Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chapter 4 mole

Chapter 4 mole

Published by นางสาวนิศมน บุญให้, 2019-12-29 08:08:12

Description: Chapter 4 mole

Search

Read the Text Version

บทท่ี 4 โมลและสตู รเคมี

เวลาทใ่ี ช้ 20 ชวั่ โมง 2 ชวั่ โมง บทน้ีควรใชเ้ วลาสอนประมาณ 9 ชวั่ โมง 4.1 มวลอะตอม 9 ชวั่ โมง 4.2 โมล 4.3 สตู รเคมี 2

4.1 มวลอะตอม จดุ ประสงค์ 1.บอกความหมายของมวลอะตอมของธาตุ มวลอะตอมสมั พทั ธ์ และมวลอะตอมเฉลย่ี ของธาตุ 2.คานวณมวลอะตอมของธาตุและมวลอะตอมสมั พทั ธ์ 3.คานวณมวลอะตอมเฉลย่ี ของธาตุ 3

แนวการจดั การเรียนรู้ มวลอะตอมของธาตุ (atomic mass) - มวลอะตอมของธาตุสามารถหาไดอ้ ยา่ งไร? มวลของธาตุ 1 อะตอม = ผลรวมของมวลโปรตอน นิวตรอน และอเิ ลก็ ตรอน = ผลรวมของมวลโปรตอน และนิวตรอน มวลอะตอมสมั พทั ธ์ (Relation atomic mass) ไดจ้ ากการเปรยี บเทยี บมวลอะตอมกบั มวลอะตอมของธาตมุ าตรฐาน ธาตุมาตรฐานทใ่ี ชเ้ ปรยี บเทยี บ คอื 12C โดยกาหนดให้ 12C จานวน 1 อะตอม มมี วล 12 หน่วยมวลอะตอม ดงั นนั้ 1 หน่วยมวลอะตอม มคี า่ เทา่ กบั 1 มวลของ 12C จานวน 1 อะตอม (เทา่ กบั 1.66x10-24 กรมั ) 12 4

เขยี นเป็นสมการไดด้ งั น้ี มวลอะตอมสมั พทั ธ์ = 1 มวลอะตอมของธาตุ มวลอะตอมสมั พทั ธ์ = มวลอะตอมของธาตุ (������) 12 มวลของ 12������ 1 อะตอม 1.66 ������ 10−24 (������) ตวั อยา่ งการคานวณ 5

ทบทวนความร้เู กี่ยวกบั ไอโซโทป ธาตแุ ต่ละชนิดอาจมหี ลายไอโซโทป ทาใหม้ มี วลอะตอมหลายคา่ ดงั นนั้ ในการคานวณจงึ ใชม้ วลอะตอม ทไ่ี ดจ้ ากการเฉลย่ี ของมวลอะตอมแต่ละไอโซโทป มวลอะตอมเฉลย่ี ของธาตุ = ผลรวมของ [ %ไอโซโทป มวลอะตอมของไอโซโทป ] 100 6

ตวั อย่างการคานวณ ธาตทุ ี่มีหลายไอโซโทป คารบ์ อนมี 3 ไอโซโทป คอื 12C 13C และ 14C ซง่ึ 12C มมี วลอะตอม 12.0000 มปี รมิ าณรอ้ ยละ 98.930 13C มมี วลอะตอม 13.0034 มปี รมิ าณรอ้ ยละ 1.070 สว่ น 14C เป็นไอโซโทปกมั มนั ตรงั สมี ปี รมิ าณน้อยมาก จากสตู ร มวลอะตอมเฉลย่ี ของธาตุ = ผลรวมของ [ %ไอโซโทป มวลอะตอมของไอโซโทป ] แทนคา่ 100 มวลอะตอมเฉลย่ี ของ C = 98.930������12.0000 + 1.070 ������ 13.0034 100 100 = 11.872 + 0.1391 = 12.011 7

ตาราง 4.1 มวลอะตอมของไอโซโทป ปรมิ าณรอ้ ยละของไอโซโทป และมวลอะตอมเฉลย่ี ของธาตบุ างชนิด ไอโซโทป มวลอะตอมของไอโซโทป ปริมาณร้อยละท่ีพบในธรรมชาติ มวลอะตอมเฉลี่ย 14N 14.0031 99.632 14.007 15N 15.0001 0.368 16.000 16O 15.9949 99.757 20.179 17O 16.9991 0.038 35.452 18O 17.9992 0.205 8 20Ne 19.9924 90.480 21Ne 20.9938 0.270 22Ne 21.9914 9.250 35Cl 34.9689 75.780 37Cl 36.9659 24.220

ตารางธาตุ 9

4.2 โมล 4.2.1 มวลต่อโมล 4.2.2 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างโมล มวล และปรมิ าตรของแก๊ส จดุ ประสงค์ 1.อธบิ ายความหมายของโมลและเลขอาโวกาโดร 2.คานวณมวลโมเลกุลและมวลสตู ร 3.อธบิ ายความสมั พนั ธข์ องโมล มวล จานวนอนุภาค และปรมิ าตรของแก๊สท่ี STP 4.คานวณปรมิ าณสารจากความสมั พนั ธข์ องโมล มวล จานวนอนุภาค และปรมิ าตร ของแก๊สท่ี STP 10

แนวการจดั การเรียนรู้ - พดู ถงึ หนว่ ยวดั ปริมาณสิง่ ของในชีวิตประจาวนั ลติ ร โหล กรัม กิโลกรัม เชอ่ื มโยงไปสกู่ ารบอกปริมาณสารเคมีท่ีเป็นหนว่ ยมวล หน่วยปริมาตร หรือ หนว่ ยแสดงจานวนอนภุ าค แตเ่ นื่องจากสารประกอบด้วยอนภุ าคทม่ี ีขนาดเลก็ และจานวนมาก นา้ ตาลทราย 1 เกลด็ มี C12H22O11 1.0 x 1017 โมเลกลุ 3.3 x 1022 โมเลกลุ นา้ 1 กรัม มี H2O นกั เคมีจงึ กาหนดหนว่ ยแสดงจานวนอนภุ าคของสารเป็นหนว่ ยใหญ่ โมล moleซง่ึ สมั พนั ธ์กบั ปริมาณสารทวี่ ดั ได้ในชีวิตประจาวนั โดยให้ช่อื วา่ 11

IUPAC กาหนดให้ สาร 1 โมล มจี านวนอนุภาคเทา่ กบั 6.02214076 x 1023 อนุภาค เลขอาโวกาโดร (Avogadro’s number) หรอื คา่ คงตวั อาโวกาโดร (Avogadro’s constant) 12

พจิ ารณาหน่วยของสาร จากตารางท่ี 4.2 ตารางท่ี 4.2 จานวนอนุภาคของสารบางชนิดปรมิ าณ 1 โมล สาร จานวนอนุภาค ครปิ ทอน (Kr) 6.02 x 1023 อะตอม น้า (H2O) H2O 6.02 x 1023 โมเลกุล H 2 x 6.02 x 1023 อะตอม O 6.02 x 1023 อะตอม โซเดยี มซลั เฟต (Na2SO4) Na+ 2 x 6.02 x 1023 ไอออน SO42- 6.02 x 1023 ไอออน 13

ตวั อยา่ งการคานวณหาจานวนอะตอมหรอื ไอออนทเ่ี ป็นองคป์ ระกอบของสาร 14

อธบิ ายเพ่มิ เตมิ เน่ืองจากหน่วยโมล เป็นการ บอกจานวนอนภุ าคของสาร ดงั นนั้ สาร 1 โมล จงึ อาจมี มวลและปริมาตรไมเ่ ทา่ กนั ขนึ ้ อย่กู บั ชนิดของสาร 15

สรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างจานวนโมลและจานวนอนุภาค เขยี นเป็นแฟกเตอร์ สาร 1 โมล มจี านวนอนุภาคเทา่ กบั 6.02 x 1023 อนุภาค 1 โมล 6.02 x 1023 อนภุ าค 16

4.2.1 มวลต่อโมล - 12C จานวน 1 โมล มมี วลในหน่วยกรมั เป็นเท่าใด ก่อนหน้าน้ี เรารวู้ า่ 12C จานวน 1 อะตอม มมี วล 12 หน่วยมวลอะตอม แลว้ 1 หน่วยมวลอะตอม มคี า่ เทา่ กบั 1.66x10-24 กรมั ดงั นนั้ 12C จานวน 1 อะตอม มมี วล 12 x 1.66 x 10-24 กรมั สาร 1 โมล มจี านวนอนุภาคเท่ากบั 6.02 x 1023 อนุภาค 1.66 x 10−24 ดงั นนั้ 12C จานวน 1 โมล มมี วล = 12 x 1 atom 12C g 12C x 6.02 x 1023 atom 12C = 12.00 g 12C มวลต่อโมล ดงั นนั้ 12C จานวน 1 โมล มมี วลเท่ากบั 12.00 กรมั จะเรยี กคา่ มวลในหน่วยกรมั วา่ 17

ตารางท่ี 4.3 การคานวณมวลต่อโมลของธาตุบางชนิด ธาตุ มวลอะตอม มวลต่อโมล (g/mol) ลเิ ทยี ม (Li) 6.94 6.94 x 1.66 x 1024 x 6.02 x 1023 = 6.94 เหลก็ (Fe) 55.85 55.85 x 1.66 x 1024 x 6.02 x 1023 = 55.85 ทองคา (Au) 196.97 196.97 x 1.66 x 1024 x 6.02 x 1023 = 196.97 โพแทสเซยี ม (K) 39.10 39.10 x 1.66 x 1024 x 6.02 x 1023 = 39.10 นกั เรยี นจะเหน็ ไดว้ ่า มวลของธาตุ 1 โมลในหน่วยกรมั (มวลตอ่ โมล) มคี า่ เท่ากบั มวลอะตอมของธาตุนนั้ ๆ 18

การคานวณมวลโมเลกุลและมวลสูตร เมื่ออะตอมของธาตรุ วมตวั กนั เป็นโมเลกลุ สว่ นสารทไ่ี มอ่ ยใู่ นรูปโมเลกลุ ผลรวม ผลรวมของมวลอะตอมของธาตใุ นสตู รเคมี ของมวลอะตอมของธาตใุ นสตู รเคมี จะเรียกว่า มวลโมเลกุล เรียกว่า มวลสูตร ยกตวั อยา่ งการคานวณ นา้ ตาลทรายมีสตู รโมเลกลุ C12H22O11 นา้ ตาลทรายมีมวลตอ่ โมลเทา่ ไหร่ มวลโมเลกลุ ของ = (12 x มวลอะตอมของ C) + (22 x มวลอะตอมของ H) + (11 x มวลอะตอมของ O) = (12 x 12.01) + (22 x 1.01) + (11 x 16.00) = 342.34 19 นา้ ตาลทรายมีมวลโมเลกลุ เทา่ กบั 342.34 ดงั นนั้ จงึ มีมวลตอ่ โมลเทา่ กบั 342.34 กรัมตอ่ โมล

4.2.2 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโมล มวล และปรมิ าตรของแก๊ส การวดั ปริมาณสารทมี่ ีสถานะเป็นแก๊ส แก๊สมีมวลน้อยมากๆ เมือ่ เทยี บกบั ปริมาตร ดงั นนั้ ปริมารสารในสถานะแก๊ส จงึ นิยมบอกเป็น ปริมาตรพร้อมระบอุ ณุ หภมู ิ และความดนั เพราะปริมาตรของแก๊ส จะเปลยี่ นแปลงตาม อณุ หภมู แิ ละความดนั กาหนดอณุ หภมู แิ ละความดนั ทีภ่ าวะมาตรฐานของแก๊ส (standard temperature and pressure เรียกย่อว่า STP) ให้อณุ หภมู ิ 0 องศาเซลเซยี ส และความดนั 1 บรรยากาศ 20

ตาราง 4.4 มวลของแก๊สบางชนดิ ปรมิ าตร 1 ลติ ร ท่ี STP แกส๊ มวลต่อโมล (g/mol) มวลของแกส๊ 1 L (g) ฮเี ลยี ม (He) 4.00 0.179 มเี ทน (CH4) 16.05 0.716 ไอน้า (H2O) 18.02 0.804 นีออน (Ne) 20.18 0.900 ไนโตรเจน (N2) 28.02 1.251 ออกซเิ จน (O2) 32.00 1.430 21

- แก๊ส 1 โมล มปี รมิ าตรเทา่ ใดท่ี STP จากขอ้ มลู ในตาราง 4.4 แก๊สฮเี ลยี มปรมิ าตร 1 ลติ ร ท่ี STP มมี วล 0.179 กรมั ซง่ึ เชยี นในรปู แฟคเตอรเ์ ปลย่ี นหน่วยไดเ้ ป็น 1 L He 0.179 g He ดงั นนั้ แก๊สฮเี ลยี ม 1 โมล ซง่ึ มมี วล 4 กรมั จะมปี รมิ าตรท่ี STP เป็นดงั น้ี ปรมิ าตรของ He 1 mol ท่ี STP = 4.00 g He x 1L He = 22.4 L He 0.179 g He 22

สรปุ ความสมั พนั ธ์ ปรมิ าตรของแก๊ส (ลติ ร) มวล (กรมั ) ท่ี STP 22.4 ลติ รต่อโมล โมลมวลต่อโมล 6.02x1023 อนุภาคต่อโมล จานวนอนุภาค (อะตอม โมเลกุล ไอออน) 23

กจิ กรรม 4.1 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโมล มวล จานวนอนุภาค ความหนาแน่น และปรมิ าตรของแก๊สท่ี STP 24

4.3 สตู รเคมี 4.3.1 กฎสดั ส่วนคงท่ี 4. 3.2 รอ้ ยละโดยมวลของธาตุ 4.3.3 การหาสตู รโมเลกลุ และสตู รอยา่ งงา่ ย 25

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1 คานวณอตั ราสว่ นโดยมวลของธาตุองคป์ ระกอบ ของสารประกอบตามกฎสดั สว่ น 2 อธบิ ายความหมายของสตู รอย่างงา่ ย และสตู รโมเลกุล ของสาร 3 คานวณมวลเป็นรอ้ ยละของธาตอุ งคป์ ระกอบ 26

4 คานวณสตู รอยา่ งงา่ ยจากอตั ราสว่ นโดยโมลของธาตุ องคป์ ระกอบ 5 คานวณสตู รโมเลกลุ ของสารจากสตู รอยา่ งงา่ ยและมวล โมเลกุล ของสาร 27

แนวการจดั การเรียนรู้ สตู รเคมี เป็นสญั ลกั ษณ์ทเ่ี ขยี นแทนธาตแุ ละ สารประกอบ โดยแสดงชนิด และอตั ราสว่ นของ ธาตุทเ่ี ป็นองคป์ ระกอบหน่งึ ๆ จะมอี ตั ราสว่ นโดย โมลของอะตอมธาตคุ งท่ี เน่อื งจากมวลและโมลของสารมี 4.3 สตู รเคมี ความสมั พนั ธก์ นั เมอ่ื ทราบ - นักวิทยาศาตรท์ ราบอตั ราส่วน อตั ราสว่ นโดยมวลจะสามารถหา โดยโมลของธาตไุ ด้อย่างไร อตั ราสว่ นโดยโมลได้ 28

4.3.1 กฎสดั ส่วนคงท่ี ใหน้ กั เรยี นวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตารางท่ี 4.5 เพอ่ื ศกึ ษาอตั ราสว่ นโดยมวล ตาราง 4.5 ปรมิ าณของทองแดงต่อกามะถนั ทท่ี าปฏกิ ริ ยิ าพอดกี นั *ในการทดลองแต่ละครงั้ อตั ราสว่ นระหวา่ งมวลทองแดงต่อมวลของกามะถนั มคี า่ เทา่ ใด 29 *อตั ราส่วนโดยโมลของทองแดงต่อกามะถนั ทท่ี าปฏกิ ริ ยิ าพอดกี นั เป็นคอปเปอร์ (II)ซลั ไฟด์ มคี า่ เฉลย่ี เทา่ ใด

อตั ราสว่ นโดยมวลของ Cu : S = 2.0 : 1.0 อตั ราสว่ นโดยโมลของ Cu : S = 2.0/63.55 : 1.0/32.06 = 0.031 : 0.031 = 1.0 : 1.0 ดงั นัน้ อตั ราส่วนโดยโมลของทองแดงต่อกา มะถนั มีค่าเฉลี่ย 1.0 : 1.0 **สรปุ อตั ราส่วนโดยโมลของสารประกอบหนึ่ง ๆ จะมีค่าคงที่ เช่นเดียวกบั อตั ราส่วนโดยมวล ซึ่งการคานวณอตั ราส่วนโดย โมลนี้เป็นขนั้ ตอนสาคญั ในการหาสตู รเคมีของสารประกอบ 30

การคานวณอตั ราส่วนโดยมวลของธาตอุ งคป์ ระกอบของ สารประกอบตามกฎสดั ส่วนคงท่ี โดยยกตวั อยา่ ง 7 ประกอบ ตวั อย่างท่ี 7 เมอ่ื เผาโลหะแมกนีเซยี ม (Mg) 2.64 กรมั ในอากาศ ได้ แมกนีเซยี มออกไซด์ (MgO) เกดิ ขน้ึ 4.40 กรมั มาเผากบั แก๊สออกซเิ จน (O2) 1.61 กรมั จะเกดิ เป็นแมกนีเซยี มออกไซดท์ งั้ หมด ผลการทดลอง นี้เป็นไปตามกฎสดั ส่วนคงที่หรอื ไม่ และอตั ราส่วนโดยโมลเฉลี่ย ของแมกนีเซียมต่อออกซิเจนที่ทาปฏิกริยาพอดีกนั เป็น สารประกอบนี้มีค่าเท่าใด 31

คานวณอตั ราส่วนโดยมวล การทดลองท่ี 1 มวลO2 ใน MgO = มวลMgO – มวล Mg = 4.40 g – 2.64 g = 1.76 g อตั ราสว่ นโดยมวลของแมกนีเซยี ม : ออกซเิ จน = 2.64 : 1.76 = 1.50 : 1.00 การทดลองท่ี 2 อตั ราสว่ นโดยมวลของแมกนีเซยี ม : ออกซเิ จน = 2.42 : 1.61 = 1.50 : 1.00 ดงั นัน้ ผลการทดลองทงั้ 2ครงั้ เป็นไปตามกฎสดั สว่ นคงท่ี 32

คานวณอตั ราส่วนโดยโมลเฉล่ีย อตั ราสว่ นโดยมวลของแมกนีเซยี ม : ออกซเิ จน = 1.50/24.30 : 1.00/16.00 = 0.06 : 0.06 =1:1 ดงั นัน้ อตั ราสว่ นโดยโมลเฉลย่ี ของแมกนเี ซยี มตอ่ ออกซเิ จนเท่ากบั 1:1 ทาแบบฝึ กหดั 4.5 เพื่อทบทวนความรู้ 33

4.3.2 รอ้ ยละโดยมวลของธาตุ อตั ราสว่ นโดยมวลของธาตใุ นสารประกอบโดยทวั่ ไป แสดงอยใู่ นรปู ของรอ้ ยละโดยมวล รอ้ ยละโดยมวลของธาตุ A ในสารประกอบ = มวลมขวอลงขสอางรสปารระ���ก���อบ× 100% 34

ตวั อยา่ งท่ี 8 ออกไซดข์ องเหลก็ 159.69 กรมั ประกอบดว้ ยเหลก็ 111.69 กรมั จงคานวณรอ้ ยละโดยมวลของเหลก็ (Fe) และออกซเิ จน(O) ในออกไซดข์ อง เหลก็ รอ้ ยละโดยมวลของ Fe = 111.69 ������������× 100% 159.69 ดงั นัน้ สารประกอบออกไซดข์ องเหลก็ มรี อ้ ยละโดยมวลของเหลก็ เทา่ กบั 69.942 และรอ้ ยละโดยมวลของออกซเิ จน เท่ากบั 100 - 69.942 = 30.058 *หากทราบสตู รเคมขี องสารประกอบ จะสามารถคานวณหารอ้ ยละ โดยมวลของธาตุองคป์ ระกอบ ดงั ตวั อยา่ งท่ี 9 35

ตวั อย่างที่ 9 จงคานวณรอ้ ยละโดยมวลของคารบ์ อน(C) และไฮโดรเจน(H) ใน คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) และไอน้า(H2O) ตามลาดบั 12.01 ������������× รอ้ ยละโดยมวลของ C = 44.01 100% = 27.29 % รอ้ ยละโดยมวลของ H = 21×81.0.021������������× 100% = 11.2 % ทาแบบฝึ กหดั 4.6 เพอื่ ทบทวนความรู้ 36

4.3.3 การหาสตู รโมเลกลุ และสตู รอย่างงา่ ย จากกฎสดั สว่ นคงท่ี จะได้ อตั ราสว่ นโดยมวล และ รอ้ ยละโดย มวลของธาตใุ นสารประกอบซง่ึ สามารถนามาใชห้ าอตั ราสว่ น โดยโมลเพอ่ื หา สตู รอยา่ งงา่ ยหรอื สตุ รเอมพริ คิ ลั และสตู ร โมเลกลุ ของสารประกอบได้ 37

สรปุ ได้ว่า สตู รโมเลกุล = (สตู รเอมพริ คิ ลั ) n หรอื มวลโมเลกุล = n(มวลสตู รเอมพลิ คิ ลั ) 38

สตู รโมเลกลุ เป็นสตู รทแ่ี สดงจานวนอะตอมของธาตอุ งคป์ ระกอบทม่ี อี ยจู่ รงิ ใน 1 โมเลกุล เช่น น้า สตู รโมเลกลุ H2O แสดงวา่ 1โมเลกลุ ประกอบดว้ ย ไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซเิ จน 1 อะตอม สตู รอย่างง่ายหรอื สตู รเอมพิริคลั เป็นสตู รทแ่ี สดงอตั ราสว่ นอยา่ งต่าของจานวนอะตอมของธาตุ องคป์ ระกอบ เช่น กลโู คส สตู รโมเลกุล C6H12O6 อตั ราสว่ น C:H:O เทา่ กบั 1:2:1 จงึ มสี ตู รเอมพริ คิ ลั CH2O 39

ตาราง 4.5 สตู รโมเลกลุ และสตู รเอมพริ คิ ลั สารบางชนิด ชื่อสาร สูตรโมเลกุล สูตรเอมพริ ิคัล น้า H2O H2O กรดไฮโดรคอลริก HCl HCl โพรพีน C3H6 CH2 40 ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ H2O2 HO กรดแอซิตกิ C2H4O2 กลโู คส C6H12O8 CH2O โพแทสเซยี มไนเทรต CH2O โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต - KNO3 แมกนีเซยี มซลั เฟต KMnO4 - MgSO4 -

ตวั อย่างท่ี 10 1.สารปะกอบชนิดหน่งึ จานวน 20.88 กรมั ประกอบดว้ ยโซเดยี ม (Na) 6.07 กรมั และออกซเิ จน (O) 6.34 กรมั จงคานวณสตู รเอมพริ คิ ลั วิธีทา อตั ราสว่ นโดยมวลของ Na:S:O = 6.07:8.47:6.34 อตั ราส่วนโดยโมลเป็นดงั นี้ Na:S:O = 6.07g×12���2���.���9���9������ Nga:8.47g×414���.���0���1��������� Sg:6.34g×144���.���0���1��������� O g = 0.264 mol : 0.264 mol : 0.396 mol หารดว้ ย 0.264 ซง่ึ เป็นจานวนน้อยทส่ี ดุ อตั ราสว่ นโดยโมลของNa:S:O = 0.264 :00..226644 :00..236964 0.264 = 1.00 : 1.00 : 1.50 ออกซเิ จนเป็นเลขจดุ ทศนยิ ม จงึ ตอ้ งหาตวั เลขมาคณู ใหเ้ ป็นจานวนเตม็ อตั ราสว่ นโดยโมลของNa:S:O = 1.00×2 : 1.00×2 : 1.50×2 = 2:2:3 41 ดงั นัน้ สตู รเอมพริ คิ ลั ของสารประกอบน้คี อื Na2:S2:O3

2.เอทลิ มสี ตู รเอมพริ คิ ลั เทา่ กบั C2H5จงหาสตู รโมเลกุลของสารน้ี หาสตู รเอมพริ คิ ลั C2H5 = (2×12.01) + (5×1.01) = 29.07 จาก สตู รโมเลกุล = (สตู รเอมพริ คิ ลั )n หรอื มวลโมเลกุล = n(มวลสตู รเอมพริ คิ ลั ) 58.12 = n(29.07) n =2 ดงั นนั ้ สตู รโมเลกลุ ของสารประกอบนีค้ ือ (C2H5)2 = C4H10 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook