รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ : ใช้ชวี ติ แบบเศรษฐกจิ พอเพียง ระหว่างวันที่ 18-19 พฤษภาคม 2563 ณ ศูนยเ์ รยี นรปู้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจาตาบลบ้านเกาะ หมู่ท่ี 3 ตาบลบา้ นเกาะ อาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา นายสมเจตท์ วบั สันเทยี ะ กศน.ตาบลบ้านเกาะ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ประจำปงี บประมำณ 2563 ไตรมำส 3-4
คานา เอกสาร รายงานผลการดาเนินงาน โครงการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง น้ี จัดทาขึ้นเพื่อ รายงานผลการดาเนนิ งานดา้ นการจัดการศกึ ษาตอ่ เนื่อง ของ กศน.ตาบล ภายใต้การดูแลของศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือรายงานผลการดาเนินงานในการอบรม การดารงค์ชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับประชาชนตาบลบ้านเกาะ ตรวจสอบขั้นตอนการดาเนิน กิจกรรม ประเมนิ ผลและพฒั นาการดาเนนิ กจิ กรรมของ ตาบลบา้ นเกาะ ผจู้ ดั ทาหวังเป็นอยา่ งย่ิงว่า เอกสารรายงานผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมในคร้ังนี้ จะเป็น แนวทางในการพฒั นางานและการจดั กิจกรรมในคร้ังตอ่ ไป สมเจตท์ วับสนั เทยี ะ ครู ตาบล
สารบญั หนา้ คานา 1 สารบัญ 1 บทท่ี 1 บทนา 2 2 เหตผุ ลและความจาเป็น 3 วตั ถปุ ระสงค์ 3 ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ บทที่ 2 เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง 4 ความสาคญั ของการจัดและสง่ กระบวนการเรียนรู้ 5 ตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 10 ทม่ี าและความสาคญั ของกจิ กรรม 15 บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนนิ งาน 15 บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน 15 บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 15 วัตถุประสงคก์ ารดาเนนิ งาน 16 วธิ ดี าเนินการ อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการพัฒนากจิ กรรม ภาคผนวก ภาพโครงการใช้ชีวติ แบบเศรษฐกจิ พอเพียง แบบประเมนิ ความพึงพอใจ รายช่ือผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม
บทที่ 1 บทนา เหตผุ ลและความจาเปน็ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีนโยบายและจุดเน้นการ ดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ 3.3 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ี ทนั สมัยและมปี ระสทิ ธิภาพ ขอ้ 1.3 การจัดการศึกษาต่อเนื่อง 4) การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงผา่ นกระบวนการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ในรูปแบบต่างๆใหก้ ับประชาชนเพ่ือเสริมสร้างภมู ิคมุ้ กัน สามรถยนื หยัดอย่ไู ด้อยา่ งมน่ั คง และมีการบรหิ ารจดั การความเส่ยี งอยา่ งเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศ ส่คู วามสมดลุ และย่งั ยืน กศน.อาเภอบางไทร เป็นหนว่ ยงานจัดกิจกรรม ไดเ้ ห็นความสาคญั ของการสร้างการรับรู้ในเรื่อง หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ เพ่ือให้ประชาชนได้นาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน จึงได้ จดั โครงการน้ขี นึ้ วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือให้ประชาชนทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎใี หม่ 2. เพื่อใหป้ ระชาชนท่ีเข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพต่าง ๆ ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ บั ประชาชนทเ่ี ข้ารว่ มโครงการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ใช้ในการดาเนิน ชวี ิตประจาวัน
บทที่ 2 เอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง การจดั และสง่ เสริมกระบวนการเรยี นรู้ตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง โครงการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจ พอเพียง ไดเ้ สนอแนวคดิ หลักการและเอกสารที่เกย่ี วข้อง ตามลาดบั ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ความสาคญั ของการจัดและส่งกระบวนการเรยี นร้ตู ามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. ทีม่ าและความสาคัญของกิจกรรม 1. ความสาคัญของการจัดและสง่ กระบวนการเรยี นรตู้ ามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ ปรชั ญาชีถ้ ึงแนวการดารงอยูแ่ ละปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพอื่ ใหก้ า้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจาก การเปล่ยี นแปลงท้ังภายในภายนอก ทั้งน้ี จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อยา่ งยงิ่ ใน การนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้าง พน้ื ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ขี องรฐั นกั ทฤษฎี และนกั ธรุ กจิ ในทุกระดับ ให้มีสานึกในคณุ ธรรม ความซอ่ื สัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และ ความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ สงั คม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เปน็ อย่างดี ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบดว้ ยคุณสมบตั ิ ดงั น้ี 1. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดีทไ่ี ม่น้อยเกนิ ไปและไมม่ ากเกินไป โดยไมเ่ บยี ดเบียนตนเองและ ผอู้ นื่ เชน่ การผลิตและการบรโิ ภคทอี่ ยู่ในระดบั พอประมาณ 2. ความมเี หตุผล หมายถึง การตดั สินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนัน้ จะตอ้ งเป็นไปอย่างมเี หตผุ ล โดย พิจารณาจากเหตปุ ัจจัยที่เกยี่ วขอ้ ง ตลอดจนคานงึ ถึงผลทีค่ าดวา่ จะเกดิ ข้นึ จากการกระทานั้นๆ อยา่ งรอบคอบ 3. ภมู คิ ุ้มกนั หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้านต่างๆ ท่ีจะเกิดข้ึน โดยคานึงถึงความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ตา่ งๆ ท่ีคาดวา่ จะเกดิ ขึ้นในอนาคต โดยมี เง่ือนไข ของการตัดสินใจและดาเนินกจิ กรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดบั พอเพียง 2 ประการ ดงั นี้ 1. เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรเู้ ก่ียวกับวชิ าการตา่ งๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่ จะนาความรู้เหลา่ นน้ั มาพจิ ารณาใหเ้ ชื่อมโยงกัน เพ่อื ประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในการปฏบิ ตั ิ 2. เงือ่ นไขคุณธรรม ทจี่ ะตอ้ งเสริมสรา้ ง ประกอบด้วย มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มคี วามซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มคี วามเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ิต
2. ที่มาและความสาคัญของกจิ กรรมเศรษฐกจิ พอเพยี ง การปลูกผักปลอดสารพษิ พชื ผกั เปน็ พชื อาหารทคี่ นไทยนิยมนา มาใชร้ ับประทานกันมากเนือ่ งจากมีคุณค่าทางอาการทัง้ วิตามินและ แร่ธาตตุ ่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายสูง แต่ค่านิยมในการบริโภคผักนั้น มักจะเลือกบริโภคผักท่ีสวยงามไม่มี รอ่ งรอยการทา ลายของหนอนและแมลงศตั รพู ชื จงึ ทา ใหเ้ กษตรกรทป่ี ลูกผกั จะต้องใช้สารเคมีป้องกันและกาจัด แมลงฉดี พ่นในปรมิ าณท่มี าก เพ่อื ใหไ้ ด้ผกั ท่ีสวยงามตามความต้องการของตลาด เมื่อผู้ซื้อนา มาบริโภคแล้วอาจ ได้รบั อันตรายจากสารพษิ ท่ีตกคา้ งอยู่ในพชื ผกั นั้นได้เพือ่ เป็นการแกป้ ัญหาดังกล่าว เกษตรกรจงึ ควรหันมา ทาการ ปลูกผกั ปลอกภัยจากสารพิษ โดยนา เอาวิธกี ารปอ้ งกนั และกา จดั ศัตรพู ชื หลายวิธีมาประยุกต์ใช้ร่วมกัน เป็นการ ทดแทนหรอื ลดปริมาณการใชส้ ารเคมใี ห้นอ้ ยลง เพอ่ื ความปลอดภัยของเกษตรกร ผบู้ ริโภคและสิง่ แวดล้อม ข้อดีของการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ 1. ทา ใหไ้ ด้พืชผกั ทม่ี ีคุณภาพ ไม่มีสารพษิ ตกคา้ ง เกดิ ความปลอดภัยแกผ่ บู้ ริโภค 2. ชว่ ยใหเ้ กษตรกรผู้ปลูกผักมสี ุขภาพอนามยั ท่ีดขี ึน้ เน่อื งจากไมม่ กี ารฉดี พน่ สารเคมปี อ้ งกันและกาจัด ศตั รูพืช ทา ใหเ้ กษตรกรปลอดภัยจากสารพษิ เหลา่ น้ดี ้วย 3. ลดตน้ ทนุ การผลิตของเกษตรกรด้านคา่ ใช้จา่ ยในการซอื้ สารเคมปี ้องกนั และกา จัดศตั รูพืช 4. ลดปรมิ าณการนา เขา้ สารเคมีป้องกันและกา จดั ศตั รูพืช 5. เกษตรกรจะมีรายได้เพม่ิ มากขนึ้ เนอื่ งจากผลผลิตทไ่ี ดม้ ีคณุ ภาพ ทา ใหส้ ามารถขายผลผลติ ได้ในราคา สงู ขน้ึ 6. ลดปรมิ าณสารเคมีปอ้ งกนั และกา จดั ศตั รพู ชื ทีจ่ ะปนเป้อื นเขา้ ไปในอากาศและน้า ซ่งึ เปน็ การอนรุ กั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและลดมลพษิ ของสิง่ แวดล้อมไดท้ างหนง่ึ
บทที่ 3 วิธีการดาเนนิ งาน ด้วย กศน.ตาบลบ้านเกาะ ได้จัดโครงการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง โดยยึดประชาชนในตาบลเป็น สาคญั ทาให้เกิดเนอื้ หาสาระ ระยะเวลาการจดั กิจกรรม สถานท่ี และลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งน้ีข้นึ อยู่ กบั ศักยภาพและความพรอ้ มของประชาชนกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นการตอบสนองนโยบายของสานักงานส่งเสริม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ซ่ึงได้ดาเนินการ ดงั นี้ โครงการใช้ชวี ิตแบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง (18-19 พฤษภาคม 2563) สาระสาคัญ เศรษฐกจิ พอเพียง เป็นปรชั ญาทชี่ ้แี นวทางการดารงชวี ิต ท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลย เดชมีพระราชดารสั แก่ชาวไทยนับต้งั แต่ปี พ.ศ. 2517 เป็นตน้ มาและถกู พูดถึงอย่างชดั เจนในวนั ที่ 4 ธนั วาคม พ.ศ. 2540 เพอ่ื เปน็ แนวทางการแก้ไขปญั หาเศรษฐกิจของประเทศไทย ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและย่ังยืนใน กระแสโลกาภวิ ัฒน์และความเปล่ียนแปลงต่างๆ เศรษฐกิจพอเพยี งเป็นปรชั ญาทย่ี ึดหลกั ทางสายกลาง ทช่ี แี้ นวทางการดารงอยแู่ ละปฏบิ ัตขิ องประชาชนใน ทุกระดับให้ดาเนินไปในทางสายกลาง มีความพอเพียง และมีความพร้อมท่ีจะจัดการต่อผลกระทบจากการ เปล่ียนแปลง ซ่ึงจะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวงั ในการวางแผนและดาเนินการทกุ ขน้ั ตอน ท้ังน้ี เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดาเนินชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน เพื่อให้สามารถอยู่ได้แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ท่ีมีการ แข่งขนั สงู วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนที่เข้ารว่ มโครงการมคี วามรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎใี หม่ 2. เพ่ือให้ประชาชนทเี่ ข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับการพัฒนาอาชีพต่าง ๆ ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ กจิ กรรมที่ดาเนินการ จัดกิจกรรมใหป้ ระชาชนกลุ่มเป้าหมายในตาบล ไดแ้ ก่ วทิ ยากรบรรยายความร้เู กยี่ วกับ บรรยายให้ความรู้เกย่ี วกบั หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. บรรยายให้ความรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ พร้อมกับแจกหนังสือแนว ทางการใชช้ ีวิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมพนั ธ์ผุ ัก โดย ครู กศน.ประจาตาบล 2. บรรยายใหค้ วามรู้ เรือ่ ง ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ พรอ้ มกับแจกหนังสือแนว ทางการใช้ชีวติ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง พร้อมพนั ธ์ผุ ัก โดย ครู กศน.ประจาตาบล
ผลท่ไี ดร้ ับจากการดาเนนิ กิจกรรม ประชาชนทีเ่ ข้าร่วมโครงการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ใช้ในการ ดาเนนิ ชวี ิตประจาวัน
บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน จากการสารวจความพึงพอใจ โครงการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เข้าร่วมโครงการ โดยใช้แบบ ประเมินความพึงพอใจ จานวน 10 ฉบับ และได้รับกลับคืนมา จานวน 10 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรม Excel ตามข้ันตอนตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. วเิ คราะห์ขอ้ มลู จากแบบสอบถามตอนที่ 1 โดยแจกแจงความถ่แี ละคา่ ร้อยละ 2. วเิ คราะหข์ ้อมลู จากแบบสอบถามตอนท่ี 2 โดยหาค่าเฉลยี่ (X ) แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ ให้ระดบั คะแนนในแบบสอบถามท่ีเป็นแบบมาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดบั ตามเกณฑ์ประเมินความคิดเห็นของ เบสท์ (Best. 1981 :182) ดงั นี้ 4.51–5.00 หมายถึงความพึงพอใจอย่ใู นระดบั ดีมาก 3.51–4.50 หมายถึงความพงึ พอใจอยู่ในระดับดี 2.51–3.50 หมายถึงความพงึ พอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง 1.51–2.50 หมายถึงความพึงพอใจอยู่ในระดับพอใช้ 1.00–1.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอยู่ในระดับปรบั ปรงุ 3. วเิ คราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนท่ี 3 ข้อมูลที่เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (RatingScale) โดย หาค่าเฉล่ีย ( X ) แปลความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็น ความคดิ เห็น และขอ้ เสนอแนะ ใชว้ ธิ กี ารวเิ คราะห์เน้ือหา (Content Analysis) จัดกลมุ่ คาตอบและหาค่าความถี่ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ กิจกรรมการจัดและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง โครงการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง ท่ีเขา้ รว่ มโครงการดงั น้ี
ข้อมลู พื้นฐานของผู้ประเมินความพึงพอใจ ตารางท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม เพศ อายุ วฒุ ิการศกึ ษา และอาชพี เพศ ข้อมูลทว่ั ไป จานวน รอ้ ยละ อายุ ชาย 5 45.45 การศึกษา หญิง 6 54.55 อาชีพ ต่ากว่า 15 ปี 0 0.00 15-29 ปี 1 0.00 30-39 ปี 1 10.00 40-49 ปี 0 00.00 50-59 ปี 10 90.00 60 ปขี น้ึ ไป 0 00.00 ต่ากวา่ ป.4 0 0.00 ป.4 0 00.00 ประถมศกึ ษา 5 45.45 มธั ยมศึกษาตอนตน้ 4 36.36 มธั ยมศึกษาตอนปลาย 2 18.19 อนปุ รญิ ญา 0 00.00 ปรญิ ญาตรี 0 00.00 สูงกว่าปริญญาตรี 0 00.00 รบั จ้าง 0 00.00 ค้าขาย 0 00.00 เกษตรกรรม 11 100.00 รับราชการ 0 0.00 อื่น ๆ(แมบ่ ้าน) 0 0.00 จากตารางที่ 1 แสดงจานวนผู้ตอบแบบสอบถามทง้ั หมด 11 คน เปน็ เพศชาย จานวน 5 คน (คิดเปน็ ร้อยละ 45.45) เป็นเพศหญงิ จานวน 6 คน (คดิ เป็นรอ้ ยละ 54.55) - ด้านอายุ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ช่วงอายุ 50-59 ปี มากที่สุด จานวน 10 คน (คิดเป็นร้อยละ 90.00) รองลงมาชว่ งอายุ 15-29 ปี จานวน 1 คน (คดิ เปน็ ร้อยละ 10.00) ตามลาดับ - ด้านการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีการศึกษาระดับประถมศึกษา มากที่สุดจานวน 5 คน (คิดเป็นร้อยละ 50.00) รองลงมาคือระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น จานวน 4 คน (คิดเป็นร้อยละ 20.00) และ ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 2 คน (คิดเป็นร้อยละ 10.00) ตามลาดับ
- ด้านอาชีพ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีอาชีพเกษตรกรมากที่สุด จานวน 11 คน (คิดเป็นร้อยละ 100.00) สรปุ ผลการประเมินความพงึ พอใจ โครงการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง ของตาบลท่ีเข้าร่วมโครงการ ได้ดังน้ี แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ มี 4 ดา้ น ผลการประเมนิ ความพึงพอใจทีม่ ตี ่อโครงการโดยรวมและแยกเป็นรายดา้ น ความหมาย รายการประเมนิ X 1. ความพงึ พอใจดา้ นเนอ้ื หา 2. ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม 4.44 ดี 3. ความพึงพอใจต่อวิทยากร 4.45 ดี 4. ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก 4.47 ดี 4.48 ดี รวม 4.46 ดี จากตารางท่ี 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการ โดยรวมและรายด้าน อยู่ใน ระดับ ดี ทุกรายการ เมือ่ พิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ อันดบั หนึ่งคือ ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก รองลงมาความพงึ พอใจต่อวทิ ยากรรองลงมาความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรมและด้านความ พงึ พอใจดา้ นเนือ้ หาตามลาดบั ตอนท่ี 1 ความพงึ พอใจดา้ นเนือ้ หา รายการประเมนิ ผลการประเมิน 1. เนอื้ หาตรงตามความตอ้ งการ X ความหมาย 4.44 ดี 2. เน้อื หาเพยี งพอต่อความต้องการ 4.44 ดี 3. เนอ้ื หาปจั จบุ ันทันสมยั 4.44 ดี 4. เน้ือหามีประโยชน์ตอ่ การนาไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 4.45 ดี รวม 4.44 ดี จากตอนท่ี 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมคี วามพึงพอใจท่มี ีตอ่ โครงการความพึงพอใจด้านเน้ือหาโดยรวม และรายดา้ นอยใู่ นระดบั ดี เมื่อพิจารณาเปน็ รายข้อ พบวา่ อันดับหน่ึงคอื เนือ้ หามีประโยชนต์ อ่ การนาไปใช้ในการ พัฒนาคณุ ภาพชีวิตรองมาอันดับสองสามและสี่ เท่ากัน คือ เน้ือหาตรงตามความต้องการ/เน้ือหาเพียงพอต่อความ ต้องการ/และเน้อื หาปัจจุบันทนั สมัยตามลาดับ
ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม ผลการประเมิน X ความหมาย รายการประเมิน 4.45 ดี 4.44 ดี 1. การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นอบรม 4.46 ดี 2. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 4.45 ดี 3. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 4.45 ดี 4. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย 4.45 ดี 5. วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ รวม จากตอนที่ 2 พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามพอใจด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรมโดยรวมและ รายด้านอยใู่ นระดับ ดี เม่อื พจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ อนั ดบั หนง่ึ คอื การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลาอันดับสอง สามและส่ี คือการจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมาย/วธิ ีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค/์ การเตรยี ม ความพรอ้ มกอ่ นอบรมอนั ดับห้า คอื การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ตามลาดบั ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ วทิ ยากร ผลการประเมิน X ความหมาย รายการประเมิน 4.47 ดี 4.47 ดี 1. วิทยากรมีความรูค้ วามสามารถในเรอื่ งทถี่ ่ายทอด 4.47 ดี 2. วิทยากรมเี ทคนคิ การถ่ายทอดใช้ส่ือเหมาะสม 4.47 ดี 3. วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ สี ่วนรว่ มและซักถาม รวม จากตอนท่ี 3 พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อวิทยากรโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงสองและสาม คือวิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด/ วทิ ยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม/วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ ีส่วนร่วมและซักถามตามลาดบั
ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวก ผลการประเมิน X ความหมาย รายการประเมนิ 4.48 ดี 4.47 ดี 1. สถานที่ วสั ดุ อปุ กรณแ์ ละสง่ิ อานวยความสะดวก 4.49 ดี 2. การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพ่อื ใหเ้ กิดการเรียนรู้ 4.48 ดี 3. การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปญั หา รวม จากตอนที่ 4 พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวกโดยรวมและราย ด้านอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงสอง คือการบริการ การช่วยเหลือและการ แก้ปัญหา อนั ดบั สอง คือ สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก และอันดับสาม คือ การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพ่อื ให้เกดิ การเรยี นรู้ตามลาดับ
บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ผลการดาเนิน โครงการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีเข้าร่วมโครงการครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อ ประเมินผลความพึงพอใจของผู้เรียน/ผู้รับบริการที่มีต่อโครงการโดยรวมและแยกเป็นรายด้าน โดยใช้ แบบสอบถามจานวน 10 ฉบบั เคร่ืองมอื ท่ีใชเ้ ปน็ แบบสอบถามทเ่ี ปน็ แบบมาตราส่วนประมาณคา่ 5 ระดับ ตาม เกณฑ์ประเมนิ ความคิดเหน็ ของเบสท์ (Best. 1981 : 182) วเิ คราะหข์ ้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย (X ) แปลความหมาย ข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลท่ีเป็นความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ใช้ วิธกี ารวเิ คราะหเ์ น้ือหา (Content Analysis) จดั กลุ่มคาตอบ และหาค่าความถี่ สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ จากแบบประเมินความพงึ พอใจสรุปผลได้ ดงั น้ี 1. ผ้ตู อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจทม่ี ีต่อโครงการความพึงพอใจด้านเน้ือหา โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับ ดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงคือ เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพชวี ิตรองมาอนั ดบั สองสามและส่ี เทา่ กนั คือ เน้ือหาตรงตามความต้องการ/เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ/ และเนอื้ หาปัจจบุ ันทนั สมัย ตามลาดบั 2. ผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามพึงพอใจทมี่ ีต่อโครงการ โดยรวมและรายดา้ น อยใู่ นระดับ ดี ทกุ รายการ เม่อื พจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ อนั ดบั หนงึ่ คือ ความพงึ พอใจดา้ นการอานวยความสะดวกรองลงมาความพงึ พอใจตอ่ วทิ ยากร รองลงมาความพงึ พอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม และดา้ นความพงึ พอใจด้าน เนือ้ หาตามลาดับ 3. ผ้ตู อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อวิทยากรโดยรวมและรายด้านอยใู่ นระดบั ดี เมื่อพิจารณาเปน็ รายข้อ พบว่า อนั ดับหน่ึงสองและสาม คอื วิทยากรมคี วามรูค้ วามสามารถในเรอื่ งท่ีถา่ ยทอด/วิทยากรมเี ทคนคิ การ ถา่ ยทอดใชส้ ื่อเหมาะสม/วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีส่วนรว่ มและซกั ถามตามลาดบั 4. ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวกโดยรวมและรายดา้ นอยูใ่ นระดับดี เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายข้อ พบวา่ อันดับหนง่ึ สอง คอื การบรกิ าร การชว่ ยเหลือและการแกป้ ญั หา อนั ดบั สอง คือ สถานที่ วัสดุ อปุ กรณแ์ ละส่ิงอานวยความสะดวก และอันดบั สาม คือ การส่ือสาร การสร้างบรรยากาศเพอ่ื ให้ เกดิ การเรยี นรู้ตามลาดบั
ผลการดาเนนิ งาน ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบตั ิงาน - ขอ้ เสนอแนะ -
ภาคผนวก
ภาพการจัดกจิ กรรม โครงการใชช้ ีวิตแบบเศรษฐกจิ พอเพียง ระหว่างวนั ที่ 18-19 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ณ ทท่ี าการกานนั ตาบลบ้านเกาะ หมู่ 3 อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
บันทึกข้อความ ส่วนราชการ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางไทร ที่ ศธ ๐๒๑๐.๔๘๐๕/๗๗๑ วันท่ี ๔ เดอื น มถิ ุนายน ๒๕๖๓ เร่อื ง รายงานผลการดาเนินงานโครงการใช้ชวี ิตแบบเศรษฐกจิ พอเพียง ............................................................................................................................. ....................................................... เรียน ผอู้ านวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางไทร ตามทีผ่ อู้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางไทร ได้อนมุ ตั ิ โครงการใชช้ วี ิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตาบลไม้ตรา ได้ดาเนินการจัดโครงการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ในระหว่างวันท่ี ๑๘ - ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ณ ทที่ าการผู้ใหญ่บ้านกาะ หมู่ท่ี ๓ ตาบลบ้านเกาะ อาเภอบางไทร จังหวัด พระนครศรีอยุธยา มผี ู้เขา้ รว่ มโครงการ จานวน ๑๐ คน เอกสารดังแนบมาพร้อมนี้ จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบ (นายสมเจตท์ วบั สันเทียะ) ครู กศน.ตาบล ทราบ อืน่ ๆ (นางสาววรศิ รา คานึงธรรม) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางซา้ ย รักษาการในตาแหนง่ ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอบางไทร
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: