาถ

พระพุทธศำสดำประชำนำถ ขนำดหน้ำตัก ๑๐ น้ิว จำนวน ๒,๐๒๐ องค์ มีส่วนประกอบของ เนื้อทองเหลืองจำกปลอกกระสุนปืนกลอำกำศที่ติดตั้งเคร่ืองบินขับไล่สมรรถนะสูงของกองทัพอำกำศ ซ่ึงผ่ำน กำรปฏบิ ตั ิภำรกจิ ควำมเร็วเหนอื เสียงมำแล้ว นับเป็นพระพทุ ธรปู ศักดิ์สิทธอิ์ งค์หนงึ่ ในพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๖ ระยะเวลาในการจัดสรา้ งพระพุทธศาสดาประชานาถ วันที่ ๑๓ พฤศจิกำยน พ.ศ.๒๕๖๒ พลอำกำศเอก มำนัต วงษ์วำทย์ ผู้บัญชำกำรทหำรอำกำศ มีดำริ จัดสร้ำงพระพุทธรูปบูชำศักดิ์สิทธ์ิสำหรับประดิษฐำนท่ีบริเวณสถำนีรำยงำนดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ เพอื่ น้อมรำลึกครบรอบ ๑๐๐ ปี แห่งกำรทิวงคตของ จอมพล สมเดจ็ พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ เจำ้ ฟ้ำจักรพงษภ์ ูวนำรถ กรมหลวงพิศณุโลกประชำนำรถ “พระบดิ ำแห่งกองทพั อำกำศ” วันที่ ๒๒ พฤศจิกำยน พ.ศ.๒๕๖๒ คณะกรรมกำรจัดสร้ำงพระพุทธรูปเขำ้ พบผู้บัญชำกำรทหำรอำกำศ เพื่อรับทรำบนโยบำยและรำยละเอียดเก่ียวกับกำรดำเนินกำรสร้ำงพระพุทธรูป ขนำดหน้ำตัก ๒๐.๒๐ นิ้ว จำนวน ๑ องค์ ขนำดหน้ำตกั ๑๐ นว้ิ จำนวน ๒,๐๒๐ องค์ วันที่ ๒๒ - ๒๔ พฤศจิกำยน พ.ศ.๒๕๖๒ คณะกรรมกำรจัดสร้ำงฯ ซึ่งมีประสบกำรณ์ในกำรสร้ำง พระพุทธรูปของกองทัพอำกำศได้เร่งติดต่อหำศิลปินเพ่ือวำดภำพพระพุทธรูปตำมดำริของผู้บัญชำกำรทหำรอำกำศ นำยชวลิต คล้อยตำมวงศ์ (ช่ำงโป้ง) จำกโรงหล่อโป้งป้ันแต่ง อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งเป็นศิลปินที่ตอบรับทำงำน ได้ใช้จินตนำกำร สมำธิ ตลอดจนแรงบันดำลใจในกำรร่ำงและวำดแบบเสร็จส้ิน ภำยใน ๑ วัน วันท่ี ๒๖ พฤศจิกำยน พ.ศ.๒๕๖๒ กองทัพอำกำศได้รับแบบร่ำงพระพุทธรูป พลอำกำศตรี ณรงค์ อนิ ทชำติ รองผ้บู ญั ชำกำรโรงเรยี นนำยเรืออำกำศนวมินทกษัตริยำธิรำช ซงึ่ เปน็ ผู้แทนผู้บัญชำกำรทหำรอำกำศ และคณะกรรมกำรจัดสร้ำงพระพุทธรูป ได้ตรวจแบบร่ำงและปรับแก้ไข จนกระทั่งได้แบบที่วิจิตรงดงำม ตรงตำมดำริของผู้บัญชำกำรทหำรอำกำศ เพื่อนำมำสร้ำงเป็นพระพุทธรูปปำงสมำธิเพชรแห่งปัญญำท่ีมี พุทธศลิ ปแ์ ละพทุ ธลักษณะหลอมรวมชนชำติไทยถงึ ๔ ยุคสมัย คือ ล้ำนนำ สโุ ขทัย อยธุ ยำ และรตั นโกสินทร์ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ หน้า ๔๑

(ภาพ) แบบร่างพระพุทธศาสดาประชานาถ วันท่ี ๒๖ ธันวำคม พ.ศ.๒๕๖๒ ช่ำงปั้นเตรียมและหมักเน้ือดิน เมื่อขุดดินมำจำกแหล่งดินแล้วนำดิน มำผสมกันในอัตรำส่วนดินเหนียวมำก ๒ ส่วน ดินเหนียวน้อย ๑ ส่วน แยกเศษไม้และเศษหินออก ผสมดินเหนียว เข้ำด้วยกัน ปรับคุณภำพของเนื้อดินให้มีคุณสมบัติดีขึ้น โดยควบคุมกำรหดตัวของดิน เพิ่มควำมเหนียวในเน้ือดนิ และปรับปรุงสีของเนื้อดิน จำกนั้นรดน้ำให้ชุ่มแล้วนำไปหมักในหลุมขนำด ๑x๑ เมตร ลึก ๒๐ เซนติเมตร โดยใช้เวลำหมัก ๒๔ ชั่วโมงเป็นอย่ำงน้อย จำกน้ันนำดินเข้ำเตรียมนวด เครื่องนวดรีดดินออกมำเป็นท่อน ขนำดยำวประมำณ ๒๕ – ๓๐ เซนติเมตร กวำ้ งประมำณ ๘ เซนตเิ มตร เรียกวำ่ “ลอ่ ” รดน้ำใหช้ ุม่ ห่อพลำสติก เก็บไว้ ๒ วนั วันท่ี ๒๘ ธันวำคม พ.ศ.๒๕๖๒ เวลำ ๑๑.๓๐ น. ช่ำงปั้นนำล่อมำข้นึ รูปบนพะมอน๒ ไล่รปู ทรงข้นึ ไป ตำมขนำดทตี่ อ้ งกำร มกี ำรใชผ้ ้ำชบุ น้ำซับดนิ ทข่ี นึ้ รปู เพ่อื ป้องกันดินแหง้ ตลอดเวลำกำรข้นึ รูป ช่ำงข้ึนรูปด้วยขี้ผ้ึง เป็นกำรนำขี้ผึ้งเหลวฉีดอัดเข้ำในแม่พิมพ์และแกะออกมำ หลังจำกนั้นจึงนำข้ีผ้ึง ท่ีขน้ึ รูปแล้วมำเคลือบหุ้มด้วยผงซลิ ิคอน มอลเล็ต แซน (Silicon mallet sand) จำนวน ๕ ชั้น ๒ เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นกำรขน้ึ รปู มีลักษณะเปน็ แป้นหมุนวงกลม หน้า ๔๒ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ

(ภาพ) รูปหล่อด้วยขผ้ี ึง้ วันท่ี ๑๔ ธันวำคม พ.ศ.๒๕๖๒ พลอำกำศตรี ณรงค์ อินทชำติ รองผู้บัญชำกำรโรงเรียนนำยเรืออำกำศ นวมินทกษัตริยำธิรำช เป็นผู้แทนผู้บัญชำกำรทหำรอำกำศ ประกอบพิธีเททองนำฤกษ์พระพุทธศำสดำประชำนำถ ขนำดหน้ำตกั ๑๐ นวิ้ จำนวน ๕๐ องค์ ทโ่ี รงหลอ่ โป้งปนั้ แต่ง อำเภอพยหุ ะคีรี จงั หวดั นครสวรรค์ (ภาพ) พิธีเททองนาฤกษ์พระพุทธศาสดาประชานาถ ขนาดหน้าตัก ๑๐ น้ิว ท่ีโรงหล่อโป้งป้ันแต่ง อาเภอพยุหะคีรี จังหวดั นครสวรรค์ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ หน้า ๔๓

วันท่ี ๕ มกรำคม พ.ศ.๒๕๖๓ พลอำกำศตรี ณรงค์ อินทชำติ รองผู้บัญชำกำรโรงเรียนนำยเรืออำกำศ นวมินทกษัตริยำธิรำช เป็นผู้แทนผู้บัญชำกำรทหำรอำกำศ ประกอบพิธีเททองเพ่ือทดสอบกำรหลอมทศโลหะ และหลอ่ พระพทุ ธรปู ขนำดหนำ้ ตกั ๑๐ นิ้ว (ภาพ) พธิ เี ททองเพื่อทดสอบการหลอมทศโลหะและหลอ่ พระพทุ ธรูป ขนาดหน้าตกั ๑๐ นิ้ว วันท่ี ๑๒ มกรำคม พ.ศ.๒๕๖๓ พลอำกำศตรี ณรงค์ อินทชำติ รองผู้บัญชำกำรโรงเรียนนำยเรืออำกำศ นวมินทกษัตริยำธิรำช เป็นผู้แทนผู้บัญชำกำรทหำรอำกำศ และคณะกรรมกำรจัดสร้ำงฯ ได้ร่วมกันตรวจงำน พระพทุ ธรปู ขนำดหน้ำตัก ๑๐ น้วิ ทีห่ ล่อด้วยทศโลหะ วันท่ี ๑๕ มกรำคม พ.ศ.๒๕๖๓ เวลำ ๐๙.๓๙ น. กองทัพอำกำศจัดพิธีเททองหล่อพระพุทธศำสดำ ประชำนำถ ทั้งนี้ ได้รับควำมเมตตำจำก สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตโต) เจ้ำอำวำสวัดบวรนิเวศ รำชวรวิหำร เป็นประธำนฝ่ำยสงฆ์ โดยมีพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์และพระเกจิอำจำรย์จำนวน ๔ รูป น่ังปรก อธิษฐำนจิต พลอำกำศเอก มำนัต วงษ์วำทย์ ผู้บัญชำกำรทหำรอำกำศ เป็นประธำนฝ่ำยฆรำวำส โดยมี ข้ำรำชกำรและครอบครัว สมำชิกชมรมแม่บ้ำนทหำรอำกำศ และประชำชนท่ีมีควำมศรัทธำจำนวนมำกเข้ำร่วมพิธี ทีบ่ รเิ วณลำนอเนกประสงค์ โรงเรียนนำยเรอื อำกำศนวมินทกษตั รยิ ำธิรำช วนั ที่ ๒๓ มกรำคม พ.ศ.๒๕๖๓ พลอำกำศเอก มำนัต วงษ์วำทย์ ผู้บญั ชำกำรทหำรอำกำศ และ แพทย์หญิง วิไลภรณ์ วงษ์วำทย์ นำยกสมำคมแม่บ้ำนทหำรอำกำศ เข้ำรับประทำนพระบรมสำรีริกธำตุจำกสมเด็จพระอริยวง ศำคตญำณ (อัมพร อมฺพโร) สมเด็จพระสังฆรำช สกลมหำสังฆปริณำยก ณ วัดรำชบพิธสถิตมหำสีมำรำม รำชวรวิหำร นำไปประดษิ ฐำนทศี่ ูนย์เยำวชน กองทพั อำกำศ หน้า ๔๔ พระพุทธศาสดาประชานาถ

(ภาพ) ผู้บัญชาการทหารอากาศและภริยารับประทานพระบรมสารีริกธาตุและชื่อของพระพุทธรูปจากสมเด็จ พระอรยิ วงศาคตญาณ (อมั พร อมฺพโร) สมเดจ็ พระสงั ฆราชสกลมหาสงั ฆปริณายก วันท่ี ๒๔ มกรำคม พ.ศ.๒๕๖๓ พลอำกำศตรี ณรงค์ อินทชำติ รองผู้บัญชำกำรโรงเรียนนำยเรืออำกำศ นวมินทกษัตริยำธิรำช เป็นผู้แทนผู้บัญชำกำรทหำรอำกำศ และคณะกรรมกำรจัดสร้ำงฯ ได้ร่วมกันอัญเชิญ พระบรมสำรีริกธำตุจำกศูนย์เยำวชน กองทัพอำกำศ พระพุทธศำสดำประชำนำถและพระพุทธรูป จำนวน ๒,๐๒๐ องค์ ขึน้ เคร่ืองบินลำเลียง C-130 ของกองทัพอำกำศ จำกกองบิน ๖ ดอนเมือง ส่กู องบิน ๔๑ เชียงใหม่ โดยนิมนต์พระเกจิอำจำรย์ จำนวน ๓ รูป ทำพิธีอธิษฐำนจิตระหว่ำงเดินทำง นับเป็นกำรปรกพระพุทธรูป จำนวนมำก เหนือน่ำนฟำ้ เปน็ ครงั้ แรกของประเทศไทย เปรียบเสมือนพระพุทธรปู เคลอ่ื นที่ไปในอำกำศดว้ ยฤทธิ์ ไปยังสถำนท่ีประกอบพิธีมหำพุทธำภิเษก และร่วมอัญเชิญพระประธำนพระพุทธศำสดำประชำนำถไปถึง ที่ประดิษฐำน กอ่ นท่จี ะแจกจ่ำยไปยงั ผ้สู ่ังจองดว้ ยพลังศรทั ธำ พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๔๕

(ภาพ) พระเกจิอาจารย์ทาพธิ อี ธษิ ฐานจิตและปรกพระพทุ ธรปู (ภาพ) พระเกจอิ าจารยท์ าพิธอี ธิษฐานจิตและปรกพระพทุ ธรูป วันท่ี ๓๑ มกรำคม พ.ศ.๒๕๖๓ อัญเชิญพระบรมสำรีริกธำตุ พุทธศำสดำประชำนำถ และพระพุทธรูป จำนวน ๒,๐๒๐ องค์ จำกกองบิน ๔๑ ไปประดิษฐำนทพี่ ระมหำธำตุนภเมทนดี ล วันท่ี ๑ กุมภำพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ ประกอบพิธีบวงสรวงและอัญเชิญพระบรมสำรีริกธำตุ พระพุทธ ศำสดำประชำนำถ และพระพทุ ธรูป จำนวน ๒,๐๒๐ องค์ จำกพระมหำธำตุนภเมทนีดลไปประดิษฐำนชว่ั ครำว ท่ีพระมหำเจดีย์พระแก้วสมั ฤทธผิ ล วันท่ี ๒ กุมภำพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ พลอำกำศเอก มำนัต วงษ์วำทย์ ผู้บัญชำกำรทหำรอำกำศ และ แพทย์หญิง วิไลวรรณ วงษว์ ำทย์ นำยกสมำคมแม่บ้ำนทหำรอำกำศ เป็นประธำนในพธิ ีมหำพุทธำภเิ ษก ถึงแม้อำกำศ หน้า ๔๖ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ

จะหนำวเย็นท่ำมกลำงกระแสลมแรง แต่ข้ำรำชกำรกองทัพอำกำศและประชำชนจำนวนมำกเข้ำร่วมพิธีมหำ พทุ ธำภิเษกพระพุทธศำสดำประชำนำถดว้ ยพลงั แห่งศรัทธำ บนดอยอนิ ทนนท์ จังหวัดเชยี งใหม่ (ภาพ) พิธมี หาพุทธาภเิ ษกพระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๔๗ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ

การสร้างพระพุทธรูปมีวิวัฒนาการมาเป็นลาดับ กรรมวิธีการสร้างพระพุทธรูปมีตามลักษณะมวลสาร ที่ใช้ในการหล่อ ระยะเริ่มแรกมนุษย์มีความเช่ือ นับถือ และยกย่อง “ดิน” ว่าเป็นเสมือนเทพเจ้าท่ีทรงคุณค่า รู้จักในนาม “แม่พระธรณี” การสร้างพระเนื้อดินจึงมีอายุเก่าแก่ที่สุด เป็นการนาดินจากศาสนสถานศักดิ์สิทธิ์ หรือสถานท่ีอันเป็นมงคล มาทาพิธีบวงสรวง ขอบารมีแม่พระธรณีและสิ่งศักด์ิสิทธิ์ เพื่อเสริมความเป็นมงคล แก่พระพุทธรูป ในระยะต่อมามีการนาแร่ธาตุหลายชนิดที่มีความแข็งแรงทนทานมาผสมผสานกลายเป็น เนื้อโลหะ เชน่ พระเนื้อทองคา พระเน้อื เงิน พระเนือ้ ทองแดง พระเนอ้ื สาริด เป็นต้น โลหะเนื้อสาริด๑ ประกอบดว้ ยตระกลู ของสมั ฤทธ์ิท่ถี ูกต้องตามสตู รโบราณ ๕ ตระกูล ดังนี้ ๑. สัมฤทธ์ิผล คือ สัมฤทธ์ิแดงหรือตริยโลหะ มีมงคล หมายถึง พระรัตนตรัยเป็นทองสัมฤทธิ์เนื้อสาม ผสมดว้ ยโลหะธาตุ ๓ ชนดิ คือ ทองแดงเป็นสว่ นใหญ่ และเจอื ด้วยเงินกบั ทองคา สัมฤทธ์ิตระกลู น้ีมีวรรณะแดง คล้ายนาก แต่มีผิวเจือด้วยวรรณะคล้าคล้ายสีมะขามเปียก โบราณถือว่าเป็นมงคลวัตถุ อานวยผลนานัปการ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ทางด้านเมตตามหานิยม ๒. สัมฤทธิ์โชค คือ สัมฤทธิ์เหลืองหรือปัญจโลหะ เป็นโบราณนิยาม หมายถึง เบญจขันธ์ (ขันธ์ ๕) คือ รปู เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ เป็นทองสัมฤทธ์ิเนอื้ ห้า ไดแ้ ก่ ทองแดง ตะก่ัว สงั กะสี เงนิ ทองคา มีวรรณะ เหลืองคล้ายเนื้อกลองมโหระทึกหรือขันลงหิน มีแววนกยูงภายในเน้ือ เป็นสัมฤทธิ์ท่ีให้คุณหนักไปทางด้านลาภผล กับความสาเรจ็ ๓. สัมฤทธ์ิศักด์ิ คือ สัมฤทธิ์ขาวหรือสัตตโลหะ เป็นมงคลนาม หมายถึง โพชฌงค์ ๗ คือ องค์ธรรม เป็นเครื่องตรัสรู้ มี ๗ ประการ ได้แก่ สติ ธัมมวิจยะ วิริยะ ปิติ ปัสสัทธิ สมาธิ และอุเบกขา สัมฤทธ์ิศักดิ์ เปน็ ทองสมั ฤทธ์เิ น้ือเจ็ด ประกอบดว้ ย ทองแดง ตะกว่ั สงั กะสี ปรอท เหล็กละลายตัว เงิน และทองคา สัมฤทธ์ิ ตระกูลนี้มีวรรณะหม่นคล้าเล็กน้อย แต่มีแวววรรณะขาวผสมผสานอยู่ ถือกันว่าอานวยผลทางด้านอานาจ มหาอดุ คงกระพัน แคล้วคลาด ๔. สัมฤทธิ์คุณ คือ สัมฤทธ์ิเขียวหรือนวโลหะ หมายถึง นัยของธรรมอันสูงสุดในพระศาสนา อันได้แก่ นวโลกุตรธรรม อันมี มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ สัมฤทธิ์คุณเป็นทองสัมฤทธ์ิเนื้อเก้า เช่นเดียวกับสัมฤทธ์ิเดช ประกอบด้วย ทองแดง ตะกว่ั สังกะสี ปรอท เหล็กละลายตวั ชนิ จา้ วน้าเงิน เงนิ และทองคา แตส่ มั ฤทธ์ิตระกูลนี้ มีส่วนผสมของเนื้อเงินมากกว่าธรรมดา ดังน้ันเน้ือภายในจึงมีวรรณะสีจาปาอ่อนหรือนากอ่อน แต่ผิวเนื้อเมื่อ กลับคล้าเพราะสัมผัสไอเหง่ือ จะมีวรรณะคล้าเจือเขียวเตยหม่นแกมเหลืองอ่อนคล้า มีแววขาวโดยตลอด เน้อื สมั ฤทธ์ชิ นดิ นีอ้ านวยคณุ วเิ ศษเชน่ เดยี วกบั สมั ฤทธเ์ิ ดชทกุ ประการ ๕. สัมฤทธิ์เดช คือ สัมฤทธ์ิดาหรือนวโลหะ เป็นทองสัมฤทธ์ิเน้ือเก้าเช่นเดียวกับสัมฤทธิ์คุณ แต่มี สัดส่วนการผสมได้เกณฑ์ถูกต้องตามมูลสูตรมากท่ีสุด ดังนั้นภายในจึงมีวรรณะจาปาแก่หรือสีนากแก่ ผิวเนื้อ ๑ อ้างอิงจาก ศุนย์พระเครอ่ื งพระบชู าออนไลน์ https://www.amuletsale4u.com หน้า ๔๘ พระพุทธศาสดาประชานาถ

เมอ่ื กลบั คล้าเพราะสัมผสั ไอเหงื่อ จะดาสนทิ ประหน่ึงนิลดา เรียกกนั ว่า \"สัมฤทธ์เิ นอื้ กลับ\" โบราณถอื วา่ สัมฤทธิ์ นวโลหะทั้ง ๒ ประเภทน้ี เป็นสัมฤทธ์ิที่สมบูรณ์ที่สุด หรือเป็นยอดของสัมฤทธ์ิ อานวยผลทางด้านมหาอุด อันสูงส่ง คือ อานาจตบะเดชะ มหานยิ ม ลาภผล ความสาเรจ็ คงกระพนั แคล้วคลาด ทุกประการ พระพุทธศาสดาประชานาถทจี่ ัดสรา้ งขึ้นในครั้งนใ้ี ช้กรรมวธิ แี บบเน้ือโลหะ ประกอบด้วยมวลสารโลหะ จานวน ๑๐ ชนดิ เรยี กวา่ ทศโลหะ ดงั นี้ ๑. ทองคำ ทาให้ทนต่อรอยขีดข่วน เงินเป็นสัญลักษณ์แทน จัดอยู่ในจาพวกโลหะที่มีเนื้ออ่อนท่ีสุด ความบริสทุ ธ์ิ มีความมันวาว มีอุณหภูมิในการหลอมละลาย ที่ ๑,๐๖๓ องศาเซลเซียส สามารถยึดและตีให้เป็น แผ่นบางได้สูงสุดถึง ๐.๐๐๐๑ มิลลิเมตร หรือ ที่เรียกกันว่า “ทองคาเปลว” จากคุณสมบัติของ ทองคาท่ีมีลักษณะเฉพาะตัว มีเนื้อสีเหลืองสุกปลั่ง เปน็ ประกาย ไมเ่ ป็นสนมิ ไมห่ มอง เนอื่ งจากทองคา ไม่ทาปฏิกิริยากับออกซิเจน ไม่มีคราบไคล ทองคา บริสุทธิ์ไม่ไวต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี จึงทนต่อการ (ภาพ) โลหะเงนิ ผุกร่อนได้เป็นอย่างดี ความมันวาวงดงามสื่อ ความหมายแทนความสว่างเรืองและความ ๓. ทองแดง เจริญรุ่งเรอื ง เ น้ื อ โ ล ห ะ มี สี แดง ทองแดงยิ่งบริสทุ ธิ์ ย่ิ ง ห ล อ ม เ ห ล ว ไ ด้ ย า ก เพราะสามารถถ่ายเท ความร้อนได้ดี และถ้า ปล่อยทองแดงบริสุทธิ์ ท้ิงไว้ในบรรยากาศเป็น เวลานาน จะปรากฏ (ภาพ) โลหะทองแดง (ภาพ) โลหะทองคา เ ป็ น ฟิ ล์ ม ข น า ด บ า ง สี เ ขี ย ว บ น บ ริ เ ว ณ ผิ ว ห น้ า ทาหน้าที่ปกป้องมิให้ออกซิเจนจากอากาศเข้าไป ๒. เงนิ ทาปฏิกิริยากับเนื้อทองแดง เป็นผลทาให้ทองแดง โลหะเงินบริสุทธิ์มันวาว มีคุณสมบัติ อ่อน มีสภาพทนต่อลมฟา้ อากาศ เหนียว นาความร้อนและไฟฟ้าได้ดี มีความมันวาว พระพทุ ธศาสดาประชานาถ หน้า ๔๙

๔. สงั กะสี ๖. พลวง โลหะหนัก เนื้อสีขาว มีความเหนียวสูง รีด พลวงท่ีมีสีเหลืองและดาจะเป็นอโลหะที่ไม่ เป็นแผน่ ทอี่ ุณหภูมิ ๑๐๐ - ๑๕๐ องศาเซลเซยี ส แต่ เสถียร พลวงใช้ประโยชน์ในการทาสีเซรามิก สาร ในที่อุณหภูมิห้องจะเปราะแตกหักง่าย มีอัตราการ เคลอื บผิว ขยายตัวสูงในสภาวะร้อนมากร้อนมาก ทนการกัด กร่อนในบรรยากาศได้ดี แต่ทว่าไม่ทนตอ่ กรด (ภาพ) โลหะพลวง (ภาพ) โลหะสงั กะสี ๗. ดบี ุก เ ป็ น โ ล ห ะ เ นื้ อ อ่ อ น สี ข า ว ค ล้ า ย โ ล ห ะ ๕. ตะก่ัว เป็นโลหะเนื้ออ่อน มีน้าหนักอะตอมสูง ทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพบรรยากาศปกติได้ เป็นอย่างดี ทนต่อสภาพกรดและด่างได้ปานกลาง อีกท้ังมีความหนาแน่น ความอ่อน และความเหนียว แตส่ ามารถเคลือบโลหะอืน่ ไดด้ ี ทนต่อสภาพกรดและการกัดกร่อนได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความสามารถในการหล่อล่ืน แต่มีความ แข็งแรงและจุดหลอมเหลวต่า (ภาพ) โลหะดีบุก หน้า ๕๐ (ภาพ) โลหะตะก่วั พระพทุ ธศาสดาประชานาถ

๘. ซิลคิ อน ๑๐. จ้ำวนำเงินหรือบอร์ไนท์ คุณสมบัติการต้านทานการหมอง ทาให้มี โลหะมงคลสาคัญที่ถือเป็นแร่ธาตุศักด์ิสิทธ์ิ ผวิ เงาและขาวข้นึ ที่คนไทยสมัยอยุธยาและสมัยรัตนโกสินทร์ประสงค์ จะไดค้ รอบครอง เปน็ แร่ท่ีมีสีรุ้ง แตส่ ่วนใหญ่จะออก (ภาพ) โลหะซลิ ิคอน โทนสีนา้ เงนิ เขียว และมว่ ง จ้าวนา้ เงนิ หรือบอร์ไนท์ เป็นหินแร่แห่งความสุข เป็นหินแร่มงคลท่ีประสาน ๙. ไทเทเนยี ม โลหะอ่ืน ๆ ละลายเข้าด้วยกันอย่างสมบูรณ์ เมื่อถูก เป็นวัสดุที่มีความหนาแน่นต่า แต่มีความ เผาจะหลอมตัวกับออกซิเจนแล้วให้เปลวสีน้าเงิน ทั้งนี้ จ้าวน้าเงินมีคุณสมบัติพิเศษ ทาให้โลหะ แข็งแรงสูง ทนต่อการกัดกร่อน ใช้ในโครงสร้าง ทนทานต่อการกัดกร่อนและสึกกร่อน ทาให้พื้นผิว ของอากาศยาน ถือเป็นวัสดุสาคัญท่ีมีความ วตั ถกุ ลับดา มองเหน็ ความเกา่ ชดั เจน เก่ียวข้องกับกองทัพอากาศนับต้ังแต่แรกเร่ิมจนถึง ปจั จบุ นั (ภาพ) โลหะมงคล : จ้าวนาเงินหรอื บอร์ไนท์ (ภาพ) โลหะไทเทเนยี ม หน้า ๕๑ พระพุทธศาสดาประชานาถ

ชนวนมวลสำรอันศกั ดิส์ ทิ ธิจ์ ำกกำรสร้ำงพระพุทธศำสดำนภำพทิ ักษ์และพระพทุ ธสีหนำทรำชสีมำอินทบูชติ อนึ่ง ทางคณะผู้จัดสร้างฯ ได้เพ่ิมชนวนมวลสารอันศักดิ์สิทธ์ิจากการสร้างพระพุทธศาสดานภาพิทักษ์ และพระพุทธสีหนาทราชสีมาอินทบูชิต ตลอดจนชนวนมวลสารจากการหล่อ “พระบิดากองทัพอากาศ” จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ จากวิทยาลัย การทัพอากาศ ลงไปในส่วนผสมมวลสารอกี ดว้ ย (ภาพบน) มวลสารของพระพทุ ธศาสดานภาพทิ กั ษ์ (ภาพขวา) พระพุทธศาสดานภาพทิ ักษ์ (ภาพล่าง) มวลสารของ“การสร้างพระบิดากองทพั อากาศ” (ภาพซา้ ย) พระพทุ ธสหี นาทราชสมี าอนิ ทบูชิต (ภาพ) พลอากาศตรี ณรงค์ อนิ ทชาติ รองผู้บญั ชาการโรงเรียนนายเรอื อากาศนวมนิ ทกษตั รยิ าธิราช รับมอบมวลสาร “พระบิดากองทพั อากาศ” จากวิทยาลัยการทพั อากาศ กรมยทุ ธศกึ ษาทหารอากาศ หน้า ๕๒ พระพุทธศาสดาประชานาถ

นอกจากมวลสารทศโลหะท้ัง ๑๐ ชนิดแล้ว พระพุทธศาสดาประชานาถจะทวีความศักดิ์สิทธ์ิยิ่งขึ้น อนั เนอ่ื งมาจากแหลง่ ทมี่ าของมวลสาร จาแนกไดด้ งั นี้ ๑. มวลสารแผน่ ทอง เงิน และนาก สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ประทาน แผ่นอักขระทอง เงิน นาก เพื่อการจัดสร้างพระพุทธรูป พร้อมทั้งประทานพระบรมสารีริกธาตุเพ่ือบรรจุใน พระเกตุมาลาขององค์พระประธานท่ีจะประดิษฐานท่ีดอยอินทนนท์ ทั้งน้ี แผ่นอักขระทอง เงิน นาก ได้รับ การแผเ่ มตตาและอธิษฐานจติ จากพระเกจอิ าจารย์ท่วั ทุกภมู ภิ าคของประเทศไทยจานวน ๔๐๔ รูป (ภาพ) พลอากาศเอก มานตั วงษ์วาทย์ ผูบ้ ัญชาการทหารอากาศ และแพทย์หญิงวไิ ลภรณ์ วงษ์วาทย์ เขา้ เฝา้ สมเดจ็ พระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมพฺ โร) สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก (ภาพ) สมเดจ็ พระวนั รัต (จุนท์ พฺรหฺมคตุ โฺ ต) วัดบวรนิเวศวหิ าร มอบแผ่นทอง เงิน และนาก แกก่ องทัพอากาศ เพอื่ จดั สรา้ งพระพุทธศาสดาประชานาถ โดย พลอากาศตรี ณรงค์ อนิ ทชาติ รอง ผบ.รร.นนก.เปน็ ผูแ้ ทนรบั มอบ พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๕๓

๒. มวลสารชนวนโลหะจากการเททองหล่อองค์พระจากหน่วยงานภายในกองทัพอากาศ ๒.๑ ชนวนโลหะจากการเททองหล่อ พระพุทธทปี งั กร กองบนิ ๑ เม่ือปีพ.ศ.๒๕๕๕ ๒.๒ ชนวนโลหะจากการเททองหล่อ พระพุทธสีหนาทราชสีมาอินทบูชิต พระพุทธรูปประจาศาลา ปฏบิ ตั ิธรรมของกองบิน ๑ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๗ ๒.๓ ชนวนโลหะจากการเททองหล่อ รูปเหมือนพระชัยนาทมุนี (หลวงพ่อนวม สุทตฺโต) และเหรียญ หลวงพ่อเพชร รนุ่ ยกฉตั ร ของกองบนิ ๔ เมอื่ ปี พ.ศ.๒๕๕๘ ๒.๔ ชนวนโลหะจากการเททองหล่อ พระพุทธนภเสนานาถ พระพุทธรูปบูชา ขนาดหน้าตัก ๙ น้ิว รุ่นแรก ของโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ สมยั พลอากาศตรี สาเริง พลู เพ่ิม เปน็ ผู้บญั ชาการโรงเรียนฯ ๒.๕ ชนวนโลหะจากการเททองหล่อ รูปเหมือนหลวงปู่ทวด เหยียบน้าทะเลจืด รุ่นพญาจงอางศึก ของกองบนิ ๔ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๙ ๒.๖ ชนวนโลหะจากการเททองหล่อ พระบูชาหลวงพ่อเพชร ขนาดหน้าตัก ๕.๙ นิ้ว ของกองบิน ๔ เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๕๖๐ ๒.๗ ชนวนโลหะจากการเททองหล่อ รูปเหมือนพระครูนิวาสธรรมขันธ์ (หลวงพ่อเดิม พุทธสโร) ของ กองบนิ ๔ ปี เมื่อปี พ.ศ.๒๕๖๑ ๒.๘ ชนวนโลหะจากการเททองหล่อ พระพุทธรูปบูชา “หลวงพ่ออยู่เย็นเป็นสุข” ของกองบิน ๕๖ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๖๑ ๒.๙ ชนวนโลหะจากการเททองหล่อรูปเหมือนสมเด็จพระพุฒาจารย์ (หลวงปู่โต พฺรหฺมรังสี) ของ กองบนิ ๔ เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๕๖๒ ๒.๑๐ มวลสารชนวนโลหะจากการหล่อ “พระบิดาแห่งกองทัพอากาศ” จอมพล สมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภวู นารถ กรมหลวงพศิ ณุโลกประชานารถ จากวิทยาลัยการทัพอากาศ (ภาพ) มวลสารชนวนโลหะจากการหลอ่ “พระบดิ าแห่งกองทพั อากาศ” จากวิทยาลัยการทัพอากาศ หน้า ๕๔ พระพุทธศาสดาประชานาถ

(ภาพ) มวลสารชนวนโลหะจากการหลอ่ หลวงพอ่ อยเู่ ยน็ เป็นสุข ของกองบนิ ๕๖ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๖๑ ๓. มวลสารชนวนโลหะจากการเททองหล่อองค์พระพุทธรูปจากหน่วยงานภายนอกกองทพั อากาศ เม่ือวันท่ี ๑๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ พลเอก พลภัทร วรรณภักตร์ (เตรียมทหารรุ่น ๑๖) ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และพลเอก กิติกร ธรรมะนิยาย (เตรียมทหารรุ่น ๑๖) ท่ีปรึกษารัฐมนตรี ช่วยวา่ การกระทรวงกลาโหม ทราบถงึ วตั ถุประสงค์ในการจัดสร้างพระพุทธศาสดาประชานาถ จงึ ไดม้ อบชนวน โลหะของการเททองหล่อ พระพุทธรักษาและพระพุทธรปู สาคัญของกระทรวงกลาโหมแก่กองทัพอากาศ เพ่ือ นาไปเททองหลอ่ องค์พระพทุ ธศาสดาประชานาถ โดยมี พลอากาศตรี ณรงค์ อินทชาติ รองผูบ้ ัญชาการโรงเรยี น นายเรืออากาศนวมนิ ทกษตั ริยาธิราช เป็นผู้แทนรับมอบ (ภาพ) มวลสารชนวนโลหะจากการเททองหลอ่ องคพ์ ระพุทธรักษาและพระพุทธรปู สาคญั ของกระทรวงกลาโหม พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๕๕

๔. มวลสารปลอกกระสุนทองเหลอื งปนื กลอากาศซึ่งเปน็ วัสดุทรงคุณคา่ ทีเ่ ชอ่ื มโยงความเปน็ ทหารอากาศ ปลอกกระสุนทองเหลืองปืนกลอากาศซ่ึงเป็นอาวุธประจาเคร่ืองบินขับไล่แบบ บข-18 (F-16) ขนาด ๒๐ มิลลิเมตร จากกองบิน ๑ จังหวัดนครราชสีมา และกองบิน ๔ จังหวัดนครสวรรค์ จานวนประมาณ ๓ ตัน ซึ่งผ่านการบินด้วยความเร็วสูงเหนือเสียง แสดงให้เห็นถึงอานุภาพของกองทัพอากาศเหนือฟากฟ้า นามาเป็น มวลสารหล่อพระประธานขนาดหน้าตัก ๒๐.๒๐ นิ้ว และพระบูชาขนาดหน้าตัก ๑๐ นิ้ว ทั้งนี้ การนาปลอก กระสนุ ทองเหลืองมาเปน็ มวลสารในการหลอ่ พระพทุ ธรปู ถือเปน็ ธรรมเนียมปฏิบัตขิ องกองทัพอากาศมาตง้ั แต่อดตี (ภาพ) มวลสารปลอกกระสนุ ปนื กลอากาศจาก กองบิน ๑ จงั หวดั นครราชสมี า (ภาพ) มวลสารปลอกกระสนุ ปืนกลอากาศจาก กองบนิ ๔ จงั หวดั นครสวรรค์ หน้า ๕๖ พระพุทธศาสดาประชานาถ

(ภาพ) มวลสารปลอกกระสนุ ปนื กลอากาศทาจากทองเหลอื งคณุ ภาพสูง ๕. มวลสารจากแผน่ ทอง เงิน และนาก จากพทุ ธศาสนิกชนท้ังในกองทัพอากาศและประชาชนท่ัวไป ข้าราชการในกองทัพอากาศทุกหน่วย ทั้งหน่วยงานในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคได้ลงช่ือลงบนแผ่น ทอง เงิน นาก จานวน ๓๘,๑๕๒ แผน่ เพ่อื นาไปประกอบพิธีเททองหลอ่ องคพ์ ระพุทธศาสดาประชานาถ (ภาพ) พลอากาศเอก มานัต วงษว์ าทย์ ผบู้ ญั ชาการทหารอากาศ แจง้ หัวหนา้ หน่วยขน้ึ ตรงกองทัพอากาศ ใหร้ บั ทราบและมีสว่ นรว่ มในการสร้างพระพุทธศาสดาประชานาถ พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๕๗

(ภาพ) ขา้ ราชการของหนว่ ยขนึ้ ตรงกองทพั อากาศทั้งสว่ นกลางและภมู ภิ าคส่งมอบแผน่ ทอง เงนิ นาก ท่ไี ด้รว่ มกนั ลงชื่อ สง่ ใหแ้ กค่ ณะกรรมการจดั สรา้ งพระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๕๘ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ

(ภาพ) พลอากาศตรี ณรงค์ อนิ ทชาติ และคณะทางาน ไหว้พระกอ่ นประกอบพธิ ีทดสอบการหลอ่ ทศโลหะ (ภาพ) พลอากาศตรี ณรงค์ อนิ ทชาติ และคณะทางาน ตัง้ จติ อธษิ ฐานและประกอบพิธีทดสอบการหลอ่ ทศโลหะ การจัดสร้างพระเนื้อทศโลหะถือว่าเป็นครั้งแรกของกองทัพอากาศและของประเทศไทย คณะทางาน จึงต้องศึกษาข้อมูลอย่างละเอียด และได้ทดสอบในวันท่ี ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ ก่อนพิธีเททองหล่อ พระพุทธรปู จริง มรี ายละเอยี ดดงั น้ี โรงหล่อทดสอบการหลอมทศโลหะตามคาแนะนาเก่ียวกับสัดสว่ นโลหะท่ีเหมาะสมที่สุดจากสานักช่าง สิบหมู่ กรมศิลปากร เร่ิมจากการหลอมโลหะไทเทเนียมให้ได้จุดหลอมเหลวพอดี จากนั้นจึงผสมโลหะอ่ืน ๆ ให้ละลายจนเป็นเนื้อเดียวกัน ถือเป็นขั้นตอนท่ีต้องใช้ความวิริยะอุตสาหะเป็นอย่างยิ่ง เน่ืองจากใช้ระยะ เวลานานกว่าไทเทเนียมจะถงึ จุดหลอมเหลว พระพทุ ธศาสดาประชานาถ หน้า ๕๙

(ภาพ) การหลอมโลหะไทเทเนยี ม ช่างหล่อทดสอบโลหะผสมทศโลหะกับเบ้าหลอมพระพุทธรูปท่ีใช้เพ่ือการทดสอบ เพื่อตรวจสอบ การไหลตัวของโลหะผสมทศโลหะและการแตกร้าวของผิวโลหะว่า มีการรานตัวของโลหะผสมหรือไม่ และ การแข็งตัวของโลหะผสมเป็นไปโดยสมบูรณ์หรือไม่ หากพบว่าสมบูรณ์ ช่างจะนาส่วนผสมดังกล่าวไปหล่อ พระพุทธรูปองค์จริงในวันถัดไป ส่วนผสมคานวณโดย นายสง่า จันทร์ตา เจ้าหน้าที่ชานาญการ กองช่างสิบหมู่ กรมศลิ ปากร มีสัดส่วนดังนี้ - ทองคา ๑๐ บาท - เงนิ ๔ กิโลกรัม - ทองแดง ๑๙๐ กโิ ลกรัม - สังกะสี ๓ กิโลกรัม - ตะก่ัว ๒ กิโลกรมั - พลวง ๒๐๐ กรัม - ดบี ุก ๔ กโิ ลกรัม - ซิลคิ อน ๒ กิโลกรมั - จ้าวน้าเงนิ ๒๐๐ กรัม - ไทเทเนียม ๑๐ กรัม หน้า ๖๐ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ

(ภาพ) พลอากาศตรี ณรงค์ อินทชาติ หลอมโลหะท้งั ๑๐ ชนดิ (ภาพ) การทดสอบเททศโลหะในเบ้าหล่อพระพทุ ธรปู ขนาดหนา้ ตัก ๑๐ น้วิ (ภาพ) ลกั ษณะเน้ือและสขี องทศโลหะทีช่ า่ งตดั ผิวหนา้ ทห่ี ล่อลงในพมิ พ์ท่แี ข็งตัวออก หน้า ๖๑ พระพุทธศาสดาประชานาถ

โลหะผสมทศโลหะท่ีดาเนินการทดสอบรวมตัวเข้าด้วยกันได้อย่างสมบูรณ์ เม่ือนาไปแช่น้าให้แข็งตัว พบว่าไม่แตกร้าว หลังจากถอดแบบแล้ว ช่างหล่อได้ขัดตกแต่งพระพุทธรูปที่ใช้ทดสอบ จากน้ันนาเสนอต่อ ผู้บังคับบัญชาและคณะกรรมการสร้างพระพุทธรูปเพื่อพิจารณาตัดสินใจ พบว่าโลหะผสมมีสีสวยงามตาม ธรรมชาติของสีโลหะผสม และเงามันเป็นประกาย หลังจากน้ันช่างหล่อนาพระพุทธรูปที่ใช้ในการทดสอบ ไปหลอมคืนสภาพเป็นแท่งโลหะผสม เตรียมนาไปหล่อองค์จริงในพิธีเททองหล่อพระพุทธศาสดาประชานาถ ขนาดหน้าตัก ๒๐.๒๐ นิ้ว และขนาด ๑๐ นิ้ว ในวันท่ี ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ หากผู้มีจิตศรัทธานาทองคา มาสมทบเพ่ิมเติมในการหล่อจริง ยิ่งทาให้ส่วนผสมรวมตัวเข้าด้วยกันได้ดีกว่าน้ี องค์พระพุทธรูปจะมีสีทองอร่าม งดงามยิ่งขนึ้ (ภาพ) เนือ้ ทศโลหะทน่ี าไปแช่นา้ เพือ่ ให้แข็งตวั (ภาพ) ช่างหล่อและคณะทางานพิจารณาเนื้อทศโลหะ (ภาพ) ช่วงเททศโลหะท่เี หลือลงในพมิ พ์เพื่อใชเ้ ป็นชนวนการหลอ่ พระ ในวนั ที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ หน้า ๖๒ พระพุทธศาสดาประชานาถ

(ภาพ) เบา้ หลอ่ พระพุทธรูป ขนาดหนา้ ตัก ๑๐ นิ้ว ท่มี กี ารเททศโลหะ (ภาพ) พระพทุ ธศาสดาประชานาถ ขนาดหนา้ ตกั ๑๐ นิ้ว ท่เี ป็นองคท์ ดสอบ หน้า ๖๓ พระพุทธศาสดาประชานาถ

จากนั้นประมาณปลายเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๒ ผู้บัญชาการทหารอากาศได้มอบหมายให้ พล.อ.อ.นภาเดช ธปู ะเตมยี ์ ผบู้ ัญชาการกรมควบคมุ การปฏบิ ัติทางอากาศ เปน็ ผดู้ าเนนิ การ ในเบอื้ งตน้ ก็จะได้มี การจัดสร้างพระพุทธศาสดาประชานาถ องค์พระประธาน ขนาดหน้าตัก ๒๐.๒๐ น้ิว ทาด้วยเนื้อทศโลหะ อัญเชิญประดิษฐาน ณ จุดสูงสุดของประเทศไทย บริเวณยอดดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ทั้งน้ีจะจัดสร้าง เป็นพระพุทธศาสดาประชานาถ สาหรับบูชา ขนาดหน้าตัก ๑๐ นิ้ว อีกจานวน ๒,๐๒๐ องค์ (ตามเลขปีปฏิทิน สากล) รวมถึงจัดทาเหรียญที่ระลึก ๑๐๐ ปี พระบิดากองทัพอากาศ อีกจานวน ๔๐,๐๐๐ เหรียญ ซ่ึงด้านหน่ึงเป็น รูปองคพ์ ระพุทธศาสดาประชานาถ ส่วนอีกดา้ นเป็นพระฉายาลกั ษณ์พระบิดากองทัพอากาศ ในส่วนของแบบพระพุทธรูป ผบู้ ัญชาการทหารอากาศไดใ้ หแ้ นวทางถงึ วา่ ให้เปน็ ปางสมาธิ อันเปน็ ปาง ท่ีบ่งบอกถึงพระปัญญาธิคุณแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และประสงค์ให้พระพุทธรูปองค์น้ี ได้หลอมรวมความ เป็นไทยต้ังแต่อดีตจวบจนปัจจุบัน โดยผสมผสานศิลปะถึง ๔ ยุคสมัย ได้แก่ ล้านนา สุโขทัย อยุธยา และ รตั นโกสินทร์ ไว้อย่างสวยงาม การจัดสร้างคร้ังน้ี ได้รับความร่วมมือร่วมใจเป็นอย่างดีย่ิงจากกาลังพลของกองทัพอากาศที่ต้ัง หน่วยงานอยู่ท่ัวประเทศ ตั้งแต่เร่ิมโครงการ พระพุทธศาสดาประชานาถ ได้รับความเมตตาจากพระอริยสงฆ์ และเกจิอาจารย์ท่ีปฏิบัตดิ ีปฏิบตั ิชอบเป็นที่เคารพนับถือของพี่น้องประชาชนท่ัวประเทศกว่า ๔๐๐ รูป ร่วมกัน จารแผ่นทอง เงนิ นาก อธฐิ านจิตปลุกเสก และที่สาคัญ กองทัพอากาศได้รับพระกรุณาธิคุณจากสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ประทานนาม “พระพุทธศาสดาประชานาถ” แด่พระพุทธรูป ท่ีจัดสร้าง พร้อมประทานพระบรมสารีริกธาตุ แผ่นทอง เงิน นาก เพ่ือประกอบการจัดสร้างพระพุทธศาสดา ประชานาถใหม้ ีความศักดิ์สทิ ธ์ิ อกี ท้ังทรงรับเป็นประธานทีป่ รึกษาการจัดสร้าง(ฝ่ายสงฆ์) โดยมีสมเดจ็ พระราชาคณะ ทง้ั ๙ รูป ทรงรบั เป็นกรรมการท่ปี รกึ ษาการจัดสรา้ ง พระพทุ ธศาสดาประชานาถ องค์พระประธาน หลอมข้นึ จากเนื้อ “ทศโลหะ” ถอื เป็นพระพุทธรูปองค์แรก ที่เป็นทศโลหะ หรือโลหะ ๑๐ ชนิด และได้อัญเชิญประดิษฐานไว้ ณ จุดสูงสุดของประเทศไทย เพ่ือให้พ่ีน้อง ประชาชนได้ร่วมสักการบูชาเพื่อความเป็นสิริมงคล พระพุทธศาสดาประชานาถจึงเป็นพระพุทธรูปศักด์ิสิทธิ์ สาคัญ ที่กองทัพอากาศร่วมกับพ่ีน้องประชาชนชาวไทย ได้จัดสร้างข้ึนอย่างประณีตและมีความศักด์ิสิทธิ์ทุก ข้ันตอน มีพุทธศิลป์และพุทธลักษณะอันโดดเด่น ท่ีหลอมรวมความเป็นชาติไทย เป็นพระพุทธรูปเน้ือทศโลหะ องค์แรกของไทย โดยมีพิธีมหาพุทธาภิเษก ณ จุดสูงสุดของประเทศไทย ในวันท่ีสอง เดือนสอง ปีสองพันย่ีสิบ ซ่ึงเป็นวันท่ี ๑,๐๐๐ ปี จะมีครั้งเดียว และท้ายท่ีสุด จะอัญเชิญประดิษฐาน ณ จุดสูงสุดด้วย จึงนับได้ว่า เป็นพระพทุ ธรูปแหง่ พุทธศตวรรษท่ี ๒๖ องคห์ นง่ึ เลยทเี ดียว หน้า ๖๔ พระพุทธศาสดาประชานาถ

เป็นที่ทราบกนั วา่ การจดั สร้างพระพุทธรปู เนื้อทีน่ ยิ มทีส่ ุดคอื “เนื้อนวโลหะ” อนั ประกอบด้วยโลหะ ๙ ชนิด ได้แก่ ทองคา, เงิน, ทองแดง, สังกะสี, ดีบุก, ตะก่ัว, พลวง, จ้าวน้าเงิน และซิลิคอน ซ่ึงปัจจุบันต้องเรียนว่า จะหาพระพุทธรูปที่สร้างจากเนื้อนวโลหะสูตรโบราณจริงๆ ได้ยากมาก ถึงกระนั้นการจัดสร้างพระพุทธศาสดา ประชานาถ กองทัพอากาศ ได้ใช้โลหะ ๙ ชนิด ตามสูตรโบราณ และรวมกับไทเทเนียม อีก ๑ ชนิด จึงรวมเป็น “ทศโลหะ” โดยไทเทเนียมของกองทัพอากาศท่ีนามาผสมน้ัน นับเป็นโลหะที่สาคัญทางด้านภาคการบิน เป็นโลหะส่วนประกอบสาคัญของโครงสร้างอากาศยาน มีความแข็งแรง ทนทาน และจุดหลอมเหลวสูงมาก แต่สามารถท่ีจะหลอมรวมกับนวโลหะ ได้อย่างสมบูรณ์ และทุกข้ันตอนในกระบวนการหลอมทศโลหะ สัดส่วน โลหะต่าง ๆ ท่ีใช้ ได้ดาเนินการภายใต้คาแนะนาและการกากับดูแลของช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร จึงทาให้เป็น พระพทุ ธรูป เนอ้ื ทศโลหะ อนั เกิดจากโลหะ ๑๐ ชนิด อันเป็นเลขมงคลแห่งพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยรชั สมัยปจั จบุ ัน นอกจากจะจัดสร้างพระพุทธศาสดาประชานาถ องค์พระประธาน ขนาดหน้าตัก ๒๐.๒๐ น้ิว ประดิษฐาน ณ จุดสูงสุดของประเทศไทยแล้ว ยังได้จัดสร้างพระพุทธศาสดาประชานาถ ขนาดหน้าตัก ๑๐ น้ิว สาหรับบชู า จานวน ๒,๐๒๐ องค์ และเหรยี ญทร่ี ะลึกอกี ๔๐,๐๐๐ เหรียญ เป็นความตั้งใจท่ีจะจัดสร้างถวายเป็นพุทธบูชาแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และถวายเป็นพระกุศลแด่ พระบิดาแห่งกองทัพอากาศ และต้องการให้กาลังพลของกองทัพอากาศได้มีพระพุทธรูปศักด์ิสิทธิ์ที่เป่ียมด้วย พุทธคุณไว้กราบไหว้บูชา จึงได้เปิดให้กาลังพลของกองทัพอากาศได้มีโอกาสสั่งจองเป็นลาดับแรก ซึ่งได้รับการ ตอบรบั ทดี่ อี ย่างย่งิ และไดเ้ ปดิ ใหบ้ คุ คลทั่วไปไดส้ ง่ั จองบชู าในเวลาถัดมา การจัดสร้างพระบูชา ขนาดหน้าตัก ๑๐ นิ้ว มีลักษณะภายนอกท่ีแตกต่างกัน ๓ แบบ แบบแรกเป็น แบบลงรักปิดทอง จานวน ๑๕ องค์ มีหมายเลข ๑ ถงึ หมายเลข ๑๕ แบบทสี่ องเปน็ แบบขัดเงาจานวน ๕๐ องค์ มีหมายเลข ๑๖ ถึง หมายเลข ๖๕ และแบบทส่ี ามเปน็ แบบสีพาตินา(สีนา้ ผ้ึง) จานวน ๑,๙๕๕ องค์ มีหมายเลข ๖๖ ถึง หมายเลข ๒๐๒๐ ซึ่งแบบสีพาตินายังได้หล่อพระเกตุมาลาเป็นเน้ือทศโลหะนามาประดิษฐานบนองค์พระ กลุ่มทมี่ ีเลขสวย เลขมหามงคล และเลขฝงู บนิ อกี ด้วย รวมทั้ง ๓ แบบ เป็นพระทีใ่ หบ้ ูชาทั้งส้ิน ๒,๐๒๐ องค์ สาหรับการจัดสร้างเหรียญน้ัน ทางคณะกรรมการออกแบบและจัดสร้าง ได้ออกแบบเหรียญ ท่ีเป็นการรวมกันของท้ังพระพุทธและองค์เทพไว้ในเหรียญเดียวกัน เรียกว่าเป็นเหรียญสองด้าน ด้านพระพุทธ เป็นรูปพระพุทธศาสดาประชานาถ อยู่ตรงกลางเหรียญ มีอักษรคาว่า “พระพุทธศาสดาประชานาถ” และ ตัวเลข “๐๒๐๒๒๐๒๐” ด้านล่างของเหรียญ ด้านองค์เทพ เป็นพระฉายาลักษณ์ของจอมพล สมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ อยู่ตรงกลางเหรียญ มีตราปีก กองทัพอากาศอยู่บริเวณเหนือบ่าด้านขวา ด้านล่างมีตัวอักษรคาว่า “๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๓” และคาว่า “ที่ระลึก ๑๐๐ ปี พระบดิ ากองทัพอากาศ” บริเวณกึ่งกลางด้านล่างของเหรียญ แบบของเหรยี ญนี้ไดร้ ับการพิจารณาทั้ง ทางวรรณกรรมจากชา่ งสบิ หมู่ของกรมศิลปากร และสานักกษาปณเ์ ปน็ ผู้เขยี นแบบสดุ ทา้ ย ออกแบบอีกคร้ังหน่งึ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ หน้า ๖๕

การจัดสร้างเหรียญท่ีระลึกในคร้ังน้ี ได้รับพระบรมราชานุญาตให้จัดสร้างเหรียญท่ีระลึกเป็นจานวน ๔๐,๐๐๐ เหรยี ญ หลังจากนั้นสานักกษาปณ์จึงได้รบั แบบนาไปผลติ ให้ครบถว้ นตามวตั ถปุ ระสงค์ ๑. พระประธาน พระพทุ ธศาสดาประชานาถ เป็นพระพุทธรูปเนื้อทศโลหะ ขนาดหน้าตัก ๒๐.๒๐ น้ิว ปางสมาธิเพชรทรงเคร่ืองจักรพรรดิ พุทธ ลักษณะประกอบด้วยศิลปะ ๔ ยุคสมัย ได้แก่ ล้านนา สุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ พระพักตร์เป็นพุทธ ลักษณะแบบเชียงแสน พระวรกายเป็นพุทธลักษณะแบบสุโขทัย ทรงเคร่ืองจักรพรรดิเป็นพุทธลักษณะแบบ อยุธยา ฐานเป็นพุทธลักษณะแบบรัตนโกสนิ ทร์ ซง่ึ จะประดิษฐาน ณ หอพระพุทธศาสดาประชานาถ ซงึ่ ตงั้ อยู่ ในสถานีรายงานดอยอินทนนท์ เพื่อให้ผู้มีจิตศรัทธา ได้ร่วมบูชาความศักด์ิสิทธิ์ ณ จุดสูงสุดของประเทศ ผู้ศรัทธาก้าวผ่านสะพานบุญสู่สรวงสวรรค์นริ ันดร์ (ภาพ) พระพทุ ธศาสดาประชานาถ ๒. พระพุทธรปู บชู า พระพทุ ธศาสดาประชานาถ เปน็ พระพุทธรูปขนาดหนา้ ตัก ๑๐ น้วิ จานวน ๒,๐๒๐ องค์ (ตามเลขปปี ฏทิ นิ สากล) และลงหมายเลข เรยี งลาดบั ดังนี้ ๒.๑ แบบลงรกั ปิดทอง (หมายเลข ๑ – ๑๕) จานวน ๑๕ องค์ ๒.๒ แบบทองเหลอื งขัดเงา นาฤกษ์ (หมายเลข ๑๖ – ๖๕) จานวน ๕๐ องค์ ๒.๓ แบบสีพาตนิ า (สีนา้ ผึง้ ) (หมายเลข ๖๖ – ๒๐๒๐) จานวน ๑,๙๕๕ องค์ หน้า ๖๖ พระพุทธศาสดาประชานาถ

(ภาพ) พระพุทธศาสดาประชานาถ ขนาดหน้าตัก ๑๐ นิว้ ๓. เหรียญบูชา เป็นเหรยี ญรปู วงรี ขนาด ๓.๔ x ๒.๕ เซนตเิ มตร มีรายละเอียด ดังนี้ ดา้ นพระพุทธศาสดาประชานาถ - กลางเหรยี ญ มีรปู “พระพุทธศาสดาประชานาถ”ท่จี ดั สร้างขน้ึ จากมวลสารทศโลหะ จานวน ๑๐ ชนิด ประกอบดว้ ย ทองคา เงนิ ทองแดง สังกะสี ดบี กุ ตะกวั่ จ้าวน้าเงนิ พลวง ซลิ คิ อน และไทเทเนยี ม ทวีความศกั ดสิ์ ิทธดิ์ ้วยชนวนโลหะจากการเททองหลอ่ องค์พระของหน่วยงาน ภายในและภายนอกกองทพั อากาศ - เบื้องหน้า มีตัวเลข 02022020 ภายในวงขอบเหรียญ เป็นตัวเลขสะท้อนกลับ หมายถึง วันท่ี ๒ กมุ ภาพันธ์ ค.ศ.๒๐๒๐ ตามปฏทิ นิ สากล อนั เป็นวันเททองหล่อพระพุทธศาสดาประชานาถ - เบื้องล่าง มีข้อความวา่ “พระพุทธศาสดาประชานาถ” เป็นนามประทานโดย สมเด็จ พระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมพฺ โร) สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก พระสงั ฆราช องค์ท่ี ๒๐ แหง่ กรุงรตั นโกสนิ ทร์ ดา้ นพระฉายาลกั ษณ์ - กลางเหรยี ญ มีพระฉายาลักษณ์ของจอมพล สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจา้ ฟา้ จกั รพงษ์ภวู นารถ กรมหลวงพศิ ณุโลกประชานารถ ทรงฉลองพระองค์เครื่องแบบเตม็ ยศนายทหารมหาดเลก็ รกั ษา พระองค์ ทรงสายสร้อยแห่งขัตติยราชอสิ ริยาภรณ์ อันมีเกยี รตคิ ุณร่งุ เรอื งยิ่งมหาจกั รีบรมราชวงศ์ ประดับดาราจักรีทรงสายสะพาย และประดับดาราเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณอ์ ันเป็นโบราณมงคลนพรตั น ราชวราภรณ์ - เบื้องขวา มีเครื่องหมายราชการกองทัพอากาศ เปน็ รูปปีกนกกาง เหนือปีกนกตรงกลาง พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๖๗

มีพระมหาพชิ ยั มงกฎุ เปล่งรศั มคี ร่อมอุณาโลม ปีกมี ๒ ชน้ั ปกี ชนั้ นอกมีขนข้างละ ๙ ขน ปกี ชน้ั ใน มีขนข้างละ ๘ ขน สว่ นบนของปีกเปน็ แนวตรง๑ - เบอ้ื งลา่ ง มขี ้อความวา่ “๑๓ มถิ นุ ายน ๒๕๖๓ ทร่ี ะลกึ ๑๐๐ ปี พระบดิ ากองทัพอากาศ” ซ่ึงเปน็ วันครบรอบ ๑๐๐ ปี แห่งการทวิ งคต จอมพล สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจ้าฟา้ จักรพงษภ์ ูวนารถ กรมหลวงพศิ ณโุ ลกประชานารถ อยภู่ ายในวงเหรียญ ทัง้ นี้ เหรยี ญแตล่ ะเหรียญระบุหมายเลขประจาเหรยี ญผา่ นการยิงเลเซอร์ (ภาพ) เหรียญพระพทุ ธศาสดาประชานาถ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดสร้างเหรียญท่ีระลึก พระพุทธศาสดาประชานาถ จานวน ๔๐,๐๐๐ เหรียญ ทั้งน้ี ได้ผ่านการพิจารณาจากกองช่างสิบหมู่ กรมศลิ ปากร และไดร้ ับการออกแบบโดย สานกั กษาปณ์ กรมธนารกั ษ์ กระทรวงการคลัง ดังนี้ ๓.๑ เหรยี ญทองคา จานวน ๒๐ เหรยี ญ ๓.๒ เหรยี ญเงิน จานวน ๒๐๐ เหรียญ ๓.๓ เหรยี ญทศโลหะ ที่ประกอบด้วยมวลสาร ๑๐ ชนิด จานวน ๑๐,๐๐๐ เหรยี ญ ๓.๔ เหรยี ญทองแดงรมซาตนิ จานวน ๑๒,๗๘๐ เหรียญ ๓.๕ เหรยี ญทองแดงผวิ ไฟ จานวน ๕,๐๐๐ เหรยี ญ ๓.๖ เหรยี ญทองแดงผวิ ไฟ ตอกรหสั “ในฤกษ”์ จานวน ๕๐๐ เหรียญ ๓.๗ เหรียญทองแดงผวิ ไฟ ไม่ตัดปีก จานวน ๕๐๐ เหรยี ญ ๓.๘ เหรยี ญทองแดงรมซาตินและพน่ ทรายพิเศษ จานวน ๑,๐๐๐ เหรยี ญ ๓.๙ เหรียญทองเหลืองปลอกกระสนุ จานวน ๑๐,๐๐๐ เหรียญ ๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๑๑ ตอนพเิ ศษ ๓๒ ง วนั ที่ ๕ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ หน้า ๘ หน้า ๖๘ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ

(ภาพ) เหรยี ญพระพทุ ธศาสดาประชานาถ หน้า ๖๙ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ

ลำดบั ชอ่ื วัด ชอื่ พระอำจำรย์ สมณศักดิ/์ หน่วยผขู้ อ ๑ วดั ราชบพิธสถิตมหาสมี ารามราชวรวหิ าร กทม. ๒ วัดปากนา้ ภาษเี จริญ กทม. สมเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ (อมพฺ รมหาเถร) สมเดจ็ พระสงั หราช ๒ วัดบวรนเิ วศวิหาร กทม. สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก ๔ วดั เทพศริ นิ ทราวาสวรวหิ าร กทม. ๕ วัดไตรมิตรวิทยารามวรวหิ าร กทม. สมเดจ็ พระมหารัชมงั คลาจารย์ สมเด็จพระราชาคณะ ๖ วัดญาณเวศกวนั อ.สามพราน จ.นครปฐม (ช่วง วรปุญฺโญ) ๗ วัดยานนาวา กทม. ๘ วัดโสมนสั ราชวรวิหาร กทม. สมเด็จพระวนั รตั สมเด็จพระราชาคณะ ๙ วัดราชบพธิ สถติ มหาสมี ารามราชวรวหิ าร กทม. (จนุ ท์ พรหฺ มฺคุตฺโต) ๑๐ วดั ไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร กทม. ๑๑ วดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร กทม. สมเด็จพระธรี ญาณมุนี สมเดจ็ พระราชาคณะ ๑๒ วัดปากน้า ภาษเี จริญ กทม. (สมชาย วรชาโย) ๑๓ วัดปากน้า ภาษีเจรญิ กทม. ๑๔ วดั ประยรุ วงศาวาส กทม. สมเด็จพระพุฒาจารย์ สมเดจ็ พระราชาคณะ (สนทิ ชวนปญโฺ ญ) สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ สมเด็จพระราชาคณะ (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต) สมเด็จพระมหาธรี าจารย์ สมเดจ็ พระราชาคณะ (ประสทิ ธิ์ เขมงฺกโร) สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ สมเดจ็ พระราชาคณะ (พิจติ ร ฐติ วณโฺ ณ) สมเด็จพระมหาวรี วงศ์ สมเดจ็ พระราชาคณะ (สุชิน อคคฺ ชิโน) สมเด็จพระมหารชั มงคลมุนี สมเด็จพระราชาคณะ (ธงชัย ธมฺมธโช) พระมหาโพธิวงศาจารย์ พระราชาคณะเจ้าคณะรอง (ทองดี สรุ เตโช) พระวิสุทธิวงศาจารย์ พระราชาคณะเจ้าคณะรอง (วเิ ชียร อโนมคุโณ) พระพรหมโมลี พระราชาคณะเจา้ คณะรอง (สุชาติ ธมฺมรตโน) พระพรหมบณั ฑติ พระราชาคณะเจ้าคณะรอง (ประยรู ธมมฺ จติ โฺ ต) หน้า ๗๐ พระพุทธศาสดาประชานาถ

ลำดบั ชือ่ วดั ช่ือพระอำจำรย์ สมณศักด/ิ์ หน่วยผู้ขอ ๑๕ วัดเครือวลั ย์ กทม. พระราชาคณะเจ้าคณะรอง พระพรหมวสิ ุทธาจารย์ พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ๑๖ วดั ปทุมคงคา กทม. (มนตรี คณิสสฺ โร) พระราชาคณะเจา้ คณะรอง พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ๑๗ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวหิ าร กทม. พระพรหมเสนาบดี พระราชาคณะชันธรรม (พมิ พ์ ญาณวโี ร) พระราชาคณะชันธรรม ๑๘ วดั พระศรมี หาธาตุวรมหาวหิ าร กทม. พระราชาคณะชันธรรม พระสุทธาธบิ ดี พระราชาคณะชันธรรม ๑๙ วดั ราชประดษิ ฐสถิตมหาสมี ารามราชวรวิหาร (เชิด จติ ตฺ คุตโฺ ต) พระราชาคณะชันธรรม กทม. พระราชาคณะชนั ธรรม พระพรหมมุนี พระราชาคณะชันธรรม ๒๐ วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร กทม. (บญุ เรือง ปญุ ฺญโชโต) กรมควบคุมการปฏิบตั ิ ๒๑ วัดพระราม ๙ กาญจนาภเิ ษก กทม. พระธรรมไตรโลกาจารย์ ทางอากาศ (พูนศักดิ์ วรภทฺทโก) บน.๑ ๒๒ วัดบพติ รพมิ ุขวรวหิ าร กทม. บน.๑ พระธรรมธัชมุนี บน.๑ ๒๓ วัดราชผาติการามวรวหิ าร กทม. (อมร ญาโณทโย) หน้า ๗๑ ๒๔ วัดราชาธวิ าสราชวรวหิ าร กทม. พระธรรมบณั ฑิต (อภพิ ล อภพิ โล) ๒๕ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวหิ าร กทม. พระธรรมปริยตั โิ มลี ๒๖ วัดมฤคทายวนั (ดงแขม) อ.สระใคร จ.หนองคาย (อาทร อนิ ทฺ ปญโฺ ญ) ๒๗ วดั สุทธจนิ ดาวรวหิ าร อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า พระธรรมปาโมกข์ (สนุ ทร สนุ ฺทราโภ) ๒๘ วัดพระนารายณ์มหาราช อ.เมือง จ.นครราชสีมา พระธรรมกิตตเิ มธี ๒๙ วัดบงึ พระอารามหลวง อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า (เกษม สญฺญโต) พระธรรมรตั นดลิ ก (สมเกียรติ โกวีโท) พระครอู ภยั ธรรมรกั ขิต (เชดิ ศักด์ิ โชติปาโล) พระสาสนโสภณ (โกศล สริ นิ ธฺ โร) พระธรรมวรนายก (โอภาส นริ ตุ ฺติเมธี) พระเทพสมี าภรณ์ (วันชยั กนตฺ จาร)ี พระพุทธศาสดาประชานาถ

ลำดบั ชอ่ื วดั ชื่อพระอำจำรย์ สมณศกั ด์ิ/หน่วยผขู้ อ ๓๐ วัดโพธิ์นมิ ิตร อ.เมือง จ.นครราชสมี า บน.๑ พระกติ ตริ ามมุนี ๓๑ วดั โพธ์ิ อ.เมอื ง จ.นครราชสีมา (สนทิ อคฺคจติ โฺ ต) บน.๑ ๓๒ วดั สะแก พระอารามหลวง พระครปู ริยัติอมรธรรม บน.๑ อ.เมือง จ.นครราชสมี า (แช่ม อมรธมโฺ ม) บน.๑ ๓๓ วัดประมวลราษฎร์ อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า พระโสภณปรยิ ตั ิวิธาน บน.๒ (สนัน่ รตนโชโต) บน.๒ ๓๔ วดั โคกหม้อ อ.เมือง จ.ลพบุรี บน.๒ ๓๕ วัดโนนหวั ชา้ ง อ.เมือง จ.ลพบุรี พระครสู นุ ทรคณุ วัตร (หลวงพ่อทวี ปญฺญาธโร) บน.๒ ๓๖ วัดดงน้อย อ.เมอื ง จ.ลพบุรี บน.๒ หลวงพอ่ พเิ ชฐ สลี สทุ โฺ ธ บน.๒ ๓๗ วดั เขาลงั พัฒนา อ.โคกสา้ โรง จ.ลพบรุ ี พระครูกติ ติคณุ วิสุทธ์ิ บน.๒ ๓๘ วดั เขาแรก่ ายสิทธิ์ อ.โคกสา้ โรง จ.ลพบรุ ี บน.๔ ๓๙ วัดเขาพระ อ.พฒั นานิคม จ.ลพบรุ ี พระครูจันทศริ ธิ ร บน.๔ ๔๐ วดั นนทรยี ์ อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา (หลวงพ่อสารนั ต์ จนทฺ ูปโม) บน.๔ ๔๑ วดั ธรรมโสภณ อ.ตากฟ้า จ.นครสวรรค์ บน.๔ ๔๒ วัดจันเสน อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ พระครสู นุ ทรปรชี ากจิ ๔๓ วดั โคกเจริญ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ (พระอาจารยแ์ ดง) บน.๔ ๔๔ วดั สวา่ งวงษ์ คณะกจิ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ พระอธกิ ารมหาชัย ปุณณฌาโณ บน.๔ ๔๕ วัดหนองโพ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ พระครพู ิพัฒน์กติ ตสิ าร บน.๔ ๔๖ วัดหนองสนี วล อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ (หลวงพ่อสวง กิตติสาโร) ๔๗ วัดหนองแอก อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ พระครวู ิจติ รการโกศล หลวงพ่อลือ พระครนู วิ ิฐธรรมขันธ์ (หลวงพอ่ เจรญิ มุนจิ ารี) หลวงปู่วัน ฐิตโิ ก พระครูนิพัทธ์สธุ รี าภรณ์ (หลวงพ่อนงค์ สธุ โี ร) พระครูนิปณุ พัฒนวงศ์ (สมพงษ์ ทนตฺ จิตฺโต) พระครูนิทัศน์กิจจาทร (หล่องพอ่ วันชยั กมฺมสุทโธ) พระครูนริ ตั นตรวงศ์ (หลวงพ่อสมชาย รวิวโ้ ส) หน้า ๗๒ พระพุทธศาสดาประชานาถ

ลำดบั ชือ่ วดั ชอ่ื พระอำจำรย์ สมณศกั ด์/ิ หนว่ ยผขู้ อ บน.๔ ๔๘ วัดหวั ตลกุ วนารม (วัดป่าหัวตลุก) หลวงปลู่ ี ตาณงั กะโร อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์ บน.๔ พระครสู จุ ิตตสงั วรคณุ ๔๙ วดั ป่าสัก อ.มโนรมย์ จ.ชยั นาท (หลวงพ่อกา้ จัด สจุ ติ โฺ ต) บน.๕ ๕๐ วัดคลองวาฬ พระอารามหลวง พระเดชพระคุณพระเทพสทิ ธวิ ิมล บน.๕ อ.เมอื ง จ.ประจวบครี ีขันธ์ (ละเอยี ด สทุ นฺโต) บน.๕ ๕๑ วดั ธรรมกิ ารามวรวหิ าร พระเดชพระคณุ พระราชสุทธิโมลี บน.๕ อ.เมอื ง จ.ประจวบครี ขี ันธ์ (สทุ ิน กโตภาโส) บน.๕ บน.๕ ๕๒ วดั เกาะหลกั พระอารามหลวง พระเดชพระคุณพระเมธคี ณุ าภรณ์ อ.เมอื ง จ.ประจวบครี ขี นั ธ์ (อุดม สริ ิวณโฺ ณ) บน.๖ บน.๖ ๕๓ วัดหนองพังพวย อ.เมอื ง จ.ประจวบครี ขี ันธ์ พระอธิการประสาร ปิยสาโร บน.๖ ๕๔ วัดนคิ มคณาราม อ.เมือง จ.ประจวบครี ขี ันธ์ พระครปู ลดั สนอง พลญาโณ คณก.จดั สรา้ งพระพุทธ ศาสดาประชานาถ ๕๕ วดั เขาหัวกระโหลก อ.ปราณบุรี พระครสู ุมนธรรมสถิต บน.๗ จ.ประจวบครี ีขันธ์ (หลวงพอ่ โส) บน.๗ ๕๖ วัดดอนเมือง กทม. พระครูนิวิฐวรการ (เกษม ธมฺมรโต) บน.๗ ๕๘ วดั ดาวดงึ ษาราม กทม. พระมหาอสิ ระ ญาณสิ สโร พระราชพัฒนากร บน.๗ ๕๙ วัดปรวิ าสราชสงคราม กทม. (หลวงพ่อสมชาย) ๖๐ วดั น้อยนางหงษ์ กทม. หลวงปู่บญุ รอด ๖๑ วดั ธรรมบชู า อ.เมือง จ.สุราษฎรธ์ านี พระราชไพศาลมุนี (ปราโมทย์ สริ จิ นโฺ ท) ๖๒ วัดบางกล้วย อ.เมือง จ.สรุ าษฎร์ธานี พระครโู สภณจติ ตสนุ ทร ๖๓ วัดเกษมบ้ารุง (วดั ขนาย) (พอ่ ทา่ นพล) อ.พนุ พนิ จ.สุราษฎรธ์ านี พระครเู กษมจิตตาภริ ักษ์ ๖๔ วดั น้ารอบ อ.พนุ พนิ จ.สรุ าษฎร์ธานี (หลวงพอ่ ลา้ น) พระครูอนภุ าสวุฒิคณุ (พ่อท่านกระจ่าง อนภุ าโส) พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๗๓

ลำดับ ชอ่ื วดั ชื่อพระอำจำรย์ สมณศักด์ิ/หน่วยผขู้ อ พระครสู คุ นธรรม บน.๗ ๖๕ วัดจนั ทาวาส อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สรุ าษฎรธ์ านี (หลวงพอ่ คลา้ ย คนฺธสธุ มโฺ ม) บน.๗ ๖๖ วัดพระบรมธาตไุ ชยา ราชวรวหิ าร พระอดุ มธรรมปรีชา บน.๗ อ.ไชยา จ.สรุ าษฎรธ์ านี (จา้ ลอง ธมฺมสิ โร) บน.๗ บน.๗ ๖๗ วดั พระบรมธาตไุ ชยา ราชวรวหิ าร พระครมู หาเจติยารักษ์ อ.ไชยา จ.สรุ าษฎร์ธานี บน.๗ พระอาจารยเ์ ชียร ธัมมโชโต ๖๘ วดั ถ้าศรเี มอื ง อ.ครี รี ฐั นคิ ม จ.สรุ าษฎรธ์ านี บน.๗ พระมงคลทปี าจารย์ ๖๙ วดั แจง้ อ.เกาะสมุย จ.สรุ าษฎรธ์ านี (จ้ารัส เขมธมั โม) บน.๗ ๗๐ วดั เจดีย์แหลมสอ อ.เกาะสมยุ จ.สรุ าษฎรธ์ านี พระครูถริ บญุ ญากร บน.๗ (สถติ ถริ ปุญโญ) ๗๑ วดั พระมหาธาตุวรมหาวิหาร บน.๗ อ.เมอื ง จ.นครศรีธรรมาราช พระเทพวินยาภรณ์ (หลวงพ่อสมปอง ปณณฺ าทโี ป) บน.๗ ๗๒ วดั ท่ามว่ ง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช บน.๗ พระครูพศิ าลวิหารวตั ร บน.๗ ๗๓ วัดแดง อ.เชยี รใหญ่ จ.นครศรีธรรมาราช (พ่อท่านบญุ ให้ ปทุโม) บน.๗ ๗๔ วดั หรงบน อ.ปากพนงั จ.นครศรธี รรมาราช พระครูปญั ญาธรานุวตั ร บน.๗ (พ่อท่านเคลา้ ปญฺญาธโร) บน.๗ ๗๕ วดั ประชาสนั ติ อ.เมือง จ.พงั งา บน.๗ ๗๖ วดั เจรญิ สมณกจิ (วดั หลงั ศาล) อ.เมอื ง จ.ภเู ก็ต พระครูพทิ ักษ์อินทมุนี ๗๗ วัดธรรมถาวร อ.ทงุ่ ตะโก จ.ชมุ พร (พระอาจารยส์ มนกึ ฉนทฺ ธฺมโม) ๗๘ วดั พทุ ธาราม อ.สวี จ.ชมุ พร พระครโู พธธิ รรมประภาส (พระอาจารยเ์ ชอื น ปภัสสโร) ๗๙ วดั บ้านหงาว อ.เมอื ง จ.ระนอง พระอาจารยจ์ า้ รสั จันทโชโต ๘๐ วัดประสิทธิส์ ามคั คี อ.สวา่ งแดนดนิ จ.สกลนคร ๘๑ วัดปา่ สิริธโรภาวนา อ.วังนา้ เขียว จ.นครราชสมี า พระมุนสี ารโสภณ (บุญเกยี รติ กลุ โสภโณ) พระครภู าวนาสทิ ธจิ ารย์ (หลวงพอ่ นวล อคควฺ ณโณ) พระครปู ระจักษส์ ตุ สาร พระอาจารย์จนั ที โอภาโส พระอาจารย์วิสทิ ธ์ิ สันติงกโร หน้า ๗๔ พระพุทธศาสดาประชานาถ

ลำดบั ชือ่ วดั ช่อื พระอำจำรย์ สมณศักด์/ิ หน่วยผขู้ อ บน.๒๑ ๘๒ วัดกุดคูน อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี พระครสู ารธรรมประคณุ (รอด ธมมฺ ทินโน) บน.๒๑ ๘๓ วัดมหาวนาราม พระอารามหลวง พระครสู ารกิจโกศล อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี (สุดใจ นสิ ฺโสโก) บน.๒๑ บน.๒๑ ๘๔ วัดศรีอบุ ลรัตนราม พระอารามหลวง พระราชธรรมสธุ ี บน.๒๑ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี บน.๒๑ พระครูอุดมธรรมวสิ ิฐ บน.๒๓ ๘๕ วดั บรูพา อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี พระครูวลิ าสกจิ จาทร (หลวงพ่อบัวสอน โอภาโส) บน.๒๓ ๘๖ วดั หลวง อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี พระครสู ุขุมวรรโณภาส บน.๒๓ ๘๗ วดั วังอ้อ อ.เขอ่ื งใน จ.อบุ ลราชธานี พระครอู ุดรปัญญาคณุ บน.๒๓ (หลวงพ่อสุพจน์ อตถฺ กาโม) บน.๒๓ ๘๘ วัดศรีเมืองทอง อ.เมอื ง จ.อดุ รธานี บน.๔๑ พระครูศาสนปู กรณ์ บน.๔๑ ๘๙ วัดโยธานิมติ ร อ.เมือง จ.อดุ รธานี (หลวงตาจุมจี) บน.๔๑ บน.๔๑ ๙๐ วดั นิมิตโพธญิ าณ อ.เพญ็ จ.อดุ รธานี พระครูใบฎีกากฤษณ์ กิตตฺ ญิ าโณ บน.๔๑ (พระอารยต์ ยุ๋ ) บน.๔๑ ๙๑ วัดป่าหนองแซง อ.หนองววั ซอ จ.อุดรธานี บน.๔๑ หลวงปู่เสน ปญั ญาธโร ๙๒ วัดโนนสวา่ ง อ.หนองวัวซอ จ.อดุ รธานี บน.๔๑ พระครพู พิ ฒั นว์ ทิ ยาคม ๙๓ วดั กูเ่ ตา้ อ.เมอื ง จ.เชยี งใหม่ (หลวงพอ่ เจรญิ ฐานยตุ โฺ ต) ๙๔ วดั ดอนจน่ั อ.เมอื ง จ.เชยี งใหม่ ๙๕ วัดเทพนิมติ อ.เมอื ง จ.เชยี งใหม่ พระครปู ภสั ร์ธมั มรังษี ๙๖ วดั เจ็ดยอด อ.เมือง จ.เชียงใหม่ พระปชานาถมุนี พระเทพวสิ ทุ ธญิ าณ ๙๗ วดั พทุ ธพรหมปัญโญ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ พระเทพปริยตั ๙๘ วัดปา่ ดาราภิรมย์ อ.แมร่ ิม จ.เชยี งใหม่ พระอาจารยว์ รคต วริ ิยธโร (หลวงตาม้า) ๙๙ วัดศรดี อนมลู อ.สารภี จ.เชียงใหม่ พระราชวิสุทธญิ าณ ๑๐๐ วัดพระธาตศุ รจี อมทองวรวิหาร พระครสู ริ ิศลี สงั วร อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ (ครบู าน้อย) พระพรหมมงคล (หลวงปู่ทอง สิริมงคฺ โล) พระพทุ ธศาสดาประชานาถ หน้า ๗๕

ลำดบั ช่อื วดั ชื่อพระอำจำรย์ สมณศักด/ิ์ หนว่ ยผขู้ อ บน.๔๑ ๑๐๑ วดั เทพนิมติ สดุ เขตแดนสยาม พระธรรมวิสทุ ธิญาณ บน.๔๑ อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย บน.๔๖ พระครูบาฏฤษดา บน.๔๖ ๑๐๒ วดั สนั พระเจ้าแดง (ปา่ ยาง) อ.บา้ นธิ จ.ล้าพนู พระเดชพระคณุ พระราชธรรมคณี บน.๔๖ บน.๔๖ ๑๐๓ วัดศรีรตั นาราม (วดั จงู นาง) อ.เมอื ง จ.พิษณุโลก พระเดชพระคุณพระรตั นโมลี บน.๔๖ (หลวงพ่อไพรนิ ทร์) บน.๔๖ ๑๐๔ วดั พระศรีรตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร (วดั ใหญ)่ บน.๔๖ อ. เมอื ง จ.พษิ ณโุ ลก พระเดชพระคณุ พระอาจารยอ์ บุ าลี อตโุ ล บน.๕๖ พระครูประภสั สรสนั ตคิ ณุ ๑๐๕ วดั จันทร์ตะวนั ตก อ.เมือง จ.พิษณโุ ลก พระครโู กวทิ พฒั นาทร บน.๕๖ (หลวงพอ่ แดง) ๑๐๖ วัดจนั ทรต์ ะวันตก อ.เมอื ง จ.พิษณโุ ลก บน.๕๖ พระโรจนศกั ดิ์ เพชรทองทวีคณู ๑๐๗ วัดบางทราย อ.เมือง จ.พษิ ณโุ ลก ไมป่ ระสงคอ์ อกนาม บน.๕๖ บน.๕๖ ๑๐๘ วัดเมมสวุ รรณาราม อ.พรหมพิราม จ.พษิ ณุโลก พระครโู สภณคณาภบิ าล สร.ภส. ๑๐๙ พระกรรมฐานสายวดั ป่า จ.เลย (กลอ่ ม ปญฺญาคโม) สร.ภข. สร.ภข. ๑๑๐ วัดโคกเหรยี ง อ.คลองหอยโข่ง จ.สงขลา พระครปู ญุ ญาพิศาล สร.ภข. (วชิ าญชัย กตปุญฺโญ) สร.ภข. ๑๑๑ วัดพะโค อ.สทงิ พระ จ.สงขลา สร.ภข. พระครสู ทิ ธิสุตากร สร.ภข. ๑๑๒ วัดเลียบ อ.คลองหอยโข่ง จ.สงขลา (สเุ มธ สิทธฺ เิ มธ)ี ๑๑๓ วดั บางศาลา อ.คลองหอยโขง่ จ.สงขลา พระครสู ภุ ทั รธรรมรส (โชคชัย สภุ ทโฺ ท) ๑๑๔ ส้านักสงฆส์ จั ธรรมบ้านในไร่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา พระมหาจรญู ขนฺติพโล ๑๑๕ ส้านักสงฆป์ ่าชา้ บา้ นโพนสมิ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี พระครสู ถติ ปญุ ญานวุ ัฒน์ (หลวงปู่เขยี น ปุญญกาโม) ๑๑๖ วดั เทพกญั ญาราม อ.เมอื ง จ.สกลนคร หลวงปสู่ ุธัมม์ ธมั มาปาโล หลวงปู่สูนย์ จันทวณั โณ ๑๑๗ วดั ปา่ อสิ ระธรรม อ.อากาศอ้านวย จ.สกลนคร หลวงปูแ่ สวง สมุ ังคะโล พระอาจารยถ์ าวร มหาวโี ร ๑๑๘ วดั เขาถ้าพระ อ.กดุ บาก จ.สกลนคร หลวงปู่อวา้ น เขมโก ๑๑๙ วัดปา่ ถ้าโพรง อ.กดุ บาก จ.สกลนคร พระอาจารย์เจนยทุ ธนา จริ ยุทธโธ ๑๒๐ วัดปา่ นาคนมิ ิตต์ อ.โคกศรสี พุ รรณ จ.สกลนคร (หลวงป่ภู ูพาน) ๑๒๑ วัดโนนสวรรค์ อ.เมอื ง จ.เพชรบรู ณ์ หน้า ๗๖ พระพุทธศาสดาประชานาถ

ลำดบั ชอ่ื วัด ชอื่ พระอำจำรย์ สมณศักด์/ิ หน่วยผขู้ อ ๑๒๒ วัดละหารไร่ อ.บา้ นค่าย จ.ระยอง พระครูวจิ ติ รธรรมาภริ ตั สร.บพ. ๑๒๓ วัดละหารใหญ่ อ.บา้ นคา่ ย จ.ระยอง (หลวงพ่อเชย) สร.บพ. สร.ภม. ๑๒๔ วดั วงั ทอง อ.เมอื ง จ.เพชรบูรณ์ พระครสู ภุ ัททาจารคณุ สร.ภม. ๑๒๕ วดั ปา่ ภูทบั เบกิ อ.หล่มเกา่ จ.เพชรบรู ณ์ (หลวงพอ่ สนิ ) สร.กจ. หลวงพอ่ บญุ ชว่ ย ๑๒๖ วัดวังกระแจะ อ.ไทรโยค จ.กาญจนบรุ ี สร.หญ. พระอาจารยว์ ชั ระ วิจิตโต ๑๒๗ วดั แจ้ง อ.เมือง จ.พทั ลงุ พระครอู ดลุ พริ ยิ านุวตั ร สร.หญ. (หลวงพ่อชุบ ปญั ญาวุโธ) ๑๒๘ วดั โคกแยม้ อ.เมือง จ.พัทลงุ สร.หญ. พระครสู ิทธิการโสภณ ๑๒๙ วดั วหิ ารสูง อ.เมอื ง จ.พัทลุง (พ่อท่านผอ่ ง ฐานุตตฺ โม) สร.หญ. ๑๓๐ วดั บ้านสวน อ.ควนขนุน จ.พทั ลุง พระครพู สิ ฐิ ธรรมคณุ สร.หญ. (พอ่ ทา่ นละเอยี ด ครุธมโฺ ม) สร.ขร. ๑๓๑ วดั ทุ่งนารี อ.ปา่ บอน จ.พทั ลุง สร.ขร. พระครวู ัชรวิหารคณุ รร.การบิน ๑๓๒ วัดโคกกรม อ.พนมดงรัก จ.สรุ นิ ทร์ (หลวงพอ่ อทุ ัย อุทโย) รร.การบนิ รร.การบนิ ๑๓๓ วัดพัฒนาธรรมาราม (บา้ นดา่ น-ช่องจอม) พระครขู นั ตยาภรณ์ อ.กาบเชงิ จ.สรุ ินทร์ (พอ่ ท่านพรหม ขนฺติโก) รร.การบนิ ๑๓๔ วดั ไทยาวาส อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม พระครสู ังวรธรรมจารี รร.การบิน (พ่อท่านผล อสสฺ โร) ๑๓๕ วัดรางหมัน (วดั ประชาราษฎร์บา้ รงุ ) พระครอู าภสั รธ์ รรมคณุ หน้า ๗๗ อ.ก้าแพงแสน จ.นครปฐม หลวงปู่เฮง ปภาโส ๑๓๖ วัดห้วยมว่ ง อ.กา้ แพงแสน จ.นครปฐม พระครสู ังวรสาธวุ ตั ร ๑๓๗ วดั โพธง์ิ าม อ.กา้ แพงแสน จ.นครปฐม หลวงปแู่ ผ้ว ปวโร ๑๓๘ วัดไผร่ ่ืนรมย์ อ.ก้าแพงแสน จ.นครปฐม พระครูวสิ ุทธ์ิธีรคณุ (ธีระ จติ ตวสิ ทุ ธ)ิ พระครูอาทรภทั รกจิ (เกอิ กลู ขทุ ทฺ โก) พระครูวิมลชัยสทิ ธิ (หลวงพ่อล้อม ชยธมโฺ ม) พระพทุ ธศาสดาประชานาถ

ลำดบั ชื่อวดั ช่ือพระอำจำรย์ สมณศักด/์ิ หนว่ ยผู้ขอ หลวงพอ่ เขียว ฉก.๙ ๑๓๙ วัดห้วยเงาะ อ.โคกโพธ์ิ จ.ปตั ตานี พ่อท่านหยวน ฉก.๙ พ่อทา่ นจ่าง ฉก.๙ ๑๔๐ วัดช้างไห้ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี พ่อทา่ นเพง็ ฉก.๙ พอ่ ทา่ นพล ฉก.๙ ๑๔๑ วัดศรมี หาโพธ์ิ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี หลวงพอ่ จวน ฉก.๙ พ่อท่านซ่นุ ฉก.๙ ๑๔๒ วัดทรายขาว อ.โคกโพธ์ิ จ.ปตั ตานี พระอาจารย์ ปิตพิ งศ์ ฉก.๙ พระอาจารยป์ ระสูติ ฉก.๙ ๑๔๓ วดั นาประดู่ อ.โคกโพธ์ิ จ.ปตั ตานี พระอธกิ าร สนุ ทร ฐานวโร พระครไู พโรจน์สารคุณ (สุเทพ) สถทค.บา้ นลาดชา้ ง ๑๔๔ วดั ยางแดง อ.โคกโพธ์ิ จ.ปตั ตานี พระอธิการบุญสง่ จนทฺ ปญุ ฺโญ สถทค.บา้ นลาดชา้ ง พระอธิการสนุ ทร ฐานวโร สถทค.บ้านลาดช้าง ๑๔๕ วัดเกาะหวาย อ.ยะรัง จ.ปตั ตานี พระครวู ินัยธร วริ ัตน์ ปยิ ธมโฺ ม สถทค.บ้านลาดชา้ ง พระสธุ ีปรยิ ัตยาภรณ์ (พรอ้ ม กนฺตสีโล ป.ธ.๗) ศทค.ชัน ๒ จนั ทบุรี ๑๔๖ สา้ นกั สงฆเ์ วยี งป่าโป อ.เมอื ง จ.สงขลา พระครพู ิพัฒน์วิหารกจิ ศทค.ชัน ๒ จันทบุรี สถทค.เขาชะเมา ๑๔๗ วัดในเตา อ.ห้วยยอด จ.ตรงั พระปลดั นคร ทปี ะธรรมมะนครินทน์โท สถทค.เขาชะเมา ๑๔๘ วัดสทุ ธาวาส อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทมุ ธานี หลวงพอ่ ออ่ ง ถาวโร พระอาจารย์อรรณพ กนฺตสโี ร สถทค.เขาชะเมา ๑๔๙ วัดลา้ มหาเมฆ อ.ลาดหลมุ แกว้ จ.ปทมุ ธานี (หลวงพอ่ เลก็ ) สถทค.เพชรบุรี ๑๕๐ วดั ลาดหลุมแกว้ อ.ลาดหลุมแกว้ จ.ปทุมธานี พระครสู นุ ทรวชั รกิจ สถทค.เพชรบุรี ๑๕๑ วดั สทุ ธาวาส อ.ลาดหลมุ แก้ว จ.ปทุมธานี (หลวงพ่อแดง) สถทค.ภเู ขาเขยี ว ๑๕๒ วดั ใหมท่ า่ แฉลบ อ.เมือง จ.จันทยุรี พระอาจารย์รงั ษี ธิตวริ โิ ย สถทค.ภเู ขาเขียว ๑๕๓ วัดพลับ อ.เมอื ง จ.จันทบรุ ี พระครูทิพยธรรมมาภร (ไสว สธุ ีโร) สถทค.ภเู ขาเขยี ว ๑๕๔ วัดหนองสรอ้ ย อ.แก่งหางแมว จ.จันทบุรี พระครูปลัดทองอินทร์ สถทค.ภูผาเหล็ก ๑๕๕ วดั เนินจ้าปาราษฎรบ์ า้ รงุ อ.แกง่ หางแมว พระครอู ดุ มญาณโสภณ จ.จันทบุรี (หลวงปู่หลอ นาถกโร) ๑๕๖ วัดเขาวงกต อ.แก่งหางแมง จ.จนั ทบรุ ี ๑๕๗ วัดถ้าเขา้ น้อยเกสโร อ.บ้านลาด จ.เพชรบรุ ี ๑๕๘ วดั ถ้ารงค์ อ.บ้านลาด จ.เพชรบรุ ี ๑๕๙ วดั ผานา้ ทพิ ยเ์ ทพประสิทธิ์วนาราม (ผาน้าย้อย) อ.หนองพอก จ.ร้อยเอด็ ๑๖๐ วดั ผาพยอม อ.หนองสงู จ.มุกดาหาร ๑๖๑ วัดเจดีย์ชยั มงคล อ.หนองพอก จ.รอ้ ยเอด็ ๑๖๒ วัดถา้ อภัยดา้ รงธรรม (วัดถ้ามว่ ง) อ.สอ่ งดาว จ.สกลนคร หน้า ๗๘ พระพุทธศาสดาประชานาถ

ลำดับ ชื่อวดั ชอ่ื พระอำจำรย์ สมณศกั ด/์ิ หน่วยผู้ขอ สถทค.ภผู าเหล็ก ๑๖๓ วดั โชติการราม อ.สอ่ งดาว จ.สกลนคร พระครูวรกจิ ธรรมโกศล สถทค.ภผู าเหลก็ (หลวงป่เู คน วรธัมโม) ๑๖๔ วดั ถ้าเปด็ อ.ส่องดาว จ.สกลนคร ศทค.ชัน ๒ สกลนคร หลวงปูก่ ้าน จติ ตฺ ธมโฺ ม ศทค.ชัน ๒ สกลนคร ๑๖๕ วดั ปา่ ธัมปาลวนาราม อ.เมอื ง จ.สกลนคร ศทค.ชัน ๒ สกลนคร พระอาจารยเ์ กยี รติศักด์ิ วรธมั โม ศทค.ชนั ๒ สกลนคร ๑๖๖ วดั ถา้ ผาแด่น อ.เมอื ง จ.สกลนคร (พระอาจารยห์ นุ่ม) ศทค.ชนั ๒ เขาเขียว ศทค.ชัน ๒ เขาเขยี ว ๑๖๗ วัดสันตสิ งั ฆาราม อ.พรรณานคิ ม จ.สกลนคร พระอาจารย์ปกรณ์ กนตวีโร ศทค.ชนั ๒ เขาเขียว พระครูวินัยธรวชิ ยั ญาตธิ มโฺ ม ศทค.ชัน ๒ เขาเขียว ๑๖๘ วดั ไตรสิขาทลามลตาราม อ.คา้ ตากลา้ จ.สกลนคร (พระอาจารย์อานนท์) สถทค.เขาฉลาก ๑๖๙ วดั ป่าเขาใหม่ อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสีมา พระอาจารยส์ มภพ โชตปิ ญั โญ สถทค.เขาฉลาก ๑๗๐ วดั มงกฏุ ครี วี ัน (เขาใหญ)่ อ.ปากชอ่ ง พระครพู รรตวนานกุ ลู สถทค.เขาฉลาก จ.นครราชสมี า สถทค.เขาฉลาก พระญาณดลิ ก สถทค.เขาวงจันแดง ๑๗๑ วดั โนนกมุ่ อ.สีคิว จ.นครราชสมี า (ปญั ญา สทฺธายตุ โต) สถทค.เขาวงจนั แดง สถทค.เขาวงจนั แดง ๑๗๒ วดั ปา่ โนนกมุ่ นอก อ.สคี ิว จ.นครราชสมี า พระครโู สภณจารวุ ตั ร สถทค.เขาวงจันแดง พระครูปริยตั ิ สถทค.เขาสลัดได ๑๗๓ วดั พรหมวาส (วัดเขาฉลาก) อ.ศรรี าชา จ.ชลบุรี สถทค.เขาสลดั ได พระครูประภาส ชลธรรม สถทค.เขาสลดั ได ๑๗๔ วัดปาลไิ ลยวนั อ.ศรรี าชา จ.ชลบรุ ี (ดุสิต ปภงั กโร) ศทค.ชัน ๒ ภเู ขยี ว ๑๗๕ วดั ราษฎรเ์ รืองสขุ อ.บ้านบึง จ.ชลบรุ ี พระครรู ักชิตะวันพทิ กั ษ์ หน้า ๗๙ ๑๗๖ วดั มะปราง อ.สรรพยา จ.ชัยนาท (หลวงพอ่ มนตรี รมณีจติ โต) ๑๗๗ วัดบุปผาราม (ปลายคลอง) อ.เมือง จ.ตราด หลวงปูฮ่ ก รตินฺธโร ๑๗๘ วัดหว้ งพัฒนา อ.เขาสมิง จ.ตราด พระครศู ลี ชยั คณุ พระครสู ุวรรณสารวบิ ลู (สนาม) ๑๗๙ วดั คีรีบวั วนาราม อ.ล้าสนธิ จ.ลพบุรี ๑๘๐ วัดเขานอ้ ย อ.ลา้ สนธิ จ.ลพบรุ ี พระครสู ุพจนวรคณุ (หลวงปสู่ ุพจน์ ฐติ พั พะโต) ๑๘๑ วัดบ้านดอนสระจนั ทร์ อ.โนนไทย จ.นครราชสมี า พระครูปญั าวุธากร ๑๘๒ วัดสมานมิตร อ.เฉลิมเกียรติ จ.นครราชสมี า พระครูศลี สงั วรพมิ ล ๑๘๓ วัดดอนชมพู อ.โนนสงู จ.นครราชสมี า ๑๘๔ วดั เทพกัญญาราม อ.เมือง จ.สกลนคร พระครสู ังฆรกั ษ์ศริ ิ สริ ิธมั โม (หลวงปู่รอด สริ ธิ มั โม) พระปลดั จรญู โกสโล พระครสู ุนทรธรรมประสาท หลวงปู่สุธัมม์ ธมั ปาโบ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ

ลำดับ ชื่อวดั ชื่อพระอำจำรย์ สมณศักด/์ิ หนว่ ยผู้ขอ พระอาจารย์เกียรตศิ ักดิ์ วรธมั โม ศทค.ชัน ๒ ภูเขยี ว ๑๘๕ วดั ป่าธัมมปาลวนาราม อ.เมือง จ.สกลนคร ศทค.ชัน ๒ ภูเขยี ว (พระอาจารยห์ นมุ่ ) ศทค.ชนั ๒ ภเู ขยี ว ๑๘๖ วดั พระบาทน้าทิพย์ อ.ภูพาน จ.สกลนคร พระอาจารย์บญุ มี เขมธัมโม พระอาจารยศ์ รธี าตุ ฐานรโต สถทค.ภสู งิ ห์ ๑๘๗ วดั ถา้ มะคา่ อ.ภูพาน จ.สกลนคร พระครูปทมุ จันทโชติ สถทค.ภูสิงห์ ๑๘๘ วดั สทุ ธิกาวาส (วดั นาปา่ แซง) สถทค.ภูสิงห์ อ.ปทุมราชวงศา จ.อา้ นาจเจรญิ พระครูวริ ยิ อดุ มกจิ สถทค.ภูสิงห์ (หลวงพอ่ แสง ปรีปุณโณ) สถทค.คีรรี ัฐนคิ ม ๑๘๙ วดั ปา่ ฤกษ์อุดม อ.ปทุมราชวงศา จ.อ้านาจเจรญิ ศทค.ชัน ๒ ขอนแกน่ พระวชิ ัยมนุ ี ศทค.ชัน ๒ ขอนแกน่ ๑๙๐ วดั ส้าราณนิเวศน์ อ.เมอื ง จ.อ้านาจเจรญิ พระครนู มิ ติ พนารักษ์ ๑๙๑ วัดพระเหลาเทพนิมติ ร อ.พนา จ.อา้ นาจเจรญิ พระครอู านันทคณุ ากร ศทค.ชนั ๒ เขาพนมรงุ้ (หลวงพอ่ ซ้าย นนฺทโก) ๑๙๒ วัดหาดน้อย อ.พุนพนิ จ.สรุ าษฎรธ์ านี พระเทพวสิ ทุ ธคิ ณุ ศทค.ชัน ๒ เขาพนมรงุ้ ศทค.ชนั ๒ เขาพนมรุ้ง ๑๙๓ วัดหนองกุง อ.นา้ พอง จ.ขอนแกน่ พระครสู ตุ ธรรมภาณี ศทค.ชนั ๒ เขาพนมรุง้ ๑๙๔ วัดเจติยภมู ิ (พระธาตุขามแก่น) พระอธิการจริต จนั ทวณั โณ ศทค.ชนั ๒ นา่ น อ.น้าพอง จ.ขอนแกน่ ศทค.ชัน ๒ นา่ น พระสภุ าพ วสิ ุทธสาโร ศทค.ชัน ๒ นา่ น ๑๙๕ วัดบัวตะเคยี น (วัดปราสาทพนมรงุ้ ) ศทค.ชัน ๒ น่าน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.บรุ ีรัมย์ หลวงปูชนื ตคิ ญาโณ ศทค.ชนั ๒ ประจวบครี ขี นั ธ์ หลวงปู่อุทัย อทุ โย ๑๙๖ เลขานุการเจ้าคณะตา้ บลจรเขม้ าก พระภาวนาสุตาภริ ตั ศทค.ชัน ๒ ประจวบครี ขี ันธ์ อ.ประโคนชัย จ.บรุ รี มั ย์ (ชอบ พุทธสโร) สถทค.บา้ นพรุ พระครโู สภณพฒั นคณุ ๑๙๗ วดั ตาอี อ.บ้านกรวด จ.บรุ รี มั ย์ พระสุนทรมุนี ๑๙๘ วดั ตาดา่ น อ.ประโคนชยั จ.บรุ ีรมี ย์ พระครสู ถติ ธรรมรักษ์ พระครผู าสกุ วหิ ารการ ๑๙๙ วัดพชิ โสภาราม อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี (หลวงพ่อสมพงษฺ อัคคปญั โญ) พระอธกิ ารสา้ ราญ อภชิ าโต ๒๐๐ วัดโนนวฒั นาราม อ.นาตาล จ.อบุ ลราชธานี (พระอาจารย์ป้อม) พระครสู ุภทั รธรรมากร ๒๐๑ วัดม่งิ เมือง อ.เมอื ง จ.น่าน ๒๐๒ วัดสวนตาล อ.เมอื ง จ.น่าน ๒๐๓ วดั อ่างสุวรรณ (วดั โบสถไ์ ม้ตาล) อ.ทบั สะแก จ.ประจวบครี ขี ันธ์ ๒๐๔ วดั นาลอ้ ม อ.ทับสะแก จ.ประขวบคีรีขันธ์ ๒๐๕ วัดพระบาท อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา หน้า ๘๐ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ

ลำดับ ช่อื วดั ชื่อพระอำจำรย์ สมณศกั ด/์ิ หนว่ ยผขู้ อ ๒๐๖ วดั ปทมุ ธาราวาส (โปะหมอ) อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา พระครสู ัรตยาภยิ ตุ สถทค.บา้ นพรุ ๒๐๗ วดั โคกมว่ ง อ.คลองหอยโขง่ จ.สงขลา พระครสู ทุ ธิจติ ตาภรณ์ สถทค.บ้านพรุ ๒๐๘ วัดโคกกอ อ.คลองหอยโขง่ จ.สงขลา พระปลดั ศกั รินทร์ ตสิ สวโส สถทค.บา้ นพรุ ๒๐๙ วดั เลียบ อ.คลองหอยโขง่ จ.สงขลา พระครสู ิทธสิ ตุ ากร ๒๑๐ วัดเลียบ อ.คลองหอยโขง่ จ.สงขลา พระครพู ริ ยิ มงคล ศทค.ชนั ๒ หาดใหญ่ ๒๑๑ วัดชัยชนะสงคราม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา พระครมู งคลสตุ าภรณ์ ศทค.ชนั ๒ หาดใหญ่ ศทค.ชัน ๒ หาดใหญ่ ๒๑๒ วัดสุวรรณรงั สรรค์ อ.บ้านฉาง จ.ระยอง พระครูวรธรรมโกษาภริ ักษ์ (หล่วงพ่อหนาน หรอื หลวงปู่ทมิ ๒) ศทค.ชัน ๒ อู่ตะเภา ๒๑๓ วัดพลา อ.บา้ นฉาง จ.ระยอง ๒๑๔ วัดปา่ ธรรมจกั ร อ.เมือง จ.ชัยภมู ิ พระครูวิธานสพุ ัฒนกจิ ศทค.ชนั ๒ อตู่ ะเภา พระอาจารยต์ อ่ ศกั ดิ์ วรเตโช สถทค.ภโู ค้ง ๒๑๕ วดั สมศรี อ.เมอื ง จ.ชยั ภูมิ พระครสู นุ ทร ชัยรงั ษี สถทค.ภูโคง้ ๒๑๖ วัดหนองหลู ิง อ.เมอื ง จ.มหาสารคาม (พระอาจารย์นาวา สนุ ทโร) สถทค.มหาสารคาม ๒๑๗ วดั อุทยั ทศิ อ.เมือง จ.มหาสารคาม พระครบู วรธรรมปคณุ (นวิ ฒั น์ จกั รวโร) สถทค.มหาสารคาม ๒๑๘ วดั โพธิ์ศรี อ.เมือง จ.มหาสารคาม ๒๑๙ วดั พทุ ธวราราม อ.เมอื ง จ.มหาสารคาม พระครสู ริ สิ ารโกวทิ สถทค.มหาสารคาม ๒๒๐ วัดศรที ศั น์ อ.ภกู ระดึง จ.เลย (สัม ฐานุตตโม) สถทค.มหาสารคาม ๒๒๑ วดั ป่าอุทมุ พรวนาราม อ.ภูกระดึง จ.เลย ๒๒๒ วัดป่าม่วงไข่ อ.ภูเรือ จ.เลย หลวงงป่เู สาร์ ธมั มโชโต สถทค.ภูกระดงึ ๒๒๓ วัดป่าเวฬวุ นาราม อ.วงั สะพงุ จ.เลย พระครภู าวนาชยานสุ ิฐ สถทค.ภูกระดงึ พระครสู ทุ ัศน์ธรรมยตุ สถทค.ภูกระดึง ๒๒๔ วดั แสงไผ่ อ.มว่ งสามสิบ จ.อุบลราชธานี พระครอู ทุ มุ พร วณารกั ษณ์ สถทค.ภกู ระดงึ หลวงพอ่ ขันตี ญาณวโร ๒๒๕ วดั หนองลุ่ม อ.มว่ งสามสิบ จ.อุบลราชธานี หลวงพ่อสมศรี อตั ตสริ ิ สถทค.เขื่องใน ๒๒๖ วดั บ้านพบั อ.เขื่องใน จ.อบุ ลราชธานี พระครโู อภาสกติ ตญิ าณ สถทค.เขอื่ งใน (หลวงพอ่ สาท กติ ติญาณ) ๒๒๗ วดั ปา่ โพนทอง อ.เข่ืองใน จ.อบุ ลราชธานี สถทค.เขอ่ื งใน พระอธาการปราโมทย์ ธมมุทโฒ สถทค.เขอ่ื งใน ๒๒๘ ส้านกั สงฆก์ ระแสรส์ ามัคคธี รรม (หลวงพ่อจ่อย ธมมวุทโฒ) สถทค.บ้านยาง อ.ศีขรภูมิ จ.สุรนิ ทร์ หลวงปโู่ ทน หน้า ๘๑ หลวงปเู่ ขยี น พระอาจารย์ศรี อรยิ วังโส พระพทุ ธศาสดาประชานาถ

ลำดับ ชื่อวดั ชอ่ื พระอำจำรย์ สมณศกั ด์ิ/หน่วยผู้ขอ ๒๒๙ วดั โพธิญาณบ้านอนันต์ อ.ศขี รภูมิ จ.สรุ นิ ทร์ พระครูปญั ญาสริ โิ พธิ สถทค.บา้ นยาง ๒๓๐ วดั ชูประศาสนาราม อ.ศีขรภมู ิ จ.สุรินทร์ พระสมุทร คา้ ภรี ปญั โญ สถทค.บ้านยาง ๒๓๑ วดั ทงุ่ สวา่ งนารงุ่ อ.ศขี รภูมิ จ.สรุ ินทร์ พระครเู กษมธรรมวสิ ฐิ ๒๓๒ วดั บ้านขา่ อ.ศขี รภูมิ จ.สรุ นิ ทร์ พระครพู บิ ลู พัฒนประสุต ศทค.ชนั ๒ สรุ นิ ทร์ ๒๓๓ วดั โคกกรม อ.พนมดงรกั จ.สรุ ินทร์ พระครอู าภสั ร์ธรรมคุณ ศทค.ชนั ๒ สุรินทร์ ๒๓๔ วดั ป่าห้วยเสนง อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ พระครพู ิพธิ วรการ ศทค.ชัน ๒ สุรนิ ทร์ พระครโู กวทิ นวการ ศทค.ชัน ๒ สรุ นิ ทร์ ๒๓๕ วัดพนุ พินใต้ อ.พุนพิน จ.สุราษฎรธ์ านี (หลวงพ่อภาส โกวทิ โก) สถทค.บา้ นปากกระแดะ ๒๓๖ วดั ท่งุ เซียด อ.พนุ พนิ ขว.สุราษฎรร์ธานี พระครสู ารโสตตคิ ฯุ (หลวงพ่อสวสั ด์ิ) สถทค.บา้ นปากกระแดะ ๒๓๗ วัดคงคาราม อ.เกาะสมยุ จ.สรุ าษฎร์ธานี พระปลดั สมชาย อภินนั โท ศทค.ชัน ๒ สมุย ๒๓๘ วัดศรีทวปี อ.เกาะสมยุ จ.สุราษฏรธ์ านี (พระอาจารยส์ มชาย) ศทค.ชนั ๒ สมุย ๒๓๙ วดั คณุ าราม อ.เกาะสมยุ จ.สรุ าษฏรธ์ านี พระสมหุ ว์ ชั รนิ ทร์ อินทปัญโญ (พระอาจารยข์ วด) ศทค.ชัน ๒ สมยุ ๒๔๐ วัดเทพธาราม อ.พนม จ.สรุ าษฎรธ์ านี พระครสู ิริทีปคณุ ากร สถทค.บ้านทบั ครสิ ต์ สถทค.บ้านทบั ครสิ ต์ ๒๔๑ วัดส้านกั สงฆถ์ ้าเพชรวมิ ุตธิ รรม พระอธกิ ารปรีชา สีลธมโน สถทค.บา้ นทับครสิ ต์ อ.พนม จ.สุราษฎรธ์ านี สถทค.บ้านทบั ครสิ ต์ พระพกั สนั ตะ มโน ๒๔๒ วัดป่าเขาหนา้ แดง อ.พนม จ.สุราษฎรธ์ านี สถทค.ชมุ ทางเขาชุมทอง หลวงตาบญุ ส่ง ๒๔๓ วัดปา่ เคยี นพิง อ.พนม จ.สรุ าษฎรธ์ านี พระอาจารยจ์ รญู ปิยสโี ล สถทค.ชมุ ทางเขาชุมทอง พระครูประโชติอนิ ทคณุ ๒๔๔ วัดส้านกั ขนั อ.จฬุ าภรณ์ จ.นครศรีธรรมราช (หลวงพอ่ สน่ัน อินทโชติ) สถทค.ภูแฝก สถทค.ภูแฝก ๒๔๕ ส้านกั สงฆเ์ ขาชุมทอง พระครสู วุ โจ เทวธรรมโม สถทค.ภูแฝก อ.จฬุ าภรณ์ จ.นครศรธี รรมราช (พระอาจารยโ์ จ) สถทค.บ้านท่งุ โพธ์ิ สถทค.บ้านทุ่งโพธ์ิ ๒๔๖ วดั สีลารตั น์ อ.สอ่ งดาว จ.สกลนคร พระอาจารย์เสือ กันตสาโล สถทค.บ้านท่งุ โพธ์ิ พระอาจารย์สรุ เดช กตธมั โม ๒๔๗ วัดดงสรา้ งค้า อ.ส่องดาว จ.สกลนคร พระอาจารย์ศักดา ธัมมรโต ๒๔๘ วัดโพนวมิ าน อ.เขาวง จ.กาฬสนิ ธุ์ พระครสู ตุ ธรรมสิทธ์ิ พระครอู ดลุ สลี านุวตั ร ๒๔๙ วดั สมหวัง อ.เมอื ง จ.สรุ าษฎรธ์ านี พระครูชลาธรธา้ รง ๒๕๐ วัดกลางเกา่ อ.เมือง จ.สรุ าษฎร์ธานี ๒๕๑ วัดสถลธรรมาราม อ.พุนพิน จ.สรุ าษฎร์ธานี หน้า ๘๒ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ

ลำดับ ชื่อวดั ช่ือพระอำจำรย์ สมณศกั ดิ์/หนว่ ยผู้ขอ พระครชู ลาธรธ้ารง ๒๕๒ วดั สถลธรรมาราม อ.พนุ พนิ จ.สรุ าษฎรธ์ านี (พระอาจายท์ อง) ศทค.ชัน ๒ สุราษฎรธ์ านี พระครธู รี ธรรมานยุ ุต ๒๕๓ วดั วภิ าวดีกาญจนา อ.เมอื ง จ.สรุ าษฎร์ธานี พระครปู รยิ ัตคิ ณุ าวธุ ศทค.ชนั ๒ สรุ าษฎรธ์ านี ศทค.ชนั ๒ สุราษฎร์ธานี ๒๕๔ วดั กลางใหม่ อ.เมอื ง จ.สรุ าษฎร์ธานี พระครูอรรถธรรมวัตร ศทค.ชนั ๒ สุราษฎร์ธานี ๒๕๕ วัดพศิ ิษฐอ์ รรถาราม พระราชวชิรากร อ.นาบอน จ.นครศรีธรรมราช (พระอาจารย์ชัย) สถทค.บา้ นทงุ่ สูง หลวงพอ่ จ้าเนียร สลี เสฏโฐ ๒๕๖ วดั มหาธาตุวิชรมงคล (วัดบางโพ) สถทค.บา้ นทุ่งสูง อ.อ่าวลึก จ.กระบ่ี พระครถู ริ ธรรมรัต สถทค.บ้านทงุ่ สงู ๒๕๗ วัดถ้าเสอื อ.เมอื ง จ.กระบี่ พระราชวิสุทธิกวี (พระมหาไมตรี ปุญญามรญิ โท) ศทค.ชัน ๒ ๒๕๘ วดั ราษฎรอ์ ปุ ถัมภ์ (วัดบางเหรียง) นครศรีธรรมราช อ.ทบั ปดุ จ.พงั งา พระสมุหว์ โิ รจน์ ศทค.ชนั ๒ ๒๕๙ วดั พระมหาธาตุวรมหาวหิ าร พระปลดั เมธี ปิยธมฺโม นครศรธี รรมราช อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช พระครูกติ ติปรยิ ัตสิ ุนทร ศทค.ชัน ๒ เขาวังชงิ พระครปู ระสุตโพธคิ ณุ ศทค.ชัน ๒ เขาวงั ชิง ๒๖๐ วัดโทเอก (หวั ตลง่ิ ) พระอธิการประเจยี ง ปญั ญาวโร ศทค.ชนั ๒ เขาวังชิง อ.พรหมครี ี จ.นครศรีธรรมราช พระครวู จิ ติ รจนั ทคณุ ศทค.ชนั ๒ วัฒนานคร (สมจนั ทร์ จติ ตตฺ คโุ ณ) ๒๖๑ วดั โคกพะยอมสุการาม อ.นาหมอ่ ม จ.สงขลา พระครูปลดั บดุ ดา ปญั ญฺ าธโร ศทค.ชนั ๒ วัฒนานคร พระอาจารยข์ วัญเมอื ง สธุ มั โม ๒๖๒ วัดแม่เปยี ะ อ.นาหม่อม จ.สงขลา พระมหาทิวากร อาภทโท ศทค.ชัน ๒ วฒั นานคร พระครวู สิ ทุ ธส์ิ ทิ ธิคณุ ศทค.ชัน ๒ วัฒนานคร ๒๖๓ วัดโพธิ์ อ.คลองหอยโข่ง จ.สงขลา สถทค.กระทุ่มแบน พระครธู รรมรตั สถทค.กระทุ่มแบน ๒๖๔ วัดท่าเกวียน อ.วฒั นานคร จ.สระแกว้ (ธงชยั ชวนปญโญ) พระครวู ฒั นธรรมภรณ์ สถทค.กระทมุ่ แบน ๒๖๕ วัดสุธรรมาวาส (บา้ นบางหลวง) อ.วฒั นานคร จ.สระแกว้ หลวงปจู่ นั ทา สถทค.ภโู ลน หลวงปแู่ บน ธนากโร สถทค.ภูโลน ๒๖๖ วดั ป่าใตพ้ ัฒนาราม อ.วฒั นานคร จ.สระแกว้ หลวงปู่ทองอนิ กตปณุ โย สถทค.ภูโลน สถทค.ภูโลน ๒๖๗ วดั ปา่ หนองหล่อม อ.วฒั นานคร จ.สระแกว้ หน้า ๘๓ ๒๖๘ วัดใหญจ่ อมปราสาท อ.เมือง จ.สมุทรสาคร ๒๖๙ วัดโกรกกราก อ.เมือง จ.สมทุ รสาคร ๒๗๐ วัดนางสาว อ.กระทุ่มแบน จ.สมทุ รสาคร ๒๗๑ วัดมหาเจดีย์ชยั มงคล อ.หนองพอก จ.รอ้ ยเอ็ด ๒๗๒ วดั ปา่ เมยวดี อ.เมยวดี จ.ร้อยเอด็ ๒๗๓ วดั ดอยธรรมเจดีย์ อ.โคกสีสุพรรณ จ.สกลนคร ๒๗๔ วัดประชาคมวนาราม อ.ศรีสมเด็จ จ.รอ้ ยเอด็ พระพุทธศาสดาประชานาถ

ลำดบั ชอ่ื วดั ชือ่ พระอำจำรย์ สมณศกั ดิ์/หนว่ ยผขู้ อ ๒๗๕ วดั ราษฎร์สามัคคี อ.สตั หีบ จ.ชลบรุ ี พระครปู ลัดวรศักดิ์ รุจธิ มั โม สถทค.เขาหมอน ๒๗๖ วดั ชอ้ งแสมสาร อ.สตั หบี จ.ชลบุรี สถทค.เขาหมอน ๒๗๗ วดั ดงน้อย อ.เมอื ง จ.ชลบรุ ี (หลวงพ่อฟงุ้ ) พระครูวสิ ารทสตุ ากร สถทค.เขาวงพระจนั ทร์ ๒๗๘ วดั ถนนใหญ่ อ.เมอื ง จ.ลพบุรี พระครูจันทสิรธิ ร (หลวงพอ่ สารันต์ จันทนปู โม) สถทค.เขาวงพระจนั ทร์ ๒๗๙ วดั เกรน่ิ กฐนิ อ.บา้ นหมี่ จ.ลพบรุ ี สถทค.เขาวงพระจนั ทร์ ๒๘๐ วัดเขาสมอคอน อ.ทา่ ว้งุ จ.ลพบุรี พระครโู สภณวสิ ุทธ์ิ สถทค.เขาวงพระจันทร์ (พระครสู มชัย มณีวณโฺ ณ) สถทค.บา้ นสม้ ป่อยนอ้ ย ๒๘๑ วัดเกษมสขุ อ.อทุ ุมพรพสิ ัย จ.ศรีสะเกษ พระครสู ังรักษ์ ภัทรภณ เขมปฺญโย หลวงพ่อวัดเขาสมอคอน สถทค.บา้ นสม้ ปอ่ ยน้อย ๒๘๒ วัดศรีสมบรู ณร์ ตั นาราม พระครจู ารวุ รรณโสภณ สถทค.บา้ นสม้ ปอ่ ยนอ้ ย อ.อุทุมพรพิสยั จ.ศรีสะเกษ สถทค.บา้ นสม้ ป่อยนอ้ ย (หลวงพ่อภาส) ๒๘๓ วดั สระกา้ แพงใหญ่ อ.อุทุมพรพิสัย จ.ศรสี ะเกษ ศทค.ชัน ๒ ภเู ก็ต พระครูวนิ ัยธรศักดม์ิ นตรี ปภสสฺ โร ศทค.ชัน ๒ ภเู กต็ ๒๘๔ วัดบา้ นส้มป่อยนอ้ ย อ.อทุ ุมพรพิสยั จ.ศรสี ะเกษ (พระอาจารยโ์ ชต)ิ ศทค.ชนั ๒ กาญจนบุรี ศทค.ชัน ๒ กาญจนบรุ ี ๒๘๕ วดั ไชยธาราม (วัดฉลอง) อ.เมอื ง จ.ภเู ก็ต พระมหาชชั วาล โอภาโส ศทค.ชนั ๒ กาญจนบุรี พระครสู นุ ทรสทุ ธิธรรม ศทค.ชนั ๒ บ้านเพ ๒๘๖ สา้ นกั สงฆ์ป่าเทพทาโร อ.เมือง จ.ภเู กต็ พระมหาพงษ์ศกั ด์ิ เตชวณฺโณ หลวงพ่อจนั ทรฺ ปยั ญาวโร ศทค.ชัน ๒ บ้านเพ ๒๘๗ วัดวังขยาย อ.สงั ขละบรุ ี จ.กาญจนบรุ ี พระครอู าทรกาญจนธรรม ศทค.ชัน ๒ บา้ นเพ (หลวงพ่อฐานสิ วชิรญาโณ) ๒๘๘ วดั ผาผงึ อ.สงั ขละบุรี จ.กาญจนบรุ ี พระมหาชัยณรงค์ อาภากโร สถทค.ชุมพร ๒๘๙ วัดยางขาว อ.สังขละบรุ ี จ.กาญจนบรุ ี พระครูกาญจนกิจจานรุ ักษ์ สถทค.ชมุ พร พระครูพรหมจรยิ านวุ ัฒน์ สถทค.ชมุ พร ๒๙๐ วัดเภตราสุขารมย์ อ.เมอื ง จ.ระยอง (ประสทิ ธิ์ ฐานวีโร) ๒๙๑ วัดหนองสะเดา อ.หนองแค จ.สระบุรี พระครโู สภณถิรคุณ ๒๙๒ วัดสา้ เภาทอง อ.เมอื ง จ.ระยอง (หลวงพ่อสนุ ทร จนทเคโร) ๒๙๓ วัดสามแก้ว อ.เมือง จ.ชุมพร พระญาณรังษี พระอโนมคณุ มนุ (ี พินิจ พทุ ธสโร) ๒๙๔ วดั กาลพัฒนาราม (หนองเข้) อ.เมือง จ.ชุมพร พระอธกิ ารสากล ฐานสิ สโร ๒๙๕ วัดดอนรวบ อ.เมอื ง จ.ชุมพร หลวงพ่อหลา ยุตตฺ ิโก หน้า ๘๔ พระพุทธศาสดาประชานาถ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook