Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สงขลา

สงขลา

Published by NaraSci, 2022-03-29 06:37:18

Description: สงขลา

Search

Read the Text Version

สงขลา

สสงงขขลลา า



มัสยิดกลาง 4 สงขลา

การเดนิ ทาง สารบญั สถานที่ทอ่ งเที่ยว ๗ อ�ำเภอเมืองสงขลา ๑๑ อ�ำเภอกระแสสินธุ์ อำ� เภอควนเนยี ง ๑๑ อำ� เภอจะนะ ๒๓ อำ� เภอเทพา ๒๔ อำ� เภอนาทวี ๒๔ อำ� เภอระโนด ๒๔ อำ� เภอรัตภมู ิ ๒๕ อำ� เภอสะเดา ๒๗ อำ� เภอสะบ้าย้อย ๒๘ อำ� เภอสทงิ พระ ๒๘ อำ� เภอสิงหนคร ๓๐ อำ� เภอหาดใหญ่ ๓๐ ๓๒ เทศกาลงานประเพณี ๓๓ สินค้าพนื้ เมืองและของที่ระลึก กิจกรรมท่องเที่ยว ๓๘ ตวั อยา่ งรายการนำ�เท่ยี ว ๓๙ ส่ิงอำ�นวยความสะดวก ๔๐ ๔๐ สถานท่ีพัก ๔๒ รา้ นอาหาร ๔๒ ขอ้ แนะนำ�ในการท่องเทีย่ ว ๔๙ หมายเลขโทรศัพทส์ ำ�คญั ๕๒ ๕๒

ทะเลสาบสงขลา สงขลา นกนำ้� เพลนิ ตา สมิหลาเพลินใจ เมืองใหญส่ องทะเล เสนห่ ส์ ะพานปา๋ ศนู ยก์ ารค้าแดนใต้

สงขลา มชี ื่อปรากฏคร้งั แรกระหว่าง พ.ศ. ๑๙๙๓- มาฝั่งตะวันออกของแหลมสน คือเขตเทศบาลนคร ๒๐๙๓ ในบันทึกของพ่อค้าและนักเดินเรือชาว สงขลาในปัจจุบัน ส่วนสมัยพระบาทสมเด็จพระ อาหรบั -เปอรเ์ ซยี ซงึ่ เรยี กเมอื งนวี้ า่ “สงิ หลา” แปลวา่ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้พระวิจิตร เมอื งสงิ ห์ เพราะขณะแลน่ เรอื เขา้ มาคา้ ขาย เหน็ เกาะ วรสาสน์ (ปั้น สุขุม) เป็นข้าหลวงพิเศษมาตรวจ หนูและเกาะแมว เมื่อมองแต่ไกลคล้ายเป็นรูปสิงห์ ราชการเมืองสงขลา ได้ตั้งมณฑลนครศรีธรรมราช สองตวั หมอบเฝา้ ปากทางเขา้ เมือง ส่วนคนไทยเรียก ขึน้ และเมืองสงขลาใหเ้ ป็นทีต่ ้งั ของศาลาวา่ การภาค เมอื งนี้ว่า “เมืองสทงิ ” ใต้ ครั้นถึง พ.ศ. ๒๔๗๕ มีการยุบมณฑลและภาค เมืองสงขลามีเรื่องราวสืบต่อกันต้ังแต่สมัยก่อน เปลีย่ นเป็นจงั หวดั สงขลาจงึ เป็นจังหวัดหนงึ่ ในภาค ประวัติศาสตร์ สันนิษฐานว่าบริเวณอ�ำเภอสทิงพระ ใต้จนถงึ ปัจจุบนั เคยเป็นศูนย์กลางของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้ จังหวัดสงขลา ครอบคลุมพื้นท่ี ๗,๓๙๓ ตาราง รบั วฒั นธรรมอนิ เดยี โดยตรงในสมยั อาณาจกั รศรวี ชิ ยั กโิ ลเมตร ประกอบดว้ ย ๑๖ อำ� เภอ คือ อำ� เภอเมอื ง ต่อมาชื่อเมืองสทิงพระเริ่มเลือนหายไป เกิดชุมชน สงขลา อ�ำเภอกระแสสินธุ์ อ�ำเภอคลองหอยโข่ง แห่งใหม่ใกล้เคียงขึ้นแทน เรียกว่า “เมืองพัทลุงที่ อำ� เภอควนเนยี ง อำ� เภอจะนะ อำ� เภอเทพา อ�ำเภอ พะโคะ” ซึ่งมีความเจริญรุ่งเรืองและเป็นศูนย์กลาง นาทวี อำ� เภอนาหมอ่ ม อำ� เภอบางกลำ�่ อำ� เภอระโนด ของพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ ต่อมาโจรสลัด อำ� เภอรัตภูมิ อำ� เภอสทิงพระ อ�ำเภอสะเดา อ�ำเภอ มลายเู ขา้ มาคกุ คาม ทำ� ใหเ้ มอื งพทั ลงุ ทพี่ ะโคะคอ่ ย ๆ สะบ้ายอ้ ย อ�ำเภอสงิ หนคร และอำ� เภอหาดใหญ่ เสือ่ มลง และเกิดชมุ ชนขนาดใหญข่ ้ึน ๒ แห่ง รอบ ทะเลสาบสงขลาคือ บริเวณเขาแดงปากทะเลสาบ การเดินทาง สงขลา ได้กลายเป็นเมืองสงขลาริมเขาแดง และอีก รถยนต์ จากกรงุ เทพมหานคร ใช้ทางหลวงหมายเลข แห่งที่บางแกว้ อำ� เภอเขาชัยสน จังหวดั พทั ลงุ กลาย ๓๕ (ธนบุรี-ปากท่อ) ผ่านจังหวัดสมุทรสาคร เป็นเมืองพัทลุง ต่อมาเจ้าเมืองสงขลาเป็นกบฎไม่ สมุทรสงคราม แยกซ้ายที่สามแยกวังมะนาว เข้าสู่ ยอมข้ึนต่อกรุงศรีอยุธยา จึงถูกสมเด็จพระนารายณ์ ทางหลวงหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ผา่ นจังหวัด มหาราชปราบปรามจนราบคาบ และถูกปล่อยให้ เพชรบุรี ประจวบคีรขี นั ธ์ ถงึ ชมุ พร และใชท้ างหลวง ทรุดโทรมจนตกเป็นเมืองข้ึนของเมืองพัทลุง และ หมายเลข ๔๑ ผ่านจงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี อ�ำเภอทงุ่ สง ชว่ ง พ.ศ. ๒๒๔๒-๒๓๑๙ เมืองสงขลาได้ย้ายไปต้ัง ถึงจังหวัดพัทลุง บรรจบกับทางหลวงหมายเลข ๔ ขน้ึ ใหมท่ บี่ รเิ วณบา้ นแหลมสน เรยี กวา่ “เมอื งสงขลา อกี ครงั้ ผา่ นอำ� เภอหาดใหญ่ เขา้ สจู่ งั หวดั สงขลา รวม ฝั่งแหลมสน” ใน พ.ศ. ๒๓๑๘ พระเจ้ากรุงธนบุรี ระยะทาง ๙๕๐ กิโลเมตร โปรดเกลา้ ฯ ให้ จนี เหยยี่ ง แซ่เฮา่ ซ่งึ เป็นนายอากร รถโดยสารประจ�ำทาง บริษัท ขนส่ง จ�ำกัด (บขส.) รังนก ขึ้นเป็นเจ้าเมืองสงขลา และพระราชทินนาม สายกรงุ เทพฯ-สงขลา และ กรงุ เทพฯ-หาดใหญ่ ออก เปน็ “หลวงสวุ รรณครี สี มบตั ”ิ (ตน้ ตระกลู ณ สงขลา) จากสถานขี นสง่ ผโู้ ดยสารกรงุ เทพฯ (สายใตใ้ หม)่ ถนน เช้ือสายของตระกูลน้ีได้ปกครองเมืองต่อกันมา บรมราชชนนี ทกุ วัน สอบถามข้อมูล โทร. ๑๔๙๐, ไมข่ าดสาย ตอ่ มาในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ ๐ ๒๘๙๔ ๖๑๒๒ ส�ำนกั งานสงขลา โทร. ๐ ๗๔๓๒ เจ้าอยู่หัว มีการฝังหลักเมืองและย้ายเมืองสงขลา ๑๓๔๙ ส�ำนักงานหาดใหญ่ โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๒๗๘๙ สสงงขขลลาา 77

สงขลา มชี ่ือปรากฏครัง้ แรกระหว่าง พ.ศ. ๑๙๙๓- มาฝั่งตะวันออกของแหลมสน คือเขตเทศบาลนคร ๒๐๙๓ ในบันทึกของพ่อค้าและนักเดินเรือชาว สงขลาในปัจจุบัน ส่วนสมัยพระบาทสมเด็จพระ อาหรบั -เปอรเ์ ซยี ซงึ่ เรยี กเมอื งนวี้ า่ “สงิ หลา” แปลวา่ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้พระวิจิตร เมอื งสงิ ห์ เพราะขณะแลน่ เรอื เขา้ มาคา้ ขาย เหน็ เกาะ วรสาสน์ (ปั้น สุขุม) เป็นข้าหลวงพิเศษมาตรวจ หนูและเกาะแมว เมื่อมองแต่ไกลคล้ายเป็นรูปสิงห์ ราชการเมืองสงขลา ได้ตั้งมณฑลนครศรีธรรมราช สองตวั หมอบเฝา้ ปากทางเขา้ เมือง สว่ นคนไทยเรียก ขน้ึ และเมอื งสงขลาให้เป็นท่ตี ั้งของศาลาว่าการภาค เมืองน้วี า่ “เมอื งสทิง” ใต้ คร้ันถึง พ.ศ. ๒๔๗๕ มีการยุบมณฑลและภาค เมืองสงขลามีเรื่องราวสืบต่อกันตั้งแต่สมัยก่อน เปลี่ยนเป็นจงั หวัด สงขลาจึงเปน็ จังหวดั หนงึ่ ในภาค ประวัติศาสตร์ สันนิษฐานว่าบริเวณอ�าเภอสทิงพระ ใต้จนถงึ ปจั จุบัน เคยเป็นศูนย์กลางของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้ จังหวัดสงขลา ครอบคลุมพ้ืนที่ ๗,๓๙๓ ตาราง รบั วฒั นธรรมอนิ เดยี โดยตรงในสมยั อาณาจกั รศรวี ชิ ยั กโิ ลเมตร ประกอบด้วย ๑๖ อ�าเภอ คือ อา� เภอเมือง ต่อมาช่ือเมืองสทิงพระเร่ิมเลือนหายไป เกิดชุมชน สงขลา อ�าเภอกระแสสินธุ์ อ�าเภอคลองหอยโข่ง แห่งใหม่ใกล้เคียงขึ้นแทน เรียกว่า “เมืองพัทลุงท่ี อา� เภอควนเนยี ง อา� เภอจะนะ อ�าเภอเทพา อา� เภอ พะโคะ” ซึ่งมีความเจริญรุ่งเรืองและเป็นศูนย์กลาง นาทวี อา� เภอนาหมอ่ ม อา� เภอบางกลา่� อา� เภอระโนด ของพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ ต่อมาโจรสลัด อ�าเภอรตั ภมู ิ อ�าเภอสทงิ พระ อ�าเภอสะเดา อา� เภอ มลแพายขนเู ขานา้ ยมนาตค์ กุ คาม ทา� ใหเ้ มอื งพทั ลงุ ทพ่ี ะโคะคอ่ ย ๆ สะบ้ายอ้ ย อ�าเภอสิงหนคร และอ�าเภอหาดใหญ่ เเมยไเเแฝทโเขทรสชปจสช-wเป๘๗-๐ส๑ส-หหร๙กปมังอนหึ้ว่งั่งอหะรถอ่ืบ้้ืา�ำำ�นน็ข่รอบา็ร๙๙๖๕ขนาแงwมุบดใ่งกเ๗าไนนอุดมงดารลหกดลสรหทเ๗๘๙๒ฟพข“ชโรรw๔เดษิมยักกัใลเิษสาทมาใที่บลึ้นหิาษ๑๒๐น๕กห.สจู๓งงื่.องหทขัหศาัทยท่ชรtมพาตลลัท,,าา ญาาไrึ้นบง๑ัวส.มญขงบ่ีปสสดนนว้ากa่อแย๐๐ฯพศ่เแ๒อสจฯองnยรน้กสกลรสสโ๓ปป่-รตมัทกสบงทเิ๒นห๒๒าsถางละรงง”ีส็นวโ๒ิยอ่ีขก้วใวุลpมถตรบขขุงาตเทาา๒๔๘ณยหเะม๑รกลาศุ.นงoเาลลจยดอรใปกา๒๙รด๒ร้ราริดาบมน๑๐รรrี้าเาาะา�ใมจเณุ.ร่ใงนิtฝป๐ค๔ต-ชีอถขเาห้ปเนก.ทีนเา๒มสโโภรัc๗งือน่็นไอุมคยรพ้อ๐ญ็นททสูมลฟ๔เ๖วัถำ�ือหo๓ืออุธรีแชม๔เมห.มนรรเรจมน่กศง.๓๓สีบลยเงจห๑นมาูลt๔ย..์ข๗ยัสนกัทือรี้ท.hไมัาจก๓ำ�๓เรืลขไอีย่๙า๐๐๒พงงจุดงง๔รุกดก�ำิบัเวเ๒ม๔น๐ชงงเขา วส้รมจาาก้ทดัท้ปรวเ๒ตัรข๘ัยส๗๗นาล๓,-ณะเงึงมบือดั์แันพ๒ี่”ิมถ้ึกดนสนโข๓๐าถหบ๒๔๔๑ือจซงคทเฯืใอนคโลขโขูก(าา๒๓๓แ�ำเสเ่ง๘หาตสทรดแ๒รงฮทาดอร(สากส๔ลำ�๙บ๑๑.จหนญ้อยีสลรรยา่แ๒อใมงสน๐ัดงะังพ๖.วัหิมตกบะงเข่ดสมแเง๒ขห๓๓ักยลมซ๐ขดวรพเรญ๒๓ถึ้นเงเลขลาโ๐งว้ำา๒๒�ึง่ะืา่อะลดม็จปราท๘า่๘าโะัดราเ๒ยกโเ๑๑จพง็าืะ“อพมป๒นาแ๔จรไ๙ทถปพเ,ล๘ูพเพรเ๑๑ดรกขงมง็น.ด้สาปู๔กมร๔ัทาร๘ั)ะทรตณ้ทก้แ๐ยืออนงง.็อ๐ืนปชั๔มบละสสน๕ข๖ล่ห๐ร้อมาะงางทกนขลีุง๔ำ�ำ�สแาุลงอุสงยย๑ง่เสูลก๗๒นนบินบ๗๗ร่งั่งลธอลากองไางั๖นสเขา๔นกัักวน๘แสประฎ๔๙ยขลขกากโโยถ๐ลนมองงอบลาาทใ๔กลตลาทไ๘ล๔๘าณาาาารห-มบบมาีกยะุรราา้าั้งรร๕๒๑๒๒นนน)ศถ่้์ี..ี กราถรไฟเดหาินดทใหาญง่ โทร. ๐ ๗๔๒๖ ๑๒๙๐, ๐ ๗๔๒๓ ร๔ถ๙ยน๗ต๘์ จwากwกwร.งุrเaทilพwมaหy.าcนoค.tรhใชท้ างหลวงหมายเลข ๓เค๕ร่ือ( งธบนินบุ รสี -าปมาากรทถ่ ไอป) ลผงท่ า่านอจาั งกหาวศั ดยสานมุนทารนสาาชคารติ สหมาุทดรใสหงญค่ รสาอมบถแายมกขซอ้ ้ามยลูท่ีสโทามร.แ๐ยก๗วั๔งม๒ะ๒นา๗ว๑๓เข๑้าสมู่ ี ทสาางยหกลาวรงบหนิ มทาใี่ยหเล้บขรกิ๔าร(ถดนงันนเพี้ ชรเกษม) ผา่ นจงั หวัด เพออชกรบจาุรกี ปทร่าะอจาวกบาคศรียีขาันนธน์ าถนงึ ชาชุมาพตรสิ แวุ รลระณใชภท้ ูมาิงหลวง ห-มสาายยเลกขาร๔บ๑ินผไา่ทนยจงัสหมวาัดยสลรุ์ โาทษรฎ.ร๑์ธ๑าน๘ี ๑อ�า, เ๐ภอ๒ท๑ุ่งส๑ง๘ ถ๘ึง๘จัง๘ห๘วัดwพwัทwล.tุงhบaiรsรmจiบleกaับirท.cาoงmหลวงหมายเลข ๔ ออกี อคกรจงั้ าผกา่ ทนา่ ออา� าเกภาอศหยาาดนใหดอญน่ เเขมา้ อื สงจู่ งั หวดั สงขลา รวม ร-ะสยาะยทกาางรบ๙นิ๕๐ไทกยโิ ไลลเอมอ้ตนร แอร์ โทร. ๐ ๒๕๒๙ ๙๙๙๙ รwถโwดwยส.lาioรnปaรiะrtจh�าaทi.าcงomบริษัท ขนส่ง จ�ากัด (บขส.) ส-าสยากยรกงุ าเทรบพนิ ฯ-นสกงแขอลรา์ โแทลระ. ๑ก๓ร๑งุ เ๘ทพwฯw-หwา.nดoใหkaญir่.อcอoกm จ-ากสสาถยากนาขีรบนสินง่ ผแโู้อดรย์ สเอารเชกียรงุ เโททพร.ฯ๐(สา๒ย๕ใต๑ใ้ ๕หม๙)่ ถ๙น๙น๙ บwรwมรwา.ชaชirนasนiaี ท.cุกoวmัน สอบถามข้อมลู โทร. ๑๔๙๐, ๐หา๒ก๘ล๙งร๔ถโ๖ด๑ย๒ส๒ารปสา�รนะจัก�ำงทานางสงรขถลไฟา โหทรรือ.เ๐คร๗อื่ ๔งบ๓ิน๒ที่ ๑อ๓�ำ๔เภ๙อหสา�าดนใกั หงญาน่ หสาามดาใหรถญเ่ดโินททรา. ง๐เข๗้าต๔ัว๒เม๓ือง๒ส๗ง๘ขล๙า 888 สสงสงขงขลขลาลาา

โดยรถยนต์ได้ ๒ เส้นทาง คือ ถนนกาญจนวนิช นอกจากน้ี มแี พขนานยนตข์ องทา่ เรอื องคก์ ารบรหิ าร (ทางหลวงหมายเลข ๔๐๗) หรอื ถนนลพบรุ รี าเมศวร์ สว่ นจงั หวดั สงขลา ใหบ้ รกิ ารรบั -สง่ จากทา่ เรอื บรเิ วณ (ทางหลวงหมายเลข ๔๑๔) ใชเ้ วลาเดนิ ทาง ๒๐ นาที แหลมสนออ่ น ถนนแหลง่ พระราม อำ� เภอเมอื งสงขลา มีรถสองแถวประจ�ำทางและรถรับจ้างจากตัวอ�ำเภอ ข้ามทะเลสาบสงขลาไปท่าเทียบเรือบ้านเขาแดง หาดใหญว่ ่ิงเข้าตวั เมอื งสงขลาตลอดท้ังวนั อำ� เภอสงิ หนคร ตงั้ แตเ่ วลา ๐๕.๐๐-๒๒.๐๐ น. แพออก ทุก ๑๕ นาที ใชเ้ วลาเดนิ ทาง ๑๐ นาที คา่ บริการ การเดินทางภายในจังหวัด รถยนต์ ๒๐ บาท รถจกั รยานยนต์ ๓ บาท ผู้โดยสาร ในตวั เมอื งสงขลามรี ถสองแถวประจ�ำทาง รถสามลอ้ ที่มากับรถไม่เสียค่าใช้จ่าย สอบถามข้อมูล โทร. ๐ เครอื่ ง และจกั รยานยนตร์ บั จา้ ง วง่ิ ใหบ้ รกิ ารไปทต่ี า่ ง ๆ ๗๔๓๑ ๒๓๕๘ ในเขตตวั เมอื ง โดยควิ รถสว่ นใหญจ่ อดใหบ้ รกิ ารอยทู่ ่ี หอนาฬกิ า บรเิ วณสแี่ ยกถนนรามวถิ ตี ดั กบั ถนนจะนะ การเดินทางจากสงขลาไปจงั หวัดใกล้เคียง และถนนปละท่า รถประจำ� ทาง มรี ถไปจงั หวดั ใกลเ้ คยี งในภาคใต้ ไดแ้ ก่ การเดินทางไปต่างอ�ำเภอ มีรถสองแถวและรถตู้ ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ตรัง ประจำ� ทางให้บริการ สามารถขน้ึ รถไดท้ สี่ ถานขี นสง่ กระบี่ พงั งา ภูเกต็ และยะลา ขนึ้ รถได้ทสี่ ถานขี นสง่ ผู้โดยสารจังหวัดสงขลา หรือสถานีขนส่งผู้โดยสาร ผโู้ ดยสารหาดใหญ่ โทร. ๐ ๗๔๔๒ ๙๗๕๙แพขนานยนต์ หซตท-wเ๗ึ่งลอาา๙เwงดบากปอ๘ดใชรw็นอหเิษ๑น.กถกญtัท,rษนจสa๐่ าอตนnแปกบรห๒sลิยตpถล๘ะะวัแoาักส๙เรมลrมทถุ่งt๔ขะือ.เา่ีรcรต้องนถ๖oือมสลยีใ.๓งงลูtอหนทhข๓ได้บตดลัว๐เร้ท์รแาสร-ิกไ์๒ลี่้นถปจาะทโอร�สารดารำ�ก�าถยงถเนัดปภถสตกั รอนู้าโงะตทนหารจา่นรกปร�ำง.สืาอทรๆญงท๐ับาข ่ีเจง ลอรใ๒นียาชาว๘ก้เกโดนท๘วาินิช่าร๕ศ. ๐ทเร๔เสหพถุคกาา๗๙ตชรวยดู้๔๗ร่ือันกใอเ๒๘หงากอบสร๕ญษกwบินอ่จม๕wินสบา๓สอทwอถกบา๓ใี่�ำสา.หมrถ๓เมถa้บภาาาiขlรมมรอนw้อถกิขเีหีรสaมาไอ้ถาป้นyรูลมตด.ทลcลูดู้โใoโงาดงัหททงโ.นยtทวญร่hาสี้ งิ่ร.อ่าใ.ไหรา๐ป๐ตกบ้ จลา๗ร๗ังศาิก๔๔หดยา๒๒วเรากัดน๒๕ไษใดนตก๗๕้แารล๑กน๐้เ่๓าถ๗คช๑นีย๔านง,มติี ๐ ๗๔๓๑ ๓๒๑๑ สา� นกั งานหาดใหญ่ โทร. ๐ ๗๔๔๒ ออกจากท่าอากาศยานนานาชาตสิ วุ รรณภูมิ ๘๙๗๒ - สายการบนิ ไทย สมายล์ โทร. ๑๑๘๑, ๐ ๒๑๑๘ - บรษิ ัท ศรีสยามทัวร์ จา� กัด โทร. ๐ ๒๘๘๕ ๗๙๘๑ ๘๘๘๘ www.thaismileair.com ส�านักงานสงขลา โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๓๒๑๑ ส�านกั งาน ออกจากท่าอากาศยานดอนเมือง หาดใหญ่ โทร. ๐ ๗๔๔๒ ๘๒๒๙ - สายการบนิ ไทย ไลออ้ น แอร์ โทร. ๐ ๒๕๒๙ ๙๙๙๙ - บรษิ ทั สยามเดนิ รถ จา� กดั โทร. ๐ ๒๘๙๔ ๖๑๖๐-๒ www.lionairthai.com สา� นกั งานสงขลา โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๓๒๑๑ ส�านักงาน - สายการบนิ นกแอร์ โทร. ๑๓๑๘ www.nokair.com หาดใหญ่ โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๔๖๓๘, ๐ ๗๔๔๒ - สายการบนิ แอร์ เอเชยี โทร. ๐ ๒๕๑๕ ๙๙๙๙ ๙๕๒๕ www.airasia.com รถไฟ จากสถานรี ถไฟกรงุ เทพฯ (หวั ลา� โพง) มขี บวนรถ หากลงรถโดยสารประจา� ทาง รถไฟ หรอื เครอื่ งบนิ ท่ี กรุงเทพฯ-หาดใหญ่ ทุกวัน สอบถามข้อมูล โทร. อ�าเภอหาดใหญ่ สามารถเดินทางเข้าตัวเมืองสงขลา ๑๖๙๐, ๐ ๒๒๒๐ ๔๓๓๔, ๐ ๒๒๒๐ ๔๔๔๔ สถานี โดยรถยนต์ได้ ๒ เส้นทาง คือ ถนนกาญจนวนิช รถไฟหาดใหญ่ โทร. ๐ ๗๔๒๖ ๑๒๙๐, ๐ ๗๔๒๓ (ทางหลวงหมายเลข ๔๐๗)สหถารนอื ีรถถตนูโ้ ดนยลสพารบตลุรารี ดาเเกมษศตรวร์ สสงสงขงขลขลาลาา 999

หับ โห้ หนิ้ หับ โห้ หน้ิ (ทางหลวงหมายเลข ๔๑๔) ใชเ้ วลาเดนิ ทาง ๒๐ นาที ซ่ึงเป็นถนนหลักท่ีรถยนต์และรถประจ�าทางใช้เดิน มหีราถดสใอหงญแถ่-กวประรบะจ่ี �าเวทลาางเแดลินะรรถถร๐ับ๘จ้า.๐งจ๐า-ก๑ต๗ัว.อ๐�า๐เภอน. ทสาองบอถอากมจขากอ้ ตมัวูลเมโทืองรส. ง๐ขล๗า๔ไป๒อ๔า� เภ๕อ๖ต๕า่ ๕ง,ๆ๐ ๗๔๒๕ หสาอดบใหถาญม่วขิง่ อ้เขมา้ ูลตวัโทเมรอื . ง๐สง๗ข๔ล๒าต๕ล๔อด๖ท๔้ัง๒ว,ัน๐๘ ๑๖๙๑ น๔อ๕ก๔จา๗กน้ี มแี พขนานยนตข์ องทา่ เรอื องคก์ ารบรหิ าร ๖๘๔๔ สหว่ านดจใงัหหญว-่ดั สสรุ งาขษลฎารธ์ใหานบ้ ีรเวกิ ลาารเรดบันิ -รสถง่ จ๐า๗ก.๐ท๐า่ เ-ร๑อื ๗บ.ร๐เิ ๐วณน. กหาารดเดใินหทญา่-งตภราังยใเนวลจาังหเดวินัดรถ ๐๖.๐๐-๑๘.๐๐ น. แสหอลบมถสานมอขอ่ อ้ นมถูลนโนทแรห. ล๐ง่ พ๗ร๔ะ๒ร๕าม๙อ๖า� ๒เภ๑อ,เม๐อื ๖งส๒ง๙ขล๗า๙ ใสนอตบวั เถมาอื มงขสอ้ งมขลู าโมทรี ถ. ๐สอ๘ง๕แถ๘ว๙ป๕ระ๓จ๐า� ๕ท๑าง, ๐รถ๘ส๔าม๖ล๓อ้ ๑ ข๘้า๒ม๓ท๒ะ,เล๐ส๖าบ๒ส๙ง๗ข๙ลา๘ไ๒ป๗ท๒่าเทียบเรือบ้านเขาแดง เค๓ร๐อื่ ๒ง๕และจกั รยานยนตร์ บั จา้ ง วงิ่ ใหบ้ รกิ ารไปทต่ี า่ ง ๆ อรา� ถเภไฟอสจงิ าหกนสคถราตนงั้ีรแถตไเ่ฟวลหาด๐ใ๕ห.๐ญ๐่ ม-๒ขี ๒บ.ว๐น๐รถนไ.ปแจพังอหอวกดั ใหนเาขดตใตหวั ญเม่-นอื งคโรดศยรคีธวิรรถมสรว่ านชใหเวญลจ่ าอเดใินหรบ้ ถรกิ ๐า๖รอ.๐ย๐ทู่ ี่- ทใุกล๑้เค๕ียงนใานทภี าใคชใ้เวตล้ าไดเด้แนิ กท่ าชงุมพ๑ร๐ นนคารทศี รคีธ่ารบรรมกิ ราารช ห๑อ๘น.า๐ฬ๐กิ านบ. สรเิอวบณถสาแ่ี มยขกอ้ ถมนูลนรโทามร.วถิ๐ตี ๗ดั ก๔บั๒ถ๕น๒นจ๓ะ๖น๓ะ รพถัทยนลตุง์ ๒ย๐ะลบาาทแลระถนจรัการธยิวาานสยนสตอ์ บ๓ถบาามทข้อผมู้โดูลยสโทาร. แหลาะดถในหนญป่-ลพะัททล่าุง เวลาเดินรถ ๐๖.๐๐-๑๙.๓๐ น. ท๑ี่ม๖า๙กับ๐ร, ถ๐ไม๗่เ๔สีย๒ค๖่าใ๑ช๒้จ๙่าย๐,ส๐อบ๗ถ๔า๒ม๓ข้อ๔ม๙ูล๗โ๘ทร. ๐ กสาอรบเดถินามทขาอ้ งมไปูลตโ่าทงรอ. �า๐เ๘ภอ๙๕ม๙ีร๙ถส๒อ๒งแ๙ถ๑วและรถตู้ ๗๔๓๑ ๒๓๕๘ ปหราะดจใา� หทญาง่-ใภหูเ้บกร็ตกิ าเวรลสาาเดมินารรถถขึน้ ๐ร๗ถ.ไ๐ด๐้ท-สี่ ๒ถ๒าน.๐ขี ๐นสนง่ . ระยะทางจากตวั เมืองไปอำ� เภอต่าง ๆ ผสู้โอดบยถสามรจขังอ้ หมวูลัดโสทงรข.ล๐า ๗ห๔ร๒ือส๕ถ๘าน๖ีข๑น๒ส, ่ง๐ผ๘ู้โด๐ย๕ส๓าร๘ กอา�ำรเเภดอนิ สทิงาหงนจคารก ส ง ข ล าไปจงั หวดั ใ๒ก๖ล้เ ค ีย ง กโิ ลเมตร ห๓า๖ด๒ให๕ญ่ และสถานีให้บริการรถตู้ หรือที่เรียกว่า รอถ�ำปเรภะอจหา� าทดาใงหมญรี ่ ถ ไ ป จ งั ห ว ดั ใกลเ้ คยี ๒งใ๖น ภ า คใกตโิ้ ไลดเมแ้ ตกร่ ตหลาาดดใเหกญษต่-สรตแูลละเวตลลาอเดินเสร้นถทา๐ง๖ถ.น๐น๐ก-า๑ญ๗จ.๓น๐วนินช. ชอุม�ำพเภรอรนะานหอมงอ่ มส ุร า ษ ฎ ร ์ธ า น ี นครศ๓ร๔ีธร ร ม รากชโิ ลตเมรตังร 111000 สสงสงขงขลขลาลาา

อกำ� รเภะบอี่สพทังงิ งพารภะูเ ก ต็ แ ล ะ ย ะ ลา ข้นึ ร๓ถ๖ได ้ท ่ีสถกาโินลขีเมนตสร่ง รสบั อปบรถะาทมาขน้อไดม้ยูลาโกทเรช.่น๐ข๗ี้ม๔อด๒๕ทอ๘ง๖เอ๑ก๒ข,้า๐ว๘ฟา่ ๐งก๕ว๓น๘ อผำ� โู้ เดภยอสจาะรนหะา ดให ญ่ โทร. ๐ ๗๔๔๒๓๙๗๗ ๕ ๙กโิ ลเมตร ข๓น๖ม๒ก๕ระบอก ขนมบตู ู ส�ำปนั นี นอกจากนี้ ยงั มีร้าน อรำ� ถเภตู้ออคอลกอจงหากอสยถโขา่งน ีร ถ ต ู ้โ ด ย สารต๔ล๓า ด เ ก ษกตโิรลเมถตนรน ไหอศาดกรใหมี ญรา้่-สนตขูล้าวสเวตลู แาลเดะินรา้รนถกา๐แ๖ฟ.โ๐บ๐รา-๑ณ๗ฯ.๓ลฯ๐ น. อเำ�พเภชอรเบกาษงกมลอ�่ำ �า เ ภ อ ห า ด ใ ห ญ ่ ไ ป๔จ๖ังห ว ัดใกโิ ลเ้ มคตียรง จสุดอเรบิ่มถตาม้นขอ้ มงกูลาโรทเดริน. ช๐ม๗ย่า๔น๒เ๔ก่า๕เม๖ือ๕ง๕สง, ข๐ลา๗๔ค๒วร๕ อทำ� ุกเภวอันนาสทอวบ ี ถ า ม ข ้ อ ม ู ล โ ท ร . ๐ ๕๗๒๔ ๒ ๕ ก๕โิ ล๐เม๗ต๔ร, เร๔ิ่ม๕ต๔้น๗จากประตูเมืองสงขลาไปตามถนนนครนอก อ๐ำ� เ๗ภอ๔ร๒ัต๕ภูม๕ ิ๓ ๓ ๓ ม เี ส น้ ท า ง ว ่งิ ใ ห บ้ ๖ร๐กิ า ร ไดกแ้ โิ ลกเ่ มตร ซหึ่งาเปดใ็นหถญน-่ นสเรุ ลาียษบฎริมธ์ าทนะี เวลลสาาเบดนิสรงถขล๐า๗.ส๐ุด๐ป-๑ล๗าย.๐ถ๐นน. อหำ� าเภดอใหสญะเ่-ดการ ะ บ ี่ เ ว ล า เ ด ิน ร ถ ๐ ๘๗.๐ ๐ - ๑๗ก.โิ๐ลเ๐มตนร. มสีโอรงบสถีเากม่าขทอ้ ามสูลีแดโทงทร.ั้งห๐ล๗ัง๔เ๒รีย๕ก๙ว่า๖๒“๑ห,ับ๐โ๖ห๒้ ห๙ิ้น๗”๙ อสำ� อเภบอถคามวนขเอ้ นมียลู ง โ ท ร . ๐ ๗ ๔ ๒ ๕ ๔๗๖๒๔ ๒ , ๐๘กโิ ๑ลเ๖ม๙ตร๑ ป๘จั ๒จ๓บุ ๒นั เ,ป๐น็ ๖ทจ่ี๒ดั ๙แ๗ส๙ดง๘น๒ทิ ๗รร๒ศการถาวรเรอื่ งราวเมอื ง อ๖ำ� ๘เภ๔อ๔เทพา ๗๓ กโิ ลเมตร เกรถ่าไสฟงขจลาากสถถัดามนารี คถือไฟถนหนาดนใคหรญใน่ มีขแบลวะนถรนถนไนปาจงั งหาวมัด อหำ� าเภดอใหระญโน่-ตดร ัง เ ว ล า เ ด ิน ร ถ ๐ ๖ ๗.๐๓๐ - ๑๘ก.โิ๐ล๐เมตนร. ตใากมลล้เคำ� ดียับงในภาคใต้ ได้แก่ ชุมพร นครศรีธรรมราช อสำ� อเภบอถกามระขแอ้ สมสลู นิ โธท์ ุ ร . ๐ ๘ ๕ ๘ ๙ ๕ ๓๗๐๔๕ ๑ , ๐๘กโิ ๔ลเ๖มต๓ร๑ พัทลุง ยะลา และนราธิวาส สอบถามข้อมูล โทร. อ๓ำ� ๐เภ๒อ๕สะบ้าย้อย ๑๐๔ กโิ ลเมตร พ๑พิ ๖ธิ ๙ภ๐ณั , ฑ๐ส๗ถ๔าน๒แ๖ห๑ง่ ๒ชา๙ต๐ิ ส, ง๐ข๗ล๔า ๒อย๓ถู่ ๔น๙น๗วเิ๘ชยี รชม หาดใหญ่-นครศรีธรรมราช เวลาเดินรถ ๐๖.๐๐- ตำ� บลบอ่ ยาง เปน็ อาคารกอ่ อฐิ ถอื ปนู สถาปตั ยกรรม ร๑ะ๘ยะ.๐ท๐างนจ.าสกอตบวั ถเมาอืมงขส้องมขูลลโาทไปร.จ๐ังห๗ว๔ดั ๒ใก๕ล้เ๒ค๓ีย๖ง๓ แรบะบยจะีนทผางสจมายกโุ รตปวั เสมรอื า้ งไเมปอ่ื �าพเ.ภศอ. ต๒า่๔ง๒ๆ๑ โดยพระยา ปหตั าตดาในหี ญ่-พัทลุง เวลาเดินรถ ๐๖ .๙๐๙๐ -๑๙ก.โิ๓ลเ๐มตนร. สอุนา� ทเภรอานสรุงิ หักษน์ค(รเนตร ณ สงขลา) ผชู้ ๒่ว๖ยราชกากรโิ ลเมเมอื ตงร พสัทอลบงุ ถ ามข้อมลู โ ทร. ๐๘ ๙๕๙๙ ๒๑๒๙๑๑ กโิ ลเมตร สองา� ขเลภาอหเาพด่ือใใหชญ้เป่ ็นบ้านพักของตระ๒ก๖ูล ณ กสโิงลขเมลตาร สหตาลู ด ใหญ่-ภูเก็ต เวลาเดินรถ ๐๗๑.๒๐๕๐- ๒๒ก.โิ๐ลเ๐มตนร. จอน�ากเภรอะนทา่ังหพม.่อศม. ๒๔๓๗ จึงใช้เป็น๓ท๔่ีพ�ำนักกแโิลละเมวต่าร ยะลา ๑๒๘ กโิ ลเมตร ราชการของพระวิจิตรวรศาสตร์ ข้าหลวงพิเศษ นครศรธี รรมราช ๑๖๑ กโิ ลเมตร ตรวจราชการเมืองสงขลา ซ่ึงต่อมาคือเจ้าพระยา ตรงั ๑๗๖ กโิ ลเมตร ยมราช (ปั้น สุขุม) หลังจากนั้นใช้เป็นศาลาว่าการ นราธิวาส ๑๙๔ กโิ ลเมตร มณฑลนครศรีธรรมราช และเป็นศาลากลางจังหวัด สรุ าษฎร์ธานี ๓๐๔ กโิ ลเมตร จนถึง พ.ศ. ๒๔๙๖ ใน พ.ศ. ๒๕๑๖ กรมศิลปากรได้ ภูเกต็ ๔๙๔ กโิ ลเมตร ขึน้ ทะเบยี นอาคารน้เี ป็นโบราณสถาน โดยตวั อาคาร เป็นเรือนหมู่ ๔ หลัง มีระเบียงเช่ือมต่อกัน กลาง สถานที่ทอ่ งเท่ยี ว อาคารเป็นลานเปิดโล่งส�ำหรับปลูกต้นไม้และท�ำ อำ� เภอเมอื งสงขลา กจิ กรรม บานประตเู ปน็ บานเฟย้ี ม แกะสลกั ลวดลาย ยา่ นเมอื งเกา่ สงขลา มถี นนสายสำ� คญั นา่ เดนิ เทย่ี ว ๓ โปรง่ ลายพันธุพ์ ฤกษา ลายมงั กรด้ันเมฆ เสาอาคาร สาย คอื ถนนนครนอก ถนนนครใน และถนนนางงาม เป็นภาพเทพเจ้าจีน ขื่อหลังคามีเคร่ืองหมายตาม เป็นถนนท่ีเต็มไปด้วยอาคารซึ่งมีสถาปัตยกรรม คติความเช่ือของจีน ในการป้องกันอันตรายต่าง ๆ งดงามและยังคงเอกลักษณ์ด้ังเดิมไว้ ด้วยห้องแถว ภายนอกอาคารบริเวณผนัง มีภาพประติมากรรม ไมแ้ บบจนี และตกึ เกา่ สไตลช์ โิ น-โปรตกุ สี โดยเฉพาะ ภาพเขยี นสีรปู เทพเจา้ จนี และพนั ธุ์พฤกษา ต่อมาได้ ถนนนางงาม ซ่ึงเป็นแหล่งรวมของร้านอาหารคาว ปิดปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ และเปิด หวานท้องถ่ินอันเลื่องชื่อ ทั้งร้านขายขนมไทยที่หา อยา่ งเปน็ ทางการเมื่อ พ.ศ.พ๒ิพธิ๕ภ๒ณั ๕ฑสภถาานยแใหนง่ ชจาัดตแิ สสงขดลงา สสงสงขงขลขลาลาา 11111

พพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาตสิ งขลา ศิลปวัตถุของภาคใต้ตอนล่าง และเป็นแหล่งศึกษา พลเอกเปรม ตณิ สลู านนท์ อดีตนายกรัฐมนตรี และ โบราณคดี ประวตั ิศาสตรศ์ ลิ ปะ ชาติพันธุ์วิทยา เปดิ รฐั บุรุษ ซึ่งเป็นชาวจังหวดั สงขลา ให้เข้าชม วันพุธ-วันอาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ อาคารพพิ ธิ ภณั ฑฯ์ เปน็ สถาปตั ยกรรมแบบเรอื นไทย น. (ปดิ วันจนั ทร-์ องั คาร และวนั นกั ขัตฤกษ์) คา่ เขา้ ไมย้ กพน้ื ชนั้ เดยี ว หลงั คาทรงปน้ั หยา ๒ หลงั คู่ มชี าน ชม ชาวไทย ๓๐ บาท พระภกิ ษุ สามเณร นกั เรียน เปิดโล่งเช่ือมถึงกัน ภายในจัดแสดงข้าวของเครื่อง นักศึกษาในเครื่องแบบ และผู้สูงอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ใช้ของครอบครัวติณสูลานนท์ในอดีต เมื่อคร้ังสมัย ไมเ่ สียค่าเข้าชม ชาวต่างชาติ ๑๕๐ บาท สอบถาม ทบี่ ดิ าของทา่ นดำ� รงตำ� แหนง่ “พะทำ� มะรง” เรอื นจำ� ขอ้ มลู โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๑๗๒๘ www.finearts.go.th/ สงขลา ซ่ึงเป็นต�ำแหน่งเก่าของข้าราชการกรม songkhlamuseum ราชทัณฑ์ มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ควบคู่กับตำ� แหน่งพัสดี จนถงึ พ.ศ. ๒๔๗๙ ต�ำแหน่ง พพิ ธิ ภณั ฑพ์ ธำ� มะรงค์ (พะธำ� มะรง) อยเู่ ลขที่ ๑ ถนน พะท�ำมะรงจึงถูกยกเลิกไป พิพิธภัณฑ์ฯ เปิดให้เข้า จะนะ ต�ำบลบ่อยาง ใกล้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชมทุกวัน เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๐๐ น. (ปิดวันจันทร์ สงขลา เป็นสถานท่ีต้ังบ้านพักเดิมของรองอ�ำมาตย์ และวนั นกั ขตั ฤกษ)์ โทขุนวินิจทัณฑกรรม (บ้ึง ติณสูลานนท์) บิดาของ 1122 สสงงขขลลาา

กำ� แพงเมอื งเก่าสงขลา กำ� แพงเมอื งเกา่ สงขลา อยู่ถนนจะนะ ตำ� บลบอ่ ยาง ซุ้มใหญ่ ๑๐ ประตู มีประตูเล็ก ๑๐ ประตโู ดยรอบ เริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๙ ในสมยั รชั กาลที่ ๓ โดย ปัจจุบันคงเหลือแต่ก�ำแพงด้านถนนจะนะ ตรงข้าม กรุงเทพมหานครได้มีค�ำส่ังลงมาให้สร้างก�ำแพงและ พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ และท่ถี นนนครในเทา่ นัน้ ปอ้ ม แตก่ ารกอ่ สรา้ งยงั ไมท่ นั แลว้ เสรจ็ หวั เมอื งมลายู เปน็ กบฏ (พ.ศ. ๒๓๘๑) ยกทพั มาเผาเมอื งจะนะ และ ถนนคนเดินสงขลาแตแ่ รก จดั ขนึ้ บนถนนจะนะ รมิ เขา้ มาตีเมืองสงขลา พระยาวิเชยี รครี ี (เถ้ยี นเสง้ ) ได้ ก�ำแพงเมืองเก่าสงขลา ตำ� บลบ่อยาง ทุกวันศุกร์และ เข้ารกั ษาเมอื งไว้จนทัพหลวงจากกรงุ เทพฯ ยกลงมา เสาร์ เวลา ๑๖.๐๐-๒๒.๐๐ น. เปน็ แหลง่ ชอ้ ปปง้ิ ยาม ช่วยตที ัพกบฏมลายแู ตกกลับไป และช่วยก่อก�ำแพง คำ่� คืนของเมืองสงขลา ค�ำว่า “แตแ่ รก” ในภาษาถนิ่ เมืองสงขลาจนส�ำเร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๕ โครงสร้าง ภาคใต้ หมายถงึ สมัยก่อน ช่อื ถนนคนเดนิ “สงขลา ก�ำแพงเมือง ก่อด้วยศิลาก้อนสอปูนเป็นรูปสี่เหล่ียม แต่แรก” จึงหมายถึง ความเป็นสงขลาในสมัยก่อน ล้อมรอบเมืองสงขลา มีความยาวทิศเหนือจดใต้ เพราะบริเวณถนนคนเดินจัดข้ึนในย่านเมืองเก่า ซ่ึง ๑,๒๐๐ เมตร กำ� แพงสูง ๕ เมตร หนา ๒ เมตร มี บรเิ วณโดยรอบเปน็ สถานทส่ี ำ� คญั ทางประวตั ศิ าสตร์ ใบเสมาและป้อมประตู ๘ ปอ้ ม แต่ละปอ้ มมปี นื ใหญ่ บนถนนคนเดนิ มที ง้ั รา้ นจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ทำ� มอื อาหาร กระสุน ๔ น้วิ ป้อมละ ๓-๔ กระบอก ประตูเมืองเปน็ พืน้ เมือง เสือ้ ผ้า และอุปกรณ์เครอื่ งใชต้ ่าง ๆ สงสขงลขาลา 1313

วดั มชั ฌมิ าวาสวรวิหาร (วัดกลาง) เจดยี ์พระบรมธาตุวัดชยั มงคล อยู่ถนนเพชรมงคล- เรียกว่า “วดั ยายศรีจนั ทร์” กล่าวกันว่ายายศรจี ันทร์ ชยั มงคล ตำ� บลบอ่ ยาง เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๓๕ พระอาจารย์ คหบดผี มู้ งั่ คง่ั ในเมอื งสงขลา ไดบ้ รจิ าคเงนิ สรา้ งวดั ขน้ึ สอนบาลีในวัดนามว่า “นะ อิศโร” เดนิ ทางไปลงั กา ต่อมามีผู้สร้างวัดเลียบทางทิศเหนือ และวัดโพธ์ิ และมโี อกาสรจู้ กั กบั คหบดผี หู้ นงึ่ ซงึ่ ยนิ ดจี ะถวายพระ ทางทิศใต้ ชาวสงขลาจึงเรียกวัดยายศรีจันทร์ว่า ธาตุให้ โดยน�ำผอบมาวางไว้ และให้ท่านนะ อิศโร “วดั กลาง” เมอื่ พ.ศ. ๒๔๓๑ พระเจา้ นอ้ งยาเธอกรม เลอื ก ทา่ นอธิษฐานและเลือกไดพ้ ระบรมสารรี กิ ธาตุ หมนื่ วชริ ญาณวโรรส เสดจ็ เมอื งสงขลา ทรงเปลย่ี นชอ่ื พระพุทธองค์ คหบดีผู้น้ันรู้สึกเสียใจมาก แต่ยินดี วดั เป็นภาษาบาลวี ่า “วดั มชั ฌิมาวาส” มอบให้ จากนน้ั ทา่ นอญั เชญิ พระบรมสารรี กิ ธาตกุ ลบั ในวัดมีโบราณสถานท่ีน่าสนใจ ได้แก่ พระอุโบสถ มาสงขลา และสร้างเจดีย์เพ่ือประดิษฐานพระบรม สร้างสมัยรัชกาลท่ี ๑ เป็นศิลปะประยุกต์ไทย-จีน สารีริกธาตุให้พุทธศาสนิกชนได้สักการะจนถึงทุก ภายในมีพระประธาน ซึ่งเป็นพระพุทธรูปหินอ่อน วันนี้ เปิดให้เข้าชมทกุ วนั เวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. น�ำไปแกะสลักท่ีประเทศจีน จึงมีพุทธลักษณะผสม ไทย-จนี ภาพจติ รกรรมฝาผนงั สฝี นุ่ เปน็ เรอื่ งราวพทุ ธ วัดมัชฌิมาวาสวรวิหาร หรือ วัดกลาง อยู่ถนน ประวตั ิทย่ี ังอยู่ในสภาพสมบูรณ์ ซมุ้ ประตู เปน็ ศลิ ปะ ไทรบุรี ต�ำบลบ่อยาง เป็นวัดใหญ่และส�ำคัญของ จนี และยโุ รป ภายนอกพระอโุ บสถ รอบกำ� แพงมภี าพ จังหวัดสงขลา สร้างในสมัยอยุธยาตอนปลาย เดิม จ�ำหลักหินเร่ืองสามก๊ก และมีพิพิธภัณฑ์ภัทรศิลป 1414 สงสขงลขาลา

เปน็ สถานทเ่ี ก็บพระพทุ ธรปู โบราณวัตถุ ทีร่ วบรวม เพอ่ื ความเปน็ สริ มิ งคลแกเ่ มอื งสงขลา โดยแบง่ รปู ปน้ั มาจากเมอื งสงขลา สทงิ พระ และระโนด พพิ ธิ ภณั ฑฯ์ พญานาคออกเปน็ ๓ สว่ น ไดแ้ ก่ หวั พญานาค หมายถงึ เปิดให้เขา้ ชมทกุ วนั สติปัญญาท่ีเป็นเลิศของชาวสงขลา ตั้งอยู่บริเวณ แหลมสนออ่ น อยู่ทางเหนือของแหลมสมิหลา เปน็ แหลมสนอ่อน สะดอื พญานาค หมายถงึ ความอุดม แผ่นดนิ ลักษณะคลา้ ยปลายแหลม บรรยากาศรม่ ร่ืน สมบรู ณข์ องชาวสงขลา ตง้ั อยบู่ รเิ วณลานชมดาวใกล้ ไปดว้ ยทวิ สนทะเล ทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของ หาดสมหิ ลา และ หางพญานาค หมายถงึ บรวิ ารท่ี ปลายแหลมคือ ทะเลสาบสงขลา และด้านตะวัน พรงั่ พรอ้ มของชาวสงขลา ตงั้ อยบู่ รเิ วณหาดชลาทศั น ์ ออกเฉยี งใตค้ ือ ทะเลอา่ วไทย แหลมสนอ่อนจงึ เป็น แหลมสมหิ ลาและหาดสมิหลา อย่ถู ัดจากแหลมสน จดุ ทเี่ ชอื่ มระหวา่ งทะเลสาบสงขลาและทะเลอา่ วไทย อ่อนลงมาทางใต้ มีถนนเลียบชายหาดและทิวสน ถัดจากปลายแหลมลงมาทางใต้ เป็นท่ีต้ังของ ร่มรื่นตลอดแนว ริมหาดมีรูปปั้นนางเงือกนั่งอยู่บน อนสุ าวรยี แ์ ละศาลของพลเรอื เอกพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ โขดหิน เรียกกันว่า “เงือกทอง” ถือเป็นสัญลักษณ์ กรมหลวงชมุ พรเขตอดุ มศักด์ิ ของหาดนี้ หา่ งจากรปู ปน้ั นางเงอื กไปไมไ่ กล มรี ปู ปน้ั ต่อมา พ.ศ. ๒๕๔๙ มีการสร้างรูปปั้นพญานาค ซึ่ง แมวและหนู ซงึ่ บอกเลา่ ตำ� นานของเกาะหนเู กาะแมว ถือเป็นเทพแห่งการให้น้�ำและความอุดมสมบูรณ์ เป็นเกาะท่ีสามารถเห็นได้ชัดเจนจากหาดสมิหลา รูปป้นั พญานาคทแี่ หลมสนอ่อน สงสขงลขาลา 1515

หาดสมิหลา ตามต�ำนานกล่าวว่า “มีพ่อค้าชาวจีนผู้หนึ่ง คุมเรือ วา่ ยนำ�้ ไปจนถงึ ฝง่ั แตด่ ว้ ยความเหนด็ เหนอื่ ยจงึ สนิ้ ใจ ส�ำเภาเดินทางมาค้าขายระหว่างจีนกับสงขลาเป็น ตายกลายเปน็ หนิ อยบู่ รเิ วณเขาตงั กวนรมิ อา่ วสงขลา ประจ�ำ วันหน่ึงพ่อค้าผู้นี้ได้ซื้อสุนัขกับแมวลงเรือไป และดวงแกว้ วเิ ศษทหี่ ลน่ จากปากหนู ไดแ้ ตกละเอยี ด เมืองจีนด้วย สุนัขกบั แมวอยู่บนเรือนาน ๆ เกดิ ความ กลายเป็นหาดทรายแก้วอยู่ทางด้านเหนือของ เบอื่ หนา่ ย จงึ ปรกึ ษาหาวธิ ที จ่ี ะกลบั บา้ น และไดท้ ราบ แหลมสน” จากต�ำนานนี้ ดึงดูดให้นักท่องเท่ียว ว่าพ่อค้ามีดวงแก้ววิเศษที่ท�ำให้ไม่จมน�้ำ แมวจึงคิด เดินทางมาหาดสมิหลา จนมีค�ำกล่าวว่า “ใครมา อบุ าย โดยใหห้ นูไปขโมยแก้ววเิ ศษของพ่อคา้ มา หนู เยือนสงขลาแล้วไม่มาเยือนสมิหลา เหมือนมาไม่ถึง จึงขอหนีข้ึนฝั่งไปด้วย ท้ังสามลงจากเรือและว่ายน้�ำ สงขลา” หนี โดยทหี่ นอู มดวงแกว้ ไวใ้ นปาก ขณะนนั้ หนนู กึ ขนึ้ ไดว้ า่ ถ้าถงึ ฝง่ั แลว้ สุนัขกบั แมวคงจะแยง่ เอาดวงแก้ว หาดชลาทศั น์ เปน็ ชายหาดทย่ี าวตอ่ เนอ่ื งมาจากหาด ไป หนจู งึ คดิ ทจี่ ะหนี สว่ นแมวซง่ึ วา่ ยตามหลงั มากค็ ดิ สมิหลา โดยมีแหลมสมิหลาเป็นจุดแบ่ง หาดทราย เช่นกัน จึงว่ายน้�ำไปหาหนู หนูตกใจว่ายน�้ำหนีและ ขาวสะอาดเลน่ นำ้� ได้ มถี นนชลาทศั นซ์ งึ่ รม่ รนื่ ไปดว้ ย ไม่ทันระวังตัว ดวงแก้ววิเศษที่อมไว้จึงตกลงจมหาย ทิวสนทะเลเลียบตลอดแนวหาด ด้านเหนือสุดแนว ไปในน้�ำ หนูและแมวต่างก็หมดแรงจมน้�ำตายกลาย หาดที่เชื่อมต่อกับแหลมสมิหลา มีวงเวียนรูปปั้นคน เป็นเกาะหนูเกาะแมวอยู่ที่อ่าวหน้าเมือง ส่วนสุนัข อา่ นหนงั สือ สร้างขึ้นเพือ่ ให้คนไทยรกั การอา่ น ชว่ ง 1616 สงสขงลขาลา

กลางของหาดมีเวทีประชาชนเทศบาลนครสงขลา ตำ� แหนง่ อปุ ราชมณฑลปกั ษใ์ ต้ และเปน็ ทปี่ ระทบั ของ เป็นสวนสาธารณะส�ำหรับพักผ่อนหย่อนใจ มีสนาม พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เด็กเลน่ และเลนปั่นจักรยานเลยี บชายหาด ท่ีหาดน้ี และสมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ ใน เปน็ จุดชมพระอาทติ ย์ขึ้นริมทะเลทสี่ วยงามอีกแห่ง คราวเสดจ็ ฯ ทรงเยย่ี มราษฎรจงั หวดั ภาคใตเ้ มอ่ื เดอื น มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ และใช้เป็นจวนผู้ว่าราชการ สถานแสดงพันธุส์ ัตว์นำ�้ สงขลา อย่เู ลขท่ี ๓๙ ถนน จงั หวดั ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๐๗ ตอ่ มา (กรม) ศลิ ปากรไดข้ น้ึ แหลมสนอ่อน ต�ำบลบ่อยาง สร้างโดยเทศบาลนคร ทะเบียนเป็นโบราณสถาน เมื่อวันท่ี ๑๐ มีนาคม สงขลา เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้เก่ียวกับสิ่งมีชีวิตใต้น�้ำ พ.ศ. ๒๕๓๗ เปน็ อาคารสถาปตั ยกรรมยโุ รป มี ๓ ชนั้ มีกิจกรรมท่ีน่าสนใจ เช่น การสาธิตให้อาหารปลา ประตูมีลวดลายสลักประดับเหนือวงโค้งของประตู ในอุโมงค์สัตว์น้�ำท่ีเป็นกระจกโดยนักประดาน้�ำ ชน้ั ลา่ งเปน็ หอ้ งโถง หอ้ งรบั แขก ชนั้ สองเปน็ หอ้ งนอน การขบั รถโกคาร์ทและเอทีวีในสนามจรงิ การแชเ่ ทา้ ห้องแต่งตัว ห้องสมุด ชั้นสามเป็นห้องนอนมีเครื่อง ทำ� สปาปลา ฯลฯ เปดิ ใหเ้ ข้าชม วนั อังคาร-ศกุ ร์ เวลา เรือนไม้แบบอังกฤษ และด้านทิศตะวันออกเป็น ๐๙.๓๐-๑๖.๐๐ น. วันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุด หอคอย นกั ขัตฤกษ์ เวลา ๐๙.๓๐-๑๖.๔๕ น. (ปิดวันจนั ทร์ ยกเว้นวันจันทร์ที่ตรงกับวันหยุดนักขัตฤกษ์) อัตรา ค่าเข้าชม ชาวไทย ผใู้ หญ่ ๑๕๐ บาท เดก็ ๑๐๐ บาท ชาวต่างชาติ ผู้ใหญ่ ๓๐๐ บาท เด็ก ๒๐๐ บาท สอบถามข้อมูล โทร. ๐ ๗๔๓๒ ๒๗๘๗, ๐ ๗๔๓๒ ๒๘๙๙, www.songkhlaaquarium.com เขาน้อย อยู่ใกล้แหลมสมิหลา มีถนนลาดยางขึ้นสู่ รูปปน้ั แมวและหนู ณ หาดสมิหลา ยอดเขาเพ่ือชมทิวทัศน์ของเมืองสงขลา เชิงเขาน้อย ทางทิศตะวันออกจัดเป็นสวนสาธารณะส�ำหรับ พักผ่อนมีร้านอาหารและสนามเทนนิสให้บริการ เชิงเขาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือคือสวนเสรี มีไม้ ประดบั ตกแตง่ เปน็ รปู สตั วต์ า่ ง ๆ บนยอดเขานอ้ ยเปน็ ท่ีประดิษฐานอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟา้ ยุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบรุ รี าเมศร ์ ต�ำหนักเขาน้อย อยู่เชิงเขาน้อยด้านทิศใต้ ถนน สะเดา ต�ำบลบ่อยาง สร้างเม่ือ พ.ศ. ๒๔๕๔ เพื่อ เปน็ ท่ีประทับของสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟา้ ยคุ ลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ เมอื่ ครั้งด�ำรง สงสขงลขาลา 1717

เจดยี พ์ ระธาตุ บนเขาตงั กวน ของเขาตงั กวน สามารถชมทวิ ทศั นไ์ ดไ้ กล นอกจากน้ี มี ประภาคาร สร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ เขาตังกวน เป็นเนินเขามีความสูงจากระดับน�้ำ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และมี ลานชมวิวเขาตังกวน ทะเลประมาณ ๑๐๕ เมตร บนยอดเขาเป็นที่ มีรูปปั้นหลวงปู่ทวดอยู่กลางลาน และบริเวณลาน ประดิษฐาน เจดีย์พระธาตุ คู่เมืองสงขลา สร้างใน สามารถชมทวิ ทศั นไ์ ดโ้ ดยรอบ ๓๖๐ องศา ทงั้ ตวั เมอื ง สมัยอาณาจักรนครศรีธรรมราช เป็นศิลปะสมัย ทะเลสาบสงขลา และหาดสมหิ ลา ทวารวดี ซึ่งพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพล การขนึ้ สู่ยอดเขาตังกวน ทำ� ได้ ๒ วิธี คือ เดนิ เท้าข้นึ อดุลยเดช ทรงพระราชทานพระบรมสารีริกธาตุมา บันได ซ่ึงต้ังอยู่บริเวณเชิงเขาอีกด้าน ระหว่างทางมี ประดิษฐานในองค์พระเจดีย์น้ี ชว่ งเดือนตลุ าคมของ จุดพักและจุดชมวิวเป็นระยะ หรือใช้ ลิฟท์โดยสาร ทุกปี ในเทศกาลออกพรรษา จะมีงานพิธีห่มผา้ องค์ อยู่บริเวณถนนตัดระหว่างเขาตังกวนและเขาน้อย พระเจดีย์ และประเพณีตักบาตรเทโว ศาลาพระ ค่าบริการ ๓๐ บาท เปิดให้บริการทุกวัน เวลา วิหารแดง สรา้ งในช่วง ๒ รัชกาล คอื สมยั พระบาท ๐๘.๓๐-๑๘.๐๐ น. สอบถามข้อมลู โทร. ๐ ๗๔๓๑ สมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเดจ็ ๖๓๓๐ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว พลับพลาหนั ไปด้านหนง่ึ เขาเก้าเส้ง (วัดเขาเก้าแสน) เป็นเขาหินลูกเล็ก ๆ อยูร่ ิมทะเล ทางตอนใต้ของหาดชลาทัศน์ พ้นื ทโี่ ดย รอบเป็นชุมชนชาวประมง มีต�ำนานเล่าถึงเขาแห่งนี้ หรอื ทเี่ รยี กกนั ในภาษาพน้ื เมอื งคอื “หวั นายแรง” วา่ “ครั้งหน่ึงทางเมืองนครศรีธรรมราชก�ำหนดบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุในเจดีย์ บรรดา ๑๒ หัวเมือง ปักษ์ใต้ต่างน�ำเงินทองไปบรรจุในพระบรมธาตุ เ มื อ ง ท่ี น า ย แ ร ง เ ป ็ น เ จ ้ า เ มื อ ง ก็ เ ป ็ น เ มื อ ง ขึ้ น นครศรีธรรมราชด้วย นายแรงผู้มีความศรัทธาใน พทุ ธศาสนาอยา่ งแรงกลา้ ได้ขนเงินทองจำ� นวนมาก ถึงเก้าแสน บรรทุกขึ้นเรือส�ำเภาพร้อมด้วยไพร่พล ออกเดินทางไปนครศรีธรรมราช ขณะก�ำลังเดินทาง เรือส�ำเภาถูกคล่ืนลมช�ำรุด จึงเข้าจอดเรือที่ชายฝั่ง แห่งหนึ่ง เพ่ือซ่อมแซมเรือ พอได้ทราบข่าวว่าทาง เมืองนครศรีธรรมราช ได้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เสรจ็ แลว้ นายแรงเสยี ใจมาก จงึ ใหไ้ พรพ่ ลขนเงนิ ทอง บรรจุไว้บนยอดเขาลูกหน่ึง และสั่งให้ลูกเรือตัดหัว ของตนไปวางไวท้ ยี่ อดเขา และนายแรงไดก้ ลนั้ ใจตาย ลกู เรอื จงึ จำ� ใจตดั หวั เจา้ นายไปวางไวบ้ นยอดเขาตาม 1818 สงสขงลขาลา

คำ� ส่ัง เขาลกู น้ภี ายหลังเรยี กว่า “เขาเกา้ แสน” เรยี ก บ้านศรัทธา อยู่ถนนน�้ำกระจาย-อ่างทอง ต�ำบล เพี้ยนไปเป็น “เกา้ เส้ง” กอ้ นหินท่ีปิดทับบนยอดเขา พะวง บนเนินเขาท่ีรายล้อมด้วยสวนมะพร้าว เป็น เรียกว่า“หัวนายแรง” ชาวบ้านเชื่อว่าดวงวิญญาน บา้ นทชี่ าวสงขลาพรอ้ มใจกนั สรา้ งเพอื่ มอบให้ พลเอก ของนายแรงยังเปน็ ปโู่ สมเฝา้ ทรัพย์มาจนทุกวันนี”้ เปรม ตณิ สลู านนท์ องคมนตรี และรัฐบรุ ษุ ในสมัยท่ี บนเขาเก้าเส้งยังเป็นที่ตั้งของวัดเขาเก้าแสน ภายใน ดำ� รงต�ำแหนง่ นายกรัฐมนตรี สรา้ งเสร็จเม่ือวนั ท่ี ๒๖ วัดมี “วิหารพระพุทธมารดา” ภายในประดิษฐาน สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ ตอ่ มาทา่ นไดม้ อบบา้ นนีค้ ืนให้ พระพทุ ธรปู ปางประสตู ิ และกลางลานวดั ประดษิ ฐาน ชาวสงขลาเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๓๙ จากตวั บา้ นสามารถเหน็ พระพุทธรปู ปางมารวชิ ยั องค์ใหญน่ ามวา่ “พระพุทธ ทัศนียภาพได้ไกลถึงสะพานติณสูลานนท์ ซึ่งอยู่ห่าง เมตตา” จากตัววัดมีบันไดหินเดินข้ึนไปสู่เนินเขา ออกไป ๓ กิโลเมตร ใกล้ ๆ กนั บนยอดเนนิ ประดิษฐาน “พระเจดียย์ อด เขาเก้าเส้ง” เป็นเจดีย์ทรงลังกาก่ออิฐถือปูน ศิลปะ หอสมุดแห่งชาติกาญจนาภิเษก สงขลา อยู่ถนน รตั นโกสินทร์ตอนตน้ น�้ำกระจาย-อ่างทอง ตำ� บลพะวง เชงิ เขาใกลก้ บั บา้ น การเดินทาง จากตัวเมืองสงขลา ใช้ถนนชลาทัศน์ ศรทั ธา สรา้ งขน้ึ เนอื่ งในโอกาสทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระ ลงมาทางทิศใต้ จนถึงทางโค้งที่ตัดกับถนนเก้าแสน ปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดยุ เดช ครองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ มีทางแยกให้เลี้ยวซ้าย ตรงไปและข้ามสะพานปูน ๕๐ ปี เปน็ แหลง่ ศึกษาคน้ ควา้ องค์ความรตู้ า่ ง ๆ เปิด จนถงึ สถาบนั เพาะเลย้ี งสตั วน์ ำ�้ ชายฝง่ั แหง่ ชาตสิ งขลา ใหบ้ รกิ าร วนั องั คาร-เสาร์ เวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. มที างขึ้นเขาเกา้ เสง้ อยู่ด้านซา้ ยมอื ระยะทางจากตัว (ปิดวันอาทติ ย-์ จนั ทร์ และวันนักขตั ฤกษ์) สอบถาม เมือง ๕ กโิ ลเมตร ข้อมูล โทร. ๐ ๗๔๓๓ ๓๐๖๓-๕ หนิ หวั นายแรง ริวเขาเก้าส้ง สงสขงลขาลา 1919

สวนสัตวส์ งขลา อยูบ่ ริเวณเขารปู ชา้ ง ถนนสงขลา- ทะเลสาบสงขลา เปน็ ทะเลสาบธรรมชาติแหง่ เดยี ว นาทวี ต�ำบลเขารูปช้าง เป็นสวนสัตว์เปิด เพื่อ ในประเทศไทย เป็นที่ไหลรวมกันของล�ำคลองเลก็ ๆ อนรุ กั ษแ์ ละขยายพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ ของไทยคนื สธู่ รรมชาติ หลายสายออกสทู่ ะเลอา่ วไทย มคี วามยาวจากปากนำ�้ ลักษณะพื้นที่เป็นภูเขาลูกเล็ก ๆ หลายลูก มีถนน ไปทางทิศเหนือประมาณ ๘๐ กิโลเมตร สว่ นท่กี ว้าง ลาดยางโดยรอบ และแยกชนดิ ของสตั วไ์ วเ้ ปน็ หมวดหมู่ ท่ีสดุ ประมาณ ๒๐-๒๕ กโิ ลเมตร ปริมาณและสภาพ มีจุดชมทัศนียภาพเมืองสงขลา มีร้านอาหารให้ น�้ำในทะเลสาบข้ึนอยู่กับน้�ำจืดที่ไหลลงมาและน�้ำ บรกิ าร สวนสตั วฯ์ เปดิ ใหเ้ ขา้ ชมทกุ วนั เวลา ๐๘.๓๐- เค็มจากทะเลหนุนเข้ามา ซึ่งในฤดูน�้ำหลากเดือน ๑๗.๐๐ น. ค่าเข้าชม ชาวไทย ผู้ใหญ่ ๑๐๐ บาท เด็ก พฤศจิกายน-ธันวาคม จะมีน�้ำจืดไหลลงสู่ทะเลสาบ ๒๐ บาท นักศกึ ษาหรือขา้ ราชการในเครื่องแบบ ๕๐ จำ� นวนมาก จงึ ไปผลักดนั นำ้� เคม็ ออกสอู่ า่ วไทย เมอื่ บาท พระภกิ ษุ สามเณร ผสู้ งู อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป และ ถงึ ฤดแู ลง้ ปรมิ าณนำ้� จดื ทไ่ี หลลงสทู่ ะเลสาบมนี อ้ ย นำ�้ คนพกิ าร ไม่เสียค่าใช้จา่ ย ชาวต่างชาติ ผู้ใหญ่ ๑๕๐ เคม็ จะไหลเขา้ มาแทนท่ี ทำ� ใหน้ ำ้� ในทะเลสาบเปน็ นำ�้ บาท เด็ก ๗๐ บาท สอบถามข้อมลู โทร. ๐ ๗๔๕๙ กร่อย ในทะเลสาบมเี กาะหลายเกาะ เชน่ เกาะใหญ่ ๘๕๕๕, ๐ ๗๔๕๙ ๘๘๓๘ www.songkhlazoo.com เกาะสี่ เกาะหา้ เกาะแกว้ เกาะหมาก เกาะราบ และ เกาะยอ ทะเลสาบสงขลา 220 0 สงสขงลขาลา

สะพานติณสูลานนท์ สร้างขึ้นในสมัยท่ี พลเอก สะพานตณิ สูลานนท์ เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี คนท้องถิ่น นยิ มเรียกวา่ “สะพานติณ” หรอื “สะพานปา๋ เปรม” ชวี ติ คนทอ้ งถนิ่ สอบถามขอ้ มลู การทอ่ งเทย่ี วบนเกาะ เป็นสะพานคอนกรีตข้ามทะเลสาบสงขลา เพ่ือ ยอได้ที่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะยอ โทร. ๐ อ�ำนวยความสะดวกในการคมนาคม แทนการข้าม ๗๔๔๕ ๐๕๔๐ แพขนานยนต์ซ่ึงมีศักยภาพไมเ่ พียงพอในการรองรบั การเดินทาง จากตัวเมืองสงขลา ใช้ทางหลวง จ�ำนวนรถยนต์ที่เพิม่ ขน้ึ ในปัจจบุ นั หมายเลข ๔๐๗ ถึงห้าแยกน�้ำกระจาย เล้ียวขวา สะพานน้ีเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงหมายเลข เข้าทางหลวง ๔๐๘ เส้นทางไปอำ� เภอสงิ หนคร ข้าม ๔๑๔๖ ซ่ึงเช่ือมระหว่างทางหลวงหมายเลข ๔๐๗ สะพานตณิ สลู านนทส์ เู่ กาะยอ ระยะทางจากตวั เมอื ง (สายหาดใหญ-่ สงขลา) และทางหลวงหมายเลข ๔๐๘ ๑๕ กิโลเมตร (สายสงขลา-ระโนด) เรม่ิ กอ่ สรา้ งเมอื่ วนั ที่ ๒๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๒๗ และทำ� พธิ เี ปดิ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๙ สะพานแบง่ ออกเป็น ๒ ชว่ ง ช่วงแรก เช่ือมระหว่างบ้านน�้ำกระจาย อ�ำเภอเมืองสงขลา กับตอนใต้ของเกาะยอ ความยาวของสะพานช่วงนี้ คือ ๙๔๐ เมตร ช่วงทีส่ อง เช่อื มระหวา่ งตอนเหนือ ของเกาะยอกบั บา้ นเขาเขยี ว อำ� เภอสิงหนคร ความ ยาวสะพาน ๑,๗๐๐ เมตร รวมทง้ั สองช่วงสะพานมี ความยาวท้ังสน้ิ ๒,๖๔๐ เมตร เกาะยอ เปน็ เกาะอยู่กลางทะเลสาบสงขลาตอนล่าง พื้นทสี่ ่วนใหญ่เป็นไหล่เขาและท่ีราบตามเชงิ เขา บน เกาะมกี ารทำ� สวนผลไมแ้ บบ “สมรม” หมายถงึ ผลไม้ จะผลัดกันให้ผลผลิตตลอดปี เช่น ส้มโอ มะพร้าว ขนุน และ จ�ำปาดะ ซึ่งเป็นผลไม้ท่ีมีช่ือเสียงของ เกาะยอ ลักษณะคล้ายขนุนแต่ลูกเล็กกว่า สามารถ น�ำไปทอดเหมือนกลว้ ยแขกหรือรับประทานแบบสด ได้ มีผา้ ทอเกาะยอ ซึ่งเป็นผ้าพน้ื เมอื งทมี่ ชี ื่อเสยี ง มี ลายผ้าทเี่ ป็นเอกลกั ษณ์ เช่น ลายราชวัตถ์ ลายดอก พกิ ลุ ลายดอกพะยอม ฯลฯ เกาะยอยงั เปน็ แหลง่ เลยี้ ง ปลาในกระชงั ทมี่ ชี อื่ เสยี งของทะเลสาบสงขลา ทำ� ให้ มรี า้ นอาหารบนเกาะเปดิ บรกิ ารอยหู่ ลายรา้ น รวมทงั้ มที พ่ี กั แบบโฮมสเตย์ เพอ่ื ใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี วไดส้ มั ผสั วถิ ี สงขสลงาขลา 2121

วัดพระนอนแหลมพอ้ วัดพระนอนแหลมพ้อ อยู่บนเกาะยอ สร้างเม่ือ แก่ผู้ผ่านไปมา พระบาทขององค์พระมีลวดลาย พ.ศ. ๒๓๓๐ ในสมยั รชั กาลที่ ๓ ปูชนยี สถานท่สี ำ� คญั ภาพศิลปะงดงามทั้งสองข้าง ในบริเวณวัดมีศาลา ของวดั คอื พระอโุ บสถ เปน็ ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ พระพรหม เจ้าแม่กวนอิม และพระพุทธรูปปาง สร้างแบบไมม่ ีชอ่ ฟ้าและใบระกา มีลวดลายหนา้ บัน มารวิชัย นามว่า “พระสมเด็จเจ้าเกาะยอ” ด้านหน้าเป็นรูปช้างสามเศียร หน้าบันด้านหลัง ประดษิ ฐานอยู่ด้วย เป็นครุฑยุดนาค เกยโปรยทาน ใช้เป็นที่ประทับ การเดินทาง จากตัวเมืองสงขลา ใช้ทางหลวง ส�ำหรับพระมหากษัตริย์สมัยก่อน เพ่ือโปรยทาน หมายเลข ๔๐๗ ถงึ หา้ แยกน้�ำกระจาย เล้ยี วขวาเขา้ แก่พสกนิกรในคราวเสด็จฯ พระราชพิธีบ�ำเพ็ญ ทางหลวง ๔๐๘ เสน้ ทางไปอ�ำเภอสงิ หนคร จากนั้น พระราชกศุ ลทานบารมี พระสถปู เจดยี โ์ บราณ อยทู่ าง ข้ามสะพานติณสูลานนท์ (ช่วงแรก) สู่เกาะยอ ทิศเหนือของพระอุโบสถ เป็นเจดีย์ก่ออิฐถือปูนตั้ง ลงสะพานมีทางแยกให้เล้ียวซ้ายเข้าสู่วัด ระยะทาง อยบู่ นฐานสเี่ หลย่ี ม ฐานซมุ้ ตอ่ กบั บนั ไดทางขน้ึ เตย้ี ๆ จากตวั เมอื ง ๑๕ กโิ ลเมตร ยกพ้ืนคล้ายระเบียง สามารถเดินได้รอบองค์เจดีย์ นอกจากนี้ มีพระพุทธรูปปางปรินิพพานองค์ใหญ่สี สถาบนั ทกั ษณิ คดศี กึ ษา อยหู่ มทู่ ่ี ๑ บา้ นอา่ วทราย ทองอรา่ ม สรา้ งเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๓๗ ประดษิ ฐานอยกู่ ลาง ต�ำบลเกาะยอ สร้างขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๕๒๑ เป็น แจง้ เชงิ สะพานตณิ สลู านนท์ (ชว่ งแรก) เปน็ ทสี่ ะดดุ ตา พิพิธภัณฑ์พ้ืนบ้านท่ีจัดแสดงข้าวของเคร่ืองใช้ 2222 สงขสลงาขลา

ศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชาวใต้ แบ่งการ เข้าทางหลวง ๔๐๘ เส้นทางไปอ�ำเภอสิงหนคร จัดแสดงออกเป็นห้อง เช่น ห้องประวัติศาสตร์และ ขา้ มสะพานตณิ สลู านนท์ (ชว่ งแรก) สเู่ กาะยอ ตรงไป ชาตพิ ันธ์ุ หอ้ งมดี และศาตราวุธ หอ้ งแสดงเครือ่ งมอื อกี ราว ๓ กโิ ลเมตร กอ่ นถึงเชงิ สะพานติณสลู านนท์ เครื่องใช้ในการประกอบอาชีพของชาวใต้ และห้อง (ช่วงที่สอง) ที่เช่ือมระหว่างเกาะยอกับอ�ำเภอ การละเลน่ พ้ืนเมอื ง เป็นต้น สิงหนคร จะพบทางเลี้ยวข้ึนสถาบันฯ อยู่ซ้ายมือ สถาบันฯ มีห้องพัก ห้องประชุมสัมมนา และร้าน ระยะทางจากตวั เมอื ง ๑๘ กิโลเมตร จ�ำหน่ายสินค้าพ้ืนเมือง นอกจากน้ี มีหอชมวิวท่ี สามารถเห็นทิวทัศน์ของเกาะยอ ทะเลสาบสงขลา อ�ำเภอกระแสสินธ์ุ และสะพานติณสูลานนท์ได้อย่างชัดเจน สถาบันฯ วัดเอกเชิงแส อยู่บ้านเชิงแส ต�ำบลเชิงแส เดิมช่ือ เปิดใหเ้ ขา้ ชมวนั พุธ-จันทร์ เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. “วดั เอก”เปน็ วดั โบราณสมยั อยธุ ยาบรเิ วณวดั รม่ รน่ื ดว้ ย (ปิดวนั องั คาร) ค่าเข้าชม ชาวไทย ผ้ใู หญ่ ๕๐ บาท พรรณไม้ ในพระอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูปท�ำ เดก็ ๑๐ บาท ชาวตา่ งชาติ ๑๐๐ บาท สอบถามขอ้ มลู ดว้ ยหนิ ปะการงั นามวา่ “หลวงพอ่ เดมิ ”ซง่ึ ชาวบา้ นเคารพ โทร. ๐ ๗๔๕๙ ๑๖๑๑-๘ ศรัทธา นอกจากน้ี มีรอยพระพุทธบาทจ�ำลองเป็น การเดินทาง จากตัวเมืองสงขลา ใช้ทางหลวง ไม้แกะสลกั กว้าง ๐.๘ เมตร ยาว ๑.๒๐ เมตร และ หมายเลข ๔๐๗ ถึงห้าแยกน้�ำกระจาย เล้ียวขวา ทนี่ เ่ี ปน็ สถานทปี่ ฏบิ ตั ธิ รรมสำ� คญั อกี แหง่ ของจงั หวดั สถาบันทักษณิ คดีศึกษา สงขสลงาขลา 2323

การเดินทาง จากหน้าที่ว่าการอ�ำเภอกระแสสินธุ์ สีน้�ำตาลแดง จงึ เป็นแหลง่ ทีอ่ ยู่อาศัยส�ำคญั ของสัตว์ ใช้ถนนสาย อบจ. สงขลา ๑๐๕๙ ประมาณ ๒ ทะเล มปี ลาประจำ� ถน่ิ เชน่ ปลาทอ่ งเทย่ี ว ปลาหวั ออ่ น กโิ ลเมตร มีทางแยกซ้ายมือเขา้ สู่วัด และปลากระบอก ชายหาดแหง่ นมี้ คี วามสงบและเปน็ ธรรมชาติสูง เพราะไม่มีทั้งท่ีพักและร้านอาหารให้ อ�ำเภอควนเนยี ง บริการ สามารถเตรยี มอาหารมาน่ังปกิ นกิ รบั ลมเยน็ หาดปากบางภมู ี อยหู่ มทู่ ี่ ๓ บา้ นปากบางภมู ี ตำ� บล รมิ ทะเลได้ ตลอดแนวหาดมตี น้ ไมใ้ หญใ่ หค้ วามรม่ รน่ื รัตภูมิ เป็นชายหาดริมทะเลสาบสงขลา จุดสิ้นสุด และเป็นแหลง่ ที่นักท่องเทีย่ วนิยมมาดนู ก ของสายนำ�้ คลองภมู ิ ซง่ึ เปน็ คลองทไ่ี หลมาจากทวิ เขา การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอควนเนียง ใช้ทางหลวง ในเขตอ�ำเภอรัตภมู ิ มาบรรจบกับทะเลสาบบริเวณน้ี หมายเลข ๔๐๕๓ ประมาณ ๖ กิโลเมตร ถึงชายหาด ท�ำให้ชายหาดปากบางภูมีอุดมไปด้วยแร่ธาตุอาหาร ต่าง ๆ สังเกตได้จากสีของทรายบริเวณหาดจะเป็น อำ� เภอจะนะ สถานปฎิบตั ิธรรมโคกสกั หรอื วดั ขวด อยหู่ มู่ที่ ๕ บา้ นคลองหาน ตำ� บลบา้ นแค เปน็ วดั ทม่ี คี วามโดดเดน่ ด้านสถาปัตยกรรม เนื่องจากส่ิงปลูกสร้างภายใน วัดสร้างด้วยขวดเก่าหลากสีหลายรูปแบบที่ชาวบ้าน นำ� มาบรจิ าค เชน่ ขวดเหลา้ ขวดเบยี ร์ ขวดเครอ่ื งดมื่ ชกู ำ� ลงั นอกจากเปน็ การประหยดั งบประมาณ ยงั แฝง คตธิ รรมทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความฟมุ่ เฟอื ยของมนษุ ย์ ทหี่ มดไปกบั สิง่ มนึ เมาไรป้ ระโยชน์ การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอจะนะ ใช้ทางหลวง หมายเลข ๔๐๘ เส้นทางไปอำ� เภอนาทวี ถึงกิโลเมตร ที่ ๔๓ เล้ียวขวาตรงโรงเรียนบ้านแค เข้าไปอีก ๖ กิโลเมตร ถึงซุ้มประตูทางเข้าวัด ระยะทางจากตัว อ�ำเภอ ๑๙ กิโลเมตร อำ� เภอเทพา หาดสะกอม เป็นชายหาดที่มีทรายขาวสะอาด บรรยากาศเงยี บสงบ ตลอดแนวหาดมที ี่พักและรา้ น อาหารให้บริการ และห่างจากฝั่งราว ๒ กิโลเมตร เปน็ ทต่ี ้ังของ เกาะขาม ซงึ่ มีปลาชุกชมุ นกั ทอ่ งเทยี่ ว สามารถเชา่ เรอื ประมงของชาวบา้ นไปเทย่ี วทเ่ี กาะได้ การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอเทพา ใช้ทางหลวง วัดขวด หมายเลข ๔๓ (สายหาดใหญ่-ปัตตานี) เส้นทางไป 2424 สงขสลงาขลา

หาดสรอ้ ยสวรรค์ อ�ำเภอหาดใหญ่ ประมาณ ๒๓ กิโลเมตร มีทางแยก ๔๓ ประมาณ ๖๓ กิโลเมตร มที างแยกให้เลย้ี วซา้ ย ใหเ้ ลย้ี วขวาเขา้ ไปอกี ๗ กโิ ลเมตร หากมาจากตวั เมอื ง เขา้ สู่หาด สงขลา ใชท้ างหลวงหมายเลข ๔๐๘ ตอ่ ดว้ ยทางหลวง หมายเลข ๔๓ ประมาณ ๕๐ กโิ ลเมตร มที างแยกให้ อ�ำเภอนาทวี เลยี้ วซ้ายเขา้ สหู่ าด อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขานำ้� คา้ ง มเี นอื้ ท่ี ๑๓๒,๕๐๐ ไร่ ครอบคลุมพ้ืนที่อ�ำเภอนาทวี และอ�ำเภอสะเดา หาดสร้อยสวรรค์ อยู่ทางตอนใต้ถัดลงมาจากหาด ลักษณะเป็นยอดเขาสูง มีอากาศหนาวเย็นตลอดปี สะกอม ชายหาดยาวประมาณ ๓-๔ กโิ ลเมตร มรี ้าน เคยมีการพบน้�ำค้างแข็งเป็นเกล็ดอยู่ตามยอดหญ้า อาหารและท่ีพักให้บริการหลายแห่ง บรรยากาศจะ แม้ในยามเท่ียงวันก็ยังมีให้เห็นอยู่ จึงเรียกขานว่า คึกคักมากกว่าหาดสะกอม เพราะอยู่ใกล้ตัวอ�ำเภอ “เขานำ�้ ค้าง” ท่ีนี่เปน็ เขตหวงหา้ มอยนู่ านกว่า ๔๐ ปี เทพามากกวา่ จงึ สะดวกตอ่ การเดนิ ทางมาทอ่ งเทย่ี ว ต้ังแต่สงครามโลกครั้งที่ ๒ เพราะอยู่ในการยึด ของชาวบ้านในพนื้ ท่ี ครองของผู้ก่อการร้ายจีนคอมมิวนิสต์ (จ.ค.ม.) การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอเทพา ใช้ทางหลวง ด้วยมีภูมิประเทศเป็นถิ่นทุรกันดาร ทิวเขาสลับ หมายเลข ๔๓ (สายหาดใหญ่-ปัตตานี) เส้นทางไป ซับซ้อน จึงเป็นฐานปฎิบัติการใหญ่ท่ีสุดแห่งหนึ่ง อำ� เภอหาดใหญ่ ประมาณ ๑๓ กโิ ลเมตร มีทางแยก ของจีนคอมมิวนิสต์ในแถบนี้ ต่อมากรมป่าไม้ ให้เลย้ี วขวาเข้าสหู่ าด หากมาจากตวั เมอื งสงขลา ใช้ ท�ำการส�ำรวจพื้นท่ีเขาน�้ำค้าง พบว่ามีสภาพป่าและ ทางหลวงหมายเลข ๔๐๘ ตอ่ ดว้ ยทางหลวงหมายเลข ทรัพยากรธรรมชาตอิ ุดมสมบรู ณ์ จึงได้ประกาศเป็น สงขสลงาขลา 2525

อโุ มงคป์ ระวตั ิศาสตรเ์ ขาน้�ำคา้ ง นำ�้ ตกโตนดาดฟา้ อยรู่ มิ ถนนสายบา้ นสะทอ้ น-สะเดา เป็นน้�ำตกที่มีหน้าผาใหญ่ เม่ือแหงนหน้าขึ้นดูน�้ำตก อทุ ยานแหง่ ชาติ เมอื่ วนั ที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ เหมือนมองดูดาดฟ้า อยู่ห่างที่ท�ำการอุทยานฯ ๒ สถานทน่ี า่ สนใจในเขตอุทยานฯ ได้แก่ กโิ ลเมตร น�้ำตกวังหลวงพรหม เป็นน้�ำตกขนาดเล็กช้ันเดียว น�้ำตกพรุชิง เป็นน้�ำตกท่ีสูงที่สุดของเขาน้�ำค้าง มี ด้านล่างเป็นแอ่งน้�ำใหญ่ค่อนข้างลึก ควรลงเล่น เสน้ ทางเดนิ ศกึ ษาธรรมชาติ หา่ งจากทท่ี ำ� การอทุ ยานฯ น้�ำด้วยความระมัดระวัง อยู่ห่างท่ีท�ำการอุทยานฯ ๔ กโิ ลเมตร ๓๐๐ เมตร อุโมงคป์ ระวัตศิ าสตรเ์ ขาน้�ำค้าง หรือ อุโมงค์ปยิ มติ ร น�้ำตกโตนลาด อยู่ห่างน�้ำตกวังหลวงพรหม ๒๐๐ อยบู่ รเิ วณเขาน้�ำคา้ ง หมทู่ ี่ ๑ ตำ� บลคลองกวาง ห่าง เมตร ลักษณะเป็นธารน�้ำไหลผ่านหน้าผาหินสูงชัน จากที่ท�ำการอุทยานฯ ๔ กิโลเมตร เป็นอุโมงค์ดิน สู่แอ่งน้�ำเบ้ืองล่าง มีทั้งส่วนตื้นและลึก ควรเล่นน�้ำ เหนยี วขนาดใหญแ่ ละยาวทส่ี ดุ ในประเทศไทย ความ ด้วยความระมัดระวัง อยู่ห่างจากที่ท�ำการอุทยานฯ ยาวประมาณ ๑ กโิ ลเมตร สร้างตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๕ ๕๐๐ เมตร ขุดด้วยก�ำลังคน ใช้เวลา ๒ ปี จึงแลว้ เสรจ็ เพื่อใช้เป็น ฐานปฏิบัติการของกลุ่มคอมมิวนิสต์ในการต่อสู้กับ รฐั บาลไทยในขณะนน้ั มชี อ่ งทางเขา้ -ออก ๑๖ ชอ่ งทาง มีความลึกถึง ๓ ชั้น และบันไดเชื่อมระหว่างช้ัน สามารถจุคนได้ราว ๒๐๐ คน ภายในอุโมงค์แบ่ง ออกเป็นห้อง ประกอบด้วยห้องประชุม ห้องธุรการ ห้องวทิ ยุ หอ้ งพยาบาล หอ้ งครัว ห้องผู้น�ำ ห้องววิ าห์ สนามซ้อมยิงปืน สนามหัดข่ีจักรยานยนต์ และ ห้องสุขา จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๓๐ กลุ่มคอมมิวนิสต์ ได้ประกาศยุติการสู้รบ และเข้าเป็นผู้ร่วมพัฒนา ชาตไิ ทย อโุ มงคแ์ หง่ นจ้ี งึ ไดร้ บั การพฒั นาใหเ้ ปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว เปดิ ใหเ้ ขา้ ชมทกุ วนั เวลา ๐๗.๐๐-๑๗.๐๐ น. อตั ราคา่ เขา้ อุทยานฯ ชาวไทย ๔๐ บาท ชาวตา่ งชาติ ๑๕๐ บาท สอบถามข้อมูล โทร. ๐ ๗๔๕๓ ๑๘๔๐-๑ อุทยานแห่งชาติเขาน้�ำค้าง มีบ้านพัก ลานกางเต็นท์ และร้านค้าสวัสดิการให้บริการ สอบถามข้อมูลได้ที่ อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขานำ้� คา้ ง หมทู่ ี่ ๑ ตำ� บลคลองกวาง อำ� เภอนาทวี จงั หวัดสงขลา ๙๐๐๐๐ โทร. ๐ ๗๔๕๓ ๑๖๙๖ การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอนาทวี ใช้ทางหลวง หมายเลข ๔๑๑๓ ถึงสามแยกบา้ นสะทอ้ น เลีย้ วขวา 2626 สงขสลงาขลา

ตลาดนำ้� คลองแดน เข้าทางหลวงหมายเลข ๔๒๔๓ ผ่านบ้านนาปรัง ชั่วคราว พร้อมแนบบัตรประชาชนตัวจริงและ พบสามแยกให้เลี้ยวซ้าย ตรงไป ๗ กิโลเมตร ถึงที่ ค่าธรรมเนียม ณ ท่ีว่าการอ�ำเภอนาทวี ในวันเวลา ทำ� การอทุ ยานฯ ระยะทางจากตวั อำ� เภอ ๒๗ กโิ ลเมตร ราชการ โทร. ๐ ๗๔๓๘ ๑๘๑๐ ๓. กรณีน�ำรถยนต์ข้ามแดน ต้องท�ำเอกสารขอ ดา่ นบา้ นประกอบ อยหู่ มทู่ ่ี ๓ ตำ� บลประกอบ ตรงขา้ ม อนุญาตล่วงหน้า ณ ส�ำนักงานขนส่งจังหวัดสงขลา กับด่านบ้านดุเรียนบุหรง รัฐเคดาห์ สหพันธรัฐ ในวันเวลา ราชการ โทร. ๐ ๗๔๓๓ ๐๒๕๒ ต่อ มาเลเซีย เป็นจุดผ่านแดนถาวร เปิดท�ำการทุกวัน ๑๗, ๒๐ เวลา ๐๗.๐๐-๑๗.๐๐ น. การเดนิ ทาง จากตวั อำ� เภอนาทวี ใชท้ างหลวงหมายเลข ระเบยี บการขา้ มแดน ๔๑๑๓ ไปสุดที่ด่านบ้านประกอบ ระยะทางจากตัว ๑. ชาวไทยและชาวต่างชาติ ใช้หนังสือเดินทาง อำ� เภอ๓๐กโิ ลเมตรหรอื จากตวั เมอื งสงขลาใชท้ างหลวง ประทับตราผ่านเข้า-ออกท่ีด่าน อนุญาตให้พ�ำนัก หมายเลข ๔๐๘ ผา่ นอำ� เภอจะนะ ตรงไปจนถงึ อำ� เภอ อยู่ได้ ๓๐ วนั นาทวี ตอ่ ด้วยทางหลวงหมายเลข ๔๑๑๓ จนถึงดา่ น ๒. ผู้มีภูมิล�ำเนาอยู่ในจังหวัดสงขลา สตูล ยะลา ระยะทางจากตัวเมอื ง ๙๐ กิโลเมตร ปัตตานี และนราธิวาส สามารถปฏิบัติตามระเบียบ ข้อ ๑ หรือ หากใช้บัตรผ่านแดนชั่วคราว สามารถ อ�ำเภอระโนด เดนิ ทางผา่ นเขา้ ไปเฉพาะในรฐั เคดาหเ์ ทา่ นน้ั อนญุ าต ตลาดริมน้�ำคลองแดน อยู่ตำ� บลคลองแดน เช่อื มต่อ ใหพ้ ำ� นักอยู่ได้ ๓ วนั ๒ คนื ตดิ ตอ่ ทำ� บัตรผา่ นแดน กับต�ำบลรามแก้ว อ�ำเภอหัวไทร ของจังหวัด สงขสลงาขลา 2727

นครศรธี รรมราช เปน็ บรเิ วณทล่ี �ำคลองสามสาย คอื อ�ำเภอรตั ภมู ิ คลองระโนด คลองชะอวด และคลองปากพนัง วนอทุ ยานนำ�้ ตกบรพิ ตั ร อยหู่ มทู่ ี่ ๑๐ ตำ� บลเขาพระ ไหลมาบรรจบกัน กลายเป็นคลองเล็ก ๆ ท่ีมีชื่อว่า มตี น้ นำ้� มาจากทวิ เขาบรรทดั เดมิ ชอ่ื วา่ “นำ�้ ตกคลอง “คลองแดน” ถอื เปน็ เสน้ แบง่ เขตแดนธรรมชาตทิ ก่ี น้ั ลำ� เรียน” ต่อมาในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ ระหวา่ งสองจงั หวดั และถกู ขนานนามวา่ “คลองแดน เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ สามคลอง สองจังหวัด” ภายในตลาดมีห้องแถวไม้ เจา้ ฟา้ บรพิ ตั รสขุ มุ พันธ์ุ กรมพระนครสวรรคว์ รพนิ ติ เกา่ แกเ่ ลยี บรมิ คลอง มสี ะพานไมใ้ ชเ้ ปน็ ทางเดนิ เทยี่ ว ซ่ึงด�ำรงต�ำแหน่งผบู้ ญั ชาการทหารบกในขณะนนั้ ได้ ชมรอบตลาด มีร้านขายสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน เสดจ็ มาทรงพักผอ่ นทน่ี ้�ำตก และทรงจารกึ พระนาม รา้ นขายอาหารพ้นื บ้านทีห่ ารับประทานได้ยาก และ ไว้ที่หน้าผาของน�้ำตกว่า “บริพัตร” น�้ำตกคลองล�ำ การแสดงศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ทนี่ า่ ชม เชน่ มโนราห์ เรียนจึงเปลี่ยนช่ือเป็น “น้�ำตกบริพัตร” ตั้งแต่น้ัน หนังตะลุง และการแสดงดนตรไี ทยดว้ ยเครอ่ื งดนตรี เปน็ ต้นมา น้ำ� ตกมีท้ังหมด ๗ ชัน้ ชน้ั ล่างสุดเปน็ แอง่ ไทยผสมเคร่ืองดนตรีสากล รวมท้ังมีบริการเรือล่อง น�้ำขนาดใหญ่ เหมาะกับการลงเล่นน�้ำ มีรา้ นอาหาร ชมทัศนียภาพตลาดน�้ำและชุมชนริมน้�ำคลองแดน และหอ้ งน�ำ้ ให้บริการ ตลาดเปิดทุกวันเสาร์ เวลา ๑๒.๐๐-๒๐.๐๐ น. การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอรัตภูมิ ใช้ทางหลวง นอกจากนี้ บริเวณโดยรอบตลาดน้�ำซึ่งเป็นชุมชน หมายเลข ๔๐๖ เส้นทางไปจังหวัดสตูล ระหว่าง คลองแดน ถือเป็นหมู่บ้านท่องเท่ียววัฒนธรรมวิถี กิโลเมตรท่ี ๓๕-๓๖ มที างแยกให้เลีย้ วซา้ ย และตรง พุทธเชิงนิเวศ มีโฮมสเตย์บ้าน ๑๐๐ ปี เป็นทง้ั ที่พัก ไป ๘๐๐ เมตร ถงึ ตัวน�้ำตก ระยะทางจากตวั อำ� เภอ และแหล่งรวบรวมของโบราณที่เป็นของใช้ในชีวิต ๒๓ กิโลเมตร ประจ�ำวันของคนรุ่นก่อนจัดแสดงให้ชม รวมท้ังมี บรกิ ารโฮมสเตยอ์ กี หลายแหง่ ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วไดพ้ กั ผอ่ น อ�ำเภอสะเดา และสัมผัสวิถีชีวิตท่ีเรียบง่ายของชุมชนแห่งน้ี ดา่ นสะเดา หรือ ด่านนอก อยู่ตำ� บลส�ำนกั ขาม ตรง สอบถามข้อมูลได้ที่ คุณเกรียงไกร อนันตพงษ์ ข้ามกับด่านบูกิตกายูฮิตัม รัฐเคดาห์ สหพันธรัฐ (ประธานชมุ ชน) โทร. ๐๘ ๙๒๓๑ ๕๒๘๑ คณุ อภชิ าติ มาเลเซีย เป็นจุดผ่านแดนถาวร เปิดท�ำการทุกวัน เหมอื นทอง โทร. ๐๘ ๖๙๕๘ ๒๗๗๖ และ คณุ สายณั ห์ เวลา ๐๕.๐๐-๒๓.๐๐ น. ชลสาคร โทร. ๐๘ ๑๘๙๖ ๗๓๕๒ Facebook : ตลาด ระเบยี บการข้ามแดน นำ�้ ริมคลองแดน ๑. ชาวไทยและชาวต่างชาติ ใช้หนังสือเดินทาง การเดนิ ทาง จากตวั อำ� เภอระโนด หรอื จากตวั จงั หวดั ประทับตราผ่านเข้า-ออกที่ด่าน อนุญาตให้พ�ำนัก สงขลา ใช้ทางหลวงหมายเลข ๔๐๘ เส้นทางไป อยู่ได้ ๓๐ วนั นครศรีธรรมราช ถึงกิโลเมตรท่ี ๗๔ มีป้ายทางเข้า ๒. ผู้มีภูมิล�ำเนาอยู่ในจังหวัดสงขลา สตูล ยะลา ตลาดอยู่ซ้ายมือ เล้ียวซ้ายเข้าไป ๓ กิโลเมตร ถึง ปัตตานี และนราธิวาส สามารถปฏิบัติตามระเบียบ ตลาดฯ ระยะทางจากตวั อำ� เภอ ๒๓ กิโลเมตร ข้อ ๑ หรือ หากใช้บัตรผ่านแดนชั่วคราว สามารถ เดนิ ทางผา่ นเขา้ ไปเฉพาะในรฐั เคดาหเ์ ทา่ นนั้ อนญุ าต ให้พ�ำนักอยู่ได้ ๓ วัน ๒ คืน ติดต่อทำ� บัตรผ่านแดน 2828 สงขสลงาขลา

ชั่วคราว พร้อมแนบบัตรประชาชนตัวจริงและ วดั ถ�ำ้ เขารูปช้าง ค่าธรรมเนียม ณ ท่ีว่าการอ�ำเภอสะเดา ในวันเวลา ราชการ โทร. ๐ ๗๔๔๑ ๒๓๐๐ ได้เร่ิมพัฒนาวัดจนเป็นที่รู้จักของชาวบ้านในพ้ืนที่ ๓. กรณีน�ำรถยนต์ข้ามแดน ต้องท�ำเอกสารขอ และมชี าวสงิ คโปรท์ เี่ ปน็ ลกู ศษิ ยเ์ ขา้ มารว่ มทำ� บญุ และ อนญุ าตลว่ งหนา้ ณ สำ� นกั งานขนสง่ จงั หวดั สงขลา ใน สร้างวดั อย่างตอ่ เนอื่ ง วนั เวลา ราชการ โทร. ๐ ๗๔๓๓ ๐๒๕๒ ตอ่ ๑๗, ๒๐ สถานทนี่ า่ สนใจภายในวดั คอื เจดยี ห์ นิ ออ่ น ซงึ่ จำ� ลอง การเดนิ ทาง จากตวั อำ� เภอสะเดา ใชท้ างหลวงหมายเลข มาจากมหาเจดยี พ์ ทุ ธคยา ประเทศอนิ เดยี ภายในโถง ๔ เสน้ ทางไปดา่ นสะเดา ระยะทางจากตวั อำ� เภอ ๑๑ เจดยี ป์ ระดษิ ฐานพระพทุ ธรปู องคใ์ หญ่ ผนงั ทกุ ดา้ นมี กโิ ลเมตร หรอื จากตวั เมอื งสงขลา ใชท้ างหลวงหมายเลข ภาพวาดทแี่ ฝงหลกั ธรรมคำ� สอน ภายในวดั มถี ำ�้ ขนาด ๔๐๗ (ถนนกาญจนวนชิ ) จนถึงสามแยกคอหงส์ ต่อ ใหญ่ ปากทางเข้าถ้�ำตกแต่งด้วยหินลักษณะคล้าย ดว้ ยทางหลวงหมายเลข ๔ เส้นทางไปอ�ำเภอสะเดา งวงช้างเพื่อให้สมกับชื่อของถ�้ำ ภายในโถงถ�้ำแบ่ง จนถึงดา่ น ระยะทางจากตัวเมอื ง ๗๙ กิโลเมตร ออกเป็นหลายคูหา ทางเดินปูด้วยหินอ่อนสลับกับ กระเบอ้ื ง มพี ระพทุ ธรปู ปางไสยาสน์ ตแู้ สดงหยกมคี า่ ด่านปาดังเบซาร์ อยูต่ �ำบลปาดงั เบซาร์ ตรงข้ามกับ หลายชน้ิ ทแี่ กะสลกั อยา่ งงดงาม และหนิ งอกหนิ ยอ้ ย ดา่ นปาดงั เบซาร์ รฐั เปอรล์ สิ สหพนั ธรฐั มาเลเซยี เปน็ ซึ่งประดับด้วยไฟหลากสีท�ำให้ภายในถ้�ำดูมีมิติ จุดผ่านแดนถาวร เปิดท�ำการทุกวัน เวลา ๐๕.๐๐- ๒๑.๐๐ น. ส�ำหรับการขา้ มแดน ใชร้ ะเบียบการขา้ ม แดนเช่นเดียวกับด่านสะเดา กรณีใช้บัตรผ่านแดน ชวั่ คราว สามารถเดนิ ทางผา่ นเขา้ ไปเฉพาะในรฐั เปอร์ ลสิ เทา่ นน้ั สอบถามขอ้ มลู ไดท้ ่ี ทว่ี า่ การอำ� เภอสะเดา โทร. ๐ ๗๔๔๑ ๒๓๐๐ ในวนั เวลา ราชการ การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอสะเดา ใช้ทางหลวง หมายเลข ๔๐๕๔ ระยะทาง ๒๕ กิโลเมตร หรือจาก ตัวเมืองสงขลา ใช้ทางหลวงหมายเลข ๔๐๗ จนถึง สามแยกคอหงส์ ต่อดว้ ยทางหลวงหมายเลข ๔ เข้าสู่ ต�ำบลคลองแงะ มีทางสามแยกให้เล้ียวขวา เข้าสู่ ทางหลวงหมายเลข ๔๑๔๕ ถึงด่าน ระยะทางจาก ตวั เมือง ๗๘ กิโลเมตร วดั ถำ้� เขารปู ชา้ ง อยหู่ มทู่ ี่ ๖ เชงิ ทวิ เขาแกว้ ตำ� บลปาดงั เบซาร์ ใกลร้ อยตอ่ พรมแดนไทย-มาเลเซยี ผพู้ ฒั นาวดั เป็นพระสงฆ์ชาวสิงคโปร์ที่เดินธุดงค์ และมาปฏิบัติ วิปสั สนาในถ�้ำเขารปู ชา้ งตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๑ จากนั้น สงขสลงาขลา 2929

อทุ ยานนกนำ้� คูขดุ น่าสนใจ ภายนอกถ�้ำมีล�ำธารน�้ำไหลผ่าน ตรงตาม ยืนเฝ้าอยู่ปากทางเข้าถ้�ำ ภายในถ�้ำมีพระพุทธรูป หลักฮวงจุ้ย ท่ลี �ำน�้ำเปรยี บเสมอื นความช่มุ ชืน่ ทำ� ให้ เก่าแก่อายุหลายร้อยปี สร้างด้วยไม้โบกทับด้วย สถานท่แี ห่งนัน้ สงบรม่ เย็น ปนู ซเี มนต์ มีพระพุทธรูปปางไสยาสนอ์ งคใ์ หญ่ และ การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอสะเดา ใช้ทางหลวง พระพทุ ธรูปปางอ่ืน ๆ ใหส้ ักการะ และยงั มีหนิ งอก หมายเลข ๔๐๕๔ เส้นทางไปดา่ นปาดงั เบซาร์ และ หนิ ยอ้ ยใหไ้ ดช้ มตลอดทางเดนิ ในโถงถำ้� ผ่านทางเข้าดา่ น ถึงสามแยกให้เลย้ี วซ้าย ตรงไปและ การเดินทาง จากท่ีว่าการอ�ำเภอสะบ้าย้อย ใช้ เลี้ยวขวา ผ่านบา้ นเขารูปช้างถงึ ตวั วัด ระยะทางจาก ทางหลวงหมายเลข ๔๐๙๕ (สะบา้ ยอ้ ย-เขาแดง) หา่ ง ตัวอ�ำเภอ ๒๔ กิโลเมตร และห่างจากด่านปาดัง จากตวั อ�ำเภอ ๒๕ กโิ ลเมตร เบซาร์ ๑๓ กิโลเมตร อ�ำเภอสทงิ พระ อ�ำเภอสะบ้ายอ้ ย วัดจะท้ิงพระ อยหู่ มทู่ ่ี ๔ ตำ� บลจะทิง้ พระ เดิมเรียก วดั ถ้�ำตลอด อย่บู า้ นถำ้� ตลอด หมทู่ ่ี ๖ ตำ� บลเขาแดง ว่า “วัดสทิงพระ” สร้างเมื่อ พ.ศ. ๑๕๔๒ โบราณ เป็นวัดแบบมหานิกาย ภายในวัดมีถ้�ำเรียกว่า “ถ้�ำ สถานภายในวัดเป็นศิลปะสมัยศรีวิชัย เช่น เจดีย์ ตลอด” เป็นอุโมงค์ขนาดใหญ่ผ่านทะลุไปอีกฟาก พระมหาธาตุ สูง ๒๐ เมตร หอระฆังโบราณ วิหาร ของภูเขา มีรูปปั้นยักษ์ขนาดใหญ่ สูงราว ๖ เมตร พระพุทธไสยาสน์ ซ่ึงภายในมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง 3030 สงขสลงาขลา

เร่ืองราวพุทธประวัติท่ียังสมบูรณ์อยู่มาก ในวันแรม ๑ ค่�ำ เดือน ๖ ของทกุ ปี วัดจะมีงานสมโภชพระพทุ ธ ไสยาสน์ และพระเจดยี ์ การเดนิ ทาง จากทวี่ า่ การอำ� เภอสทงิ พระ ใชท้ างหลวง หมายเลข ๔๐๘ เส้นทางไปอำ� เภอระโนด ประมาณ ๕๐๐ เมตร ทางเข้าวดั อยรู่ ิมถนนทางซ้ายมือ หาดสทงิ พระ หรอื หาดมหาราช อยตู่ ำ� บลจะทงิ้ พระ เปน็ ชายทะเลทอ่ี ยใู่ นเขตตวั อำ� เภอสทงิ พระ ชายหาด ยาวประมาณ ๓ กิโลเมตร ริมหาดเป็นป่าสนทะเล รม่ รน่ื มบี รรยากาศเงยี บสงบ มีทพ่ี ักและรา้ นอาหาร เปดิ ให้บริการตลอดแนวหาด การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอสทิงพระ ใช้ทางหลวง หมายเลข ๔๐๘ ถงึ สแ่ี ยกกลางตวั อำ� เภอ ใหเ้ ลยี้ วขวา และตรงไป ๕๐๐ เมตร ถงึ ชายหาด อุทยานนกน้�ำคูขุด (เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลสาบ วดั พระราชประดษิ ฐาน สงขลา) อยู่หมทู่ ี่ ๔ ตำ� บลคูขุด เปน็ บงึ นำ�้ ซง่ึ เปน็ สว่ น หน่ึงของทะเลสาบสงขลา ครอบคลุมพื้นท่ีจังหวัด วัดพระราชประดษิ ฐาน หรือ วัดพะโคะ อยหู่ มทู่ ่ี ๖ สงขลาและพัทลุง เพราะมรี ะบบนิเวศที่อดุ มสมบูรณ์ ตำ� บลชมุ พล เปน็ วัดจำ� พรรษาของ “สมเดจ็ พะโคะ” จึงมนี กหลากหลายสายพันธอุ์ าศยั อยทู่ น่ี ่ี ช่วงเวลาที่ หรอื “หลวงพอ่ ทวดเหยยี บนำ�้ ทะเลจดื ” ซง่ึ ประชาชน เหมาะสำ� หรบั ดนู กอยรู่ ะหวา่ งเดอื นธนั วาคม-มนี าคม เคารพนบั ถอื มาก เลา่ กนั วา่ วนั หนง่ึ มโี จรสลดั แลน่ เรอื ของทุกปี บริเวณที่ท�ำการอุทยานฯ มีเรือบริการ เลียบมาตามฝัง่ เห็นสมเดจ็ พะโคะเดนิ อยู่ มีลักษณะ นำ� ชมนก ค่าบรกิ ารชั่วโมงละ ๓๐๐-๕๐๐ บาท เรือ แปลกกว่าคนท้ังหลายจึงใคร่จะลองดี โจรสลัดจอด น่ังได้ ๖-๗ คน มีบ้านพักและร้านอาหารให้บริการ เรือและจบั สมเดจ็ พะโคะไป เมื่อเรือแลน่ มาได้สกั ครู่ สอบถามข้อมูลได้ที่ ส�ำนักงานเขตห้ามล่าสัตว์ป่า เกิดเหตุเรือแล่นต่อไปไม่ได้ ต้องจอดเรือกลางทะเล ทะเลสาบสงขลา โทร. ๐๘ ๕๐๗๙ ๒๔๕๖ อยู่หลายวัน จนน้�ำจืดที่ใช้บนเรือหมดลง โจรสลัด การเดินทาง รถยนต์ จากตัวอ�ำเภอสทิงพระ ใช้ เดือดร้อนมาก สมเดจ็ พะโคะสงสาร จึงใชเ้ ทา้ ซา้ ยแช่ ทางหลวงหมายเลข ๔๐๘ เส้นทางไปตัวเมืองสงขลา ลงไปในนำ้� ทะเลเกดิ เปน็ ประกายโชตชิ ว่ ง นำ�้ ทะเลได้ ประมาณ ๖๐๐ เมตร มีทางแยกใหเ้ ลีย้ วขวาเขา้ ไป ๓ กลายเป็นน�้ำจืด โจรสลัดจึงเกิดความเลื่อมใสศรัทธา กิโลเมตร ระยะทางจากตวั อำ� เภอ ๔ กโิ ลเมตร รถประจ�ำทาง สายนครศรีธรรมราช-หาดใหญ่ หรือ สงขสลงาขลา 3131 ระโนด-หาดใหญ่ ลงรถหนา้ ท่วี า่ การอำ� เภอสทิงพระ และตอ่ รถจักรยานยนต์รับจา้ งเข้าไปอทุ ยานฯ

กราบไหว้ขอขมา และนำ� สมเด็จพะโคะขนึ้ ฝง่ั ตง้ั แต่ อำ� เภอสงิ หนคร นน้ั มาประชาชนจงึ พากนั ไปกราบไหว้ ภายในบรเิ วณ เจดีย์พ่ีน้องยอดเขาแดง อยู่บนยอดเขาแดง ต�ำบล วัดมีสิ่งส�ำคัญ คือ พระมาลิกเจดีย์ สถาปัตยกรรม เขาแดง เป็นเจดีย์ ๒ เจดยี ท์ ี่สร้างข้นึ ในสมัยรัชกาล ภาคใต้แบบลังกา เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารี ที่ ๔ “เจดีย์องค์ด�ำ” สร้างโดยเจ้าเมืองพระคลัง รกิ ธาตุและวหิ ารพระพทุ ธรปู ปางไสยาสน์“พระโคตมะ” (ดศิ บุนนาค) สมเดจ็ เจ้าพระยาองค์ใหญ่ เพือ่ เป็นที่ ซง่ึ เปน็ ฝมี อื ชา่ งชาวทอ้ งถน่ิ รวมทงั้ มพี พิ ธิ ภณั ฑพ์ ะโคะ ระลกึ เมอ่ื ครง้ั เดนิ ทางมาปราบกบฏเมอื งไทรบรุ ี พ.ศ. ซ่ึงมีเรื่องราวประวัติของหลวงปู่ทวดและอัฐบริขาร ๒๓๗๓ “เจดยี ์องค์ขาว” สร้างโดยพระยาศรพี ิพัฒน์ ของท่านให้ประชาชนได้สักการบูชา และจัดแสดง (ทัด บุนนาค) สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย เพ่ือเป็น โบราณวัตถุต่าง ๆ เช่น เคร่ืองทองเหลือง เคร่ือง ท่ีระลึกเม่ือครั้งเดินทางมาปราบกบฎเมืองไทรบุรี กระเบ้ือง ฯลฯ ปัตตานี ปีนัง และมลายู เม่ือปราบกบฏได้แล้ว การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอสทิงพระ ใช้ทางหลวง พระยาศรีพิพัฒน์ได้รับราชการอยู่เมืองสงขลาเป็น หมายเลข ๔๐๘ เส้นทางไปอ�ำเภอระโนด ถึงหลัก เวลา ๒ ปี ระหว่างน้ันได้สร้างเจดีย์ไว้บนยอดเขา กิโลเมตรท่ี ๑๑๐ มีทางแยกให้เล้ียวซ้ายเข้าไป ๓ แดงอีกองค์หน่ึงคู่กันกับเจดีย์ของพี่ชาย แล้วจึงยก กโิ ลเมตร ตวั วดั ตงั้ อยบู่ นยอดเขาเลก็ ๆ มที างรถยนต์ ทพั กลับกรงุ เทพมหานคร ข้ึนไปถงึ และมีทางเดินเป็นบนั ไดนาคข้ึนสู่ตวั วัดเชน่ การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอสิงหนคร ใช้ทางหลวง กนั ระยะทางจากตวั อำ� เภอ ๑๗ กโิ ลเมตร หมายเลข ๔๐๘ เส้นทางไปตัวเมืองสงขลา ต่อด้วย หาดแกว้ 3232 สงขสลงาขลา

วดั หาดใหญใ่ น ทางหลวงหมายเลข ๔๒๒๒ ถึงบ้านเขาแดง ระยะ เลียบชายหาด ประชาชนในพื้นท่ีนิยมมาพักผ่อน ทางจากตัวอ�ำเภอ ๔ กโิ ลเมตร ออกกำ� ลงั กายปั่นจักรยาน มีที่พักและร้านอาหารให้ บรกิ ารตลอดแนวหาด หาดแกว้ อยตู่ ำ� บลชงิ คู ชายหาดเปน็ แนวยาว เหมาะ การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอสิงหนคร ใช้ทางหลวง ลงเล่นน�้ำ ริมหาดร่มร่ืนไปด้วยต้นสนทะเล มีถนน หมายเลข ๔๐๘ เสน้ ทางไปอำ� เภอสทงิ พระ ประมาณ เลยี บตลอดแนวหาด มที พ่ี กั และรา้ นอาหารใหบ้ รกิ าร ๑๖ กิโลเมตร มที างแยกให้เลี้ยวขวา เข้าส่ทู างหลวง การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอสิงหนคร ใช้ทางหลวง ชนบทสาย ๔๒๒๐ และตรงไป ๑ กิโลเมตร ถึง หมายเลข ๔๐๘ เสน้ ทางไปอำ� เภอสทงิ พระ ประมาณ ชายหาด ระยะทางจากตวั อำ� เภอ ๑๗ กิโลเมตร ๓ กิโลเมตร มีทางแยกให้เล้ียวขวา และตรงไป ๑ กิโลเมตร ถึงชายหาด ระยะทางจากตัวอ�ำเภอ ๔ อ�ำเภอหาดใหญ่ กโิ ลเมตร วัดมหัตตมังคลาราม หรือ วัดหาดใหญ่ใน อยู่ ถนนเพชรเกษม หลังตลาดหาดใหญ่ใน ใกล้สะพาน หาดมว่ งงาม อยตู่ ำ� บลมว่ งงาม เปน็ ชายหาดทอี่ ยทู่ าง คลองอู่ตะเภา ภายในวัดประดิษฐานพระพุทธรูป ตอนเหนือของหาดแก้ว มีความยาวประมาณ ปางไสยาสนอ์ งค์ใหญ่ มคี วามยาว ๓๕ เมตร สูง ๑๕ ๓ กิโลเมตร มีถนนคอนกรีตและทิวต้นมะพร้าว เมตร นามว่า “พระพทุ ธมหตั ตมงคล” นักทอ่ งเท่ยี ว สงขสลงาขลา 3333

พระพทุ ธมงคลมหาราชบนยอดเขาคอหงส์ ท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศนิยมมาสักการะ เพื่อให้ชาวไทยได้ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณท่ี ภายในบรเิ วณวัด มศี าลาไมเ้ กา่ แกส่ วยงาม หน้าบัน พระองค์ทรงสร้างคุณูปการอันยังประโยชน์ต่อ ประดับปูนปั้นรูปเทพพนม นอกจากน้ี มีเรือปูนปั้น ประชาชนจนถึงทุกวันน้ี และลานพระบรมรูปแห่ง จ�ำลอง พญานาค ๗ เศียร ภายในล�ำเรือประดิษฐาน น้ียังใช้เป็นที่จัดกิจกรรมเน่ืองในวันปิยมหาราชเป็น พระพุทธรูปปางมารวิชัยในซุม้ สวยงาม ประจ�ำทกุ ปี ยอดเขาคอหงส์ เป็นภูเขาขนาดย่อมอยู่ภายในสวน สวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ อยถู่ นนกาญ สาธารณะฯ มีทางถนนขึน้ ไปถึงบนยอดเขา สามารถ จนวนิช ต�ำบลหาดใหญ่ เป็นสถานท่ีพักผ่อนหย่อน น�ำรถยนต์และจักรยานยนต์ข้ึนไปได้ นอกจากน้ีมี ใจของชาวหาดใหญ่และอ�ำเภอใกล้เคียง โดยการ บริการรถรางจากศนู ยบ์ รกิ ารนักทอ่ งเทยี่ ว น�ำข้ึนไป ดดั แปลงพน้ื ทจี่ ากภเู ขาทง้ั ลกู ใหเ้ ปน็ สวนสาธารณะที่ บนยอดเขา ค่าบริการ คนละ ๒๐ บาท (ในกรณี รม่ รนื่ ดว้ ยตน้ ไมน้ อ้ ยใหญ่ ในเนอ้ื ทกี่ วา่ ๙๐๐ ไร่ สถาน ตอ้ งการใชบ้ ริการรถรางกลับลงมาด้านล่าง ต้องเกบ็ ท่ีนา่ สนใจภายในสวนสาธารณะฯ ไดแ้ ก่ บตั รโดยสารไวแ้ สดงตอ่ เจา้ หนา้ ท)ี่ บนยอดเขาคอหงส์ พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางประทานพร จลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั อยตู่ รงลานกวา้ งบรเิ วณเชงิ เขา องคใ์ หญ่ นามวา่ “พระพทุ ธมงคลมหาราช” ดา้ นหนา้ 3434 สงขสลงาขลา

องค์พระเปน็ ลานชมทวิ ทัศน์เมอื งหาดใหญ่ สามารถ ของผู้ที่สนใจด้านดาราศาสตร์ เปิดให้บริการทุกวัน เหน็ ทศั นยี ภาพไดไ้ กลถงึ ทะเลสาบสงขลา นกั ทอ่ งเทยี่ ว เวลา ๐๙.๐๐-๒๐.๐๐ น. อัตราค่าบริการ คนละ นิยมขึ้นมาชมในยามเย็น เพราะสามารถเห็น ๒๐ บาท สอบถามข้อมลู โทร. ๐ ๗๔๕๓ ๑๘๖๓ พระอาทิตย์ตกไดอ้ ยา่ งชดั เจน นอกจากนี้ ภายในสวนสาธารณะฯ มสี นามหญา้ ใหน้ งั่ ศาลาท้าวมหาพรหม อยู่บนยอดเขาชุมสัก ซึ่งเป็น เลน่ ปกิ นกิ การจดั ตกแตง่ สวนหยอ่ มทส่ี วยงาม มอี า่ ง พ้ืนท่ีส่วนหน่ึงของสวนสาธารณะเทศบาลนคร เกบ็ น�้ำ สะพานแขวน เรือป่ันใหเ้ ชา่ รา้ นอาหาร และ หาดใหญ่ ภายในศาลาประดิษฐานท้าวมหาพรหม ห้องน�้ำรองรับนักท่องเที่ยว สวนสาธารณะฯ เปิดให้ เทพสูงสุดของศาสนาฮินดู และมีรูปปั้นช้างเอราวัณ บรกิ ารทกุ วนั เวลา ๐๖.๐๐-๒๐.๐๐ น. สอบถามขอ้ มลู ขนาดใหญ่ บริเวณศาลาฯ เป็นจุดชมทิวทัศน์ท่ี โทร. ๐ ๗๔๒๐ ๐๐๐๐ www.hatyaipark.com สวยงามอกี แห่งหน่งึ ของเมอื งหาดใหญ่ หาดใหญ่เคเบ้ิลคาร์ กระเช้าลอยฟ้าแห่งแรกของ พิพิธภัณฑ์มายากล หาดใหญ่ Magic Museum ประเทศไทย อยบู่ นเขาคอหงส์ มกี ระเชา้ ๒ คนั ระยะ Hat Yai by Black Crystal อยู่ถนนกาญจนวนชิ ทาง ๕๒๕ เมตร ใช้เวลาเดนิ ทางต่อรอบ ๒.๓๐ นาที ตำ� บลหาดใหญ่ ตรงขา้ มกบั วทิ ยาลยั เทคนคิ หาดใหญ่ บรรทกุ ผโู้ ดยสารไดค้ รง้ั ละ ๘ คน เปน็ เสน้ ทางสกั การะ แหล่งรวบรวมเรื่องราวมายากล ต้ังแต่อดีตจนถึง สงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธซิ์ ง่ึ ประดษิ ฐานอยบู่ นยอดเขาคอหงสจ์ าก ปัจจุบันท้ังใน ประเทศและต่างประเทศ, อุปกรณ์ สถานที ่ี ๑ คอื พระพทุ ธมงคลมหาราช ไปสถานที ่ี ๒ การแสดงมายากลทห่ี าชมไดย้ าก, ของสะสมและของ คือ รูปป้ันองค์ทา้ วมหาพรหม ขณะนง่ั อยใู่ นกระเชา้ แปลกทต่ี อ้ งพศิ วง สนกุ สนานเพลดิ เพลนิ กบั การสวม สามารถเห็นทัศนียภาพของทิวเขาคอหงส์ อาคาร บทบาทนักมายากลในโซนภาพวาด ๓ มิติ ปิดท้าย บ้านเรือนในตัวเมืองหาดใหญ่ และทะเลสาบสงขลา ด้วยความตื่นเต้นกับการแสดง มายากลอิลลูช่ัน ใน บริเวณสถานีให้บริการกระเช้าลอยฟ้า มีร้านกาแฟ โรงละครมายากลแห่งแรกของหาดใหญ่ และรา้ นจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ทรี่ ะลกึ กระเชา้ ลอยฟา้ เปดิ ให้ เปิดใหเ้ ข้าชมทกุ วัน เวลา ๐๙.๐๐-๑๘.๐๐ น. อตั รา บรกิ าร วนั องั คาร-พฤหสั บดี เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๓๐ น. ค่าเข้าชาวไทย ผใู้ หญ่ ๒๐๐ บาท เดก็ ๑๐๐ บาท วันศุกร์-อาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐-๑๘.๐๐ น. (ปิดวัน ชาวต่างชาติ ผู้ใหญ่ ๓๐๐ บาท เด็ก ๒๕๐ บาท จนั ทร)์ ชาวไทย ผใู้ หญ่ ๑๐๐ บาท เดก็ ๕๐ บาท สอบถามข้อมูล โทร. ๐ ๗๔๒๑ ๑๔๔๔ www. ข้าราชการ นักเรยี น นกั ศึกษาทสี่ วมเครอ่ื งแบบ ๕๐ magicmuseum.co บาท และชาวต่างชาติ ๒๐๐ บาท สอบถามข้อมูล โทร. ๐๘ ๖๙๖๐ ๗๔๒๖ ตลาดกมิ หยง อยถู่ นนศภุ สารรงั สรรค์ เปน็ ตลาดขาย ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ดาราศาสตร์นคร ของฝากและของทร่ี ะลกึ แหง่ ใหญ่ มชี อ่ื เตม็ วา่ “ตลาด หาดใหญ่ (หอดูดาว) อยบู่ นเขาคอหงส์ กอ่ นถึงลาน ซีกิมหยง” เป็นชื่อของคหบดีชาวจีนผู้หน่ึงซ่ึงเป็น ชมทิวทัศน์บนยอดเขา ๓๐๐ เมตร เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ เจา้ ของทด่ี นิ เดมิ ในยา่ นนี้ ตวั ตลาดเปน็ อาคารสองชน้ั ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละดาราศาสตรท์ สี่ มบรู ณแ์ บบและ ซึ่งเดิมเป็นโรงภาพยนตร์เก่าและปรับปรุงเป็นตลาด ทันสมัย ภายในมหี ้องนิทรรศการ โรงฉายภาพยนตร์ ชนั้ บนเปน็ รา้ นขายสนิ คา้ ทวั่ ไป ชน้ั ลา่ งเปน็ ตลาดขาย และโดมดดู าว สามารถเตมิ เตม็ จนิ ตนาการและความรู้ ของแห้ง ส่วนใหญ่เป็นสินค้าน�ำเข้าจากต่างประเทศ สงขสลงาขลา 3535

ตลาดน้�ำคลองแห เชน่ ถว่ั ขนม ผลไมอ้ บแหง้ เครอ่ื งดม่ื สำ� เรจ็ รปู พรอ้ มชง ภาชนะที่ใส่อาหารใช้วัสดุธรรมชาติ เช่น ใบตอง ฯลฯ และมสี นิ คา้ พน้ื เมอื งปกั ษใ์ ต้ เชน่ ผา้ ทอ ผา้ ปาเตะ๊ กะลามะพรา้ ว ไม้ไผ่ ตลาดน�้ำเปิดวันศกุ ร์ เสาร์ และ และผา้ คลมุ ศรี ษะแบบอสิ ลาม (ฮญิ าบ) ตลาดกมิ หยง อาทติ ย์ เวลา ๑๕.๐๐-๒๑.๐๐ น. สอบถามขอ้ มลู ไดท้ ่ี เปน็ ตลาดทม่ี ชี อ่ื เสยี งคกู่ บั ตลาดสนั ตสิ ขุ ซง่ึ จำ� หนา่ ย เทศบาลเมอื งคลองแห โทร. ๐ ๗๔๕๘ ๐๘๘๘ www. เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ นำ้� หอม และเครอ่ื งสำ� อาง อยบู่ นถนน klonghaecity.go.th นิพทั ธ์อทุ ิศ ๒ ในยา่ นเดียวกัน การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอหาดใหญ่ ใช้ทางหลวง หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) เลย้ี วซา้ ยเขา้ ถนนนพิ ทั ธ์ ตลาดน�้ำคลองแห อยู่ในบริเวณวัดคลองแห ต�ำบล สงเคราะห์ ๕ ขา้ งธนาคารแหง่ ประเทศไทย ตรงไปจน คลองแห เป็นตลาดน้�ำแห่งแรกของภาคใต้ จ�ำลอง สดุ ทางมที างแยกใหเ้ ลย้ี วขวาตรงไปประมาณ๔๐๐เมตร วิถีชีวิตดั้งเดิมคือการค้าขายทางน้�ำของชาวบ้าน เปน็ ทางแยกใหเ้ ลยี้ วซา้ ยขา้ มทางรถไฟตรงไป๑กโิ ลเมตร คลองแห ซ่ึงมีพ่อค้าแม่ค้าพายเรือน�ำสินค้ามาขาย พบวัดคลองแหอยู่ซ้ายมือบริเวณโค้งของถนน ท้ังขนมพ้ืนเมืองและอาหารปักษ์ใต้หลากหลายชนิด ตรงเขา้ ไปในวดั ตลาดนำ้� คลองแหอยู่ฝงั่ ตรงข้ามวดั 3636 สงขสลงาขลา

นำ้� ตกโตนงาช้าง มัสยดิ กลางสงขลา หรือ มสั ยดิ กลางดยิ ์นุลอิสลาม น�้ำตกโตนงาช้าง อยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าโตน อยถู่ นนลพบรุ รี าเมศวร์ ตำ� บลคลองแห เปน็ ศนู ยร์ วม งาช้าง ต�ำบลฉลุง เป็นน้�ำตกที่สวยงามแห่งหน่ึงของ จติ ใจของชาวมสุ ลมิ ในสงขลา ภายในตกแตง่ สวยงาม ภาคใต้ มที ง้ั หมด ๗ ชน้ั มนี ำ�้ ตลอดทงั้ ปี ชน้ั ทสี่ วยงาม โอ่โถง เหมาะแก่การท�ำจิตใจให้สงบและประกอบ และเปน็ ชอื่ ของนำ้� ตกคอื ชนั้ ท่ี ๓ เพราะสายนำ�้ ตกไหล พธิ กี รรมทางศาสนา มสั ยดิ แหง่ นไ้ี ดร้ บั การขนานนาม แยกออกเป็นสองทางผ่านหน้าผาหินลงมาลักษณะ ว่า “ทัชมาฮาลเมอื งไทย” การมาเทยี่ วชมควรปฏิบัติ คลา้ ยงาชา้ ง และคำ� วา่ “โตน” ในภาษาพน้ื เมอื ง แปลวา่ ตนสำ� รวม และแต่งกายสุภาพ น�้ำตก ดังนั้น “โตนงาช้าง” จึงหมายถึง น�้ำตกรูป สงขสลงาขลา 3737

งาช้าง บริเวณใกล้น�้ำตกมีเส้นทางศึกษาธรรมชาติ เทศกาลงานประเพณี สามารถเดินเท่ียวชมไดด้ ว้ ยตนเอง งานประเพณสี งกรานตห์ าดใหญ่ มดิ ไนทส์ งกรานต์ เขตรักษาพนั ธ์สุ ตั วป์ า่ โตนงาชา้ ง มบี ้านพกั ลานกาง จัดข้ึนระหว่างวันที่ ๑๑-๑๕ เมษายน ของทุกปี เต็นท์ และร้านอาหารให้บริการ อยู่บริเวณทางเข้า ใจกลางเมอื งหาดใหญ่ บรเิ วณถนนนพิ ทั ธอ์ ทุ ศิ ๓ ถนน น�้ำตก สอบถามข้อมูล โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๘๕๑๘ เสน่หานุสรณ์ และถนนธรรมนญู วถิ ี เปน็ การเล่นน�้ำ การเดินทาง รถยนต์ จากตัวอ�ำเภอหาดใหญ่ ใช้ สงกรานต์ในชว่ งเยน็ ไปจนถงึ ดกึ ไดร้ บั ความสนใจทง้ั ทางหลวงหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) เส้นทางไป จากชาวไทยและชาวตา่ งชาติ โดยเฉพาะชาวมาเลเซยี อำ� เภอรตั ภมู ิ จนถงึ หลกั กโิ ลเมตรที่ ๑๓ เขตตำ� บลหแู ร่ และสงิ คโปร์ ซง่ึ นยิ มเดนิ ทางดว้ ยรถยนตข์ า้ มชายแดน มีทางแยกให้เล้ียวซ้ายไปตามทางหลวงชนบทสาย เข้ามารว่ มกจิ กรรมน้ี สอบถามขอ้ มูลไดท้ ่ี ส�ำนกั งาน ๑๐๒๖ อีก ๑๓ กโิ ลเมตร ถึงน�้ำตก ระยะทางจากตัว เทศบาลนครหาดใหญ่ โทร. ๐ ๗๔๒๐ ๐๐๐๐ อำ� เภอ ๒๖ กโิ ลเมตร รถประจ�ำทาง มีรถสองแถวโดยสารว่ิงจากตลาดสด งานเกษตรภาคใต้ จัดขึ้นในเดือนสิงหาคมของทุกปี เทศบาลเมอื งหาดใหญ่-นำ�้ ตก ทกุ วัน ณ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลา งานประเพณสี งกรานต์หาดใหญ่ มิดไนท์สงกรานต์ 3838 สงขสลงาขลา

นครินทร์ อ�ำเภอหาดใหญ่ เพ่ือส่งเสริมการเกษตร งานพัฒนาและส่งเสริมการท่องเท่ียว เทศบาลนคร ในงานมีกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการเกษตรและ สงขลา โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๒๐๒๕ อุตสาหกรรมเกษตร การประกวดและจ�ำหน่าย ผลิตผลทางการเกษตรจากจังหวัดต่าง ๆ ในภาคใต้ สนิ ค้าพน้ื เมืองและของทรี่ ะลกึ นทิ รรศการเกษตร และการแสดงทางศลิ ปวฒั นธรรม สอบถามข้อมูลได้ท่ี คณะทรัพยากรธรรมชาติ ข้าวเกรยี บกุ้ง-ปลา และกงุ้ แก้ว เปน็ ผลติ ภัณฑ์พื้น มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ โทร. ๐ ๗๔๒๘ ๖๐๐๗, เมอื งของสงขลา สว่ นมากผลิตท่ีต�ำบลหวั เขา อ�ำเภอ ๐ ๗๔๒๘ ๖๐๔๒ สิงหนคร เน่ืองจากชาวบ้านมีอาชีพหลักคือการท�ำ งานเทศกาลท�ำบุญเดือนสิบ เป็นงานประเพณี ประมง มวี ตั ถดุ บิ จากทะเลทสี่ ามารถนำ� มาแปรรปู ได้ ของชาวไทยภาคใต้ จัดข้ึนระหว่างแรม ๑-๑๕ ค่�ำ เชน่ กงุ้ ปลา จงึ มกี ารรวมกลมุ่ ผลติ ขา้ วเกรยี บกงุ้ ขา้ ว เดือน ๑๐ (ช่วงเดือนตลุ าคม) เกิดจากความเชอื่ ที่วา่ เกรียบปลาทู ปลาหวาน และกงุ้ แก้ว สามารถหาซ้อื วญิ ญาณของญาตพิ นี่ อ้ งผลู้ ว่ งลบั ไปแลว้ โดยเฉพาะผทู้ ่ี ผลติ ภัณฑไ์ ดจ้ ากร้านจ�ำหน่ายอาหารทะเลแหง้ และ ยังไม่ไดไ้ ปเกิด จะไดร้ ับการปลดปล่อยใหม้ าพบญาติ รา้ นจำ� หน่ายสนิ ค้าท่ีระลกึ ทว่ั ไปในจังหวัด พ่ีน้องในโลกมนุษย์ ผู้ท่ียังมีชีวิตอยู่จะจัดหาอาหาร ต่าง ๆ ไปท�ำบุญท่ีวัด เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ญาติ รปู หนงั ตะลงุ หนงั ตะลงุ เปน็ ศลิ ปะพน้ื บา้ นของภาคใต้ ท่ลี ่วงลับไปแลว้ มีการแสดงในจังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง งานประเพณลี ากพระและตกั บาตรเทโว จดั ขน้ึ ในวนั ตรัง และสงขลา การแสดงจะปลกู โรงแสดง และใช้ แรม ๑ คำ่� เดอื น ๑๑ ของทกุ ปี (ช่วงเดอื นตลุ าคม) ตวั หนงั ตะลงุ ทแี่ กะจากหนงั สตั ว์ เวลาเชดิ หนงั ใชแ้ สง โดยพธิ ีจะเริม่ ลว่ งหนา้ กอ่ นหนึง่ วัน คอื ในวันขึน้ ๑๕ จากหลอดไฟฟ้าเพ่ือสะท้อนให้เห็นเงาหนัง และใช้ คำ่� เดือน ๑๑ (วนั ออกพรรษา) มกี ารหม่ ผ้าพระเจดีย์ คนพากย์เป็นเร่ืองราวต่าง ๆ รูปหนังตะลุงสามารถ ท่ปี ระดษิ ฐานบนยอดเขาตังกวน อำ� เภอเมืองสงขลา หาซ้ือได้ตามร้านจ�ำหน่ายสินค้าที่ระลึกท่ัวไปใน และเช้าวนั ถดั มาคอื วนั แรม ๑ ค�ำ่ เดือน ๑๑ เป็นพิธี จงั หวัด ตักบาตรเทโวโรหณะ บรเิ วณเชิงเขาตงั กวน พระสงฆ์ หลายร้อยรูปเดินลงมาตามบันไดนาคจากยอดเขา ผา้ ทอเกาะยอ เปน็ ผา้ ทอพ้ืนเมืองของจงั หวดั สงขลา ตงั กวน เพอ่ื รบั บณิ ฑบาตจากพทุ ธศาสนกิ ชน ตอนสาย แหล่งทอผ้าชนิดนี้อยู่ท่ีเกาะยอ อ�ำเภอเมืองสงขลา จะมีขบวนเรือพระจากวัดต่าง ๆ ในสงขลา เคลื่อน เป็นผ้าทอที่มีลวดลายหลากหลายสวยงาม เช่น ผา่ นไปตามถนนเสน้ ต่าง ๆ เพือ่ ให้พุทธศาสนิกชนได้ ลายราชวัตถ์ ลายลูกแก้ว ลายดอกพิกุล มีลายเส้น ร่วมท�ำบุญและลากพระ ตามความเช่ือท่ีว่าจะท�ำให้ ละเอยี ดและทนทาน สามารถชมการทอผ้าพร้อมทัง้ ไดบ้ ุญกุศลสูง โดยเรือพระจะมารวมกันท่ีบริเวณ ซื้อหาผ้าทอเกาะยอ และผลิตภัณฑ์จากผ้าทอ เช่น แหลมสน เพือ่ ร่วมประกวดการตกแตง่ เรือพระ และ ย่าม กระเป๋า เสื้อ ผ้าซ่ิน ฯลฯ ได้ท่ี กลุ่มราชวัตถ์ มกี ารแสดงศลิ ปวฒั นธรรมตา่ ง ๆ สอบถามขอ้ มลู ไดท้ ี่ แสงส่องหล้าท่ี ๑ อยูห่ มู่ท่ี ๓ ตำ� บลเกาะยอ อำ� เภอ เมือง โทร. ๐ ๗๔๔๕ ๐๐๒๙, ๐๘ ๖๒๙๑ ๗๘๕๓, ๐๘ ๙๘๗๙ ๑๗๖๕ กลุ่มทอผ้าดอกพิกุล หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลเกาะยอ อ�ำเภอเมือง โทร. ๐ ๗๔๕๙ ๑๗๑๑ สงขสลงาขลา 3939

และหาซ้ือได้ตามร้านขายผ้าย่านตลาดกิมหยง สนามกอล์ฟ และรา้ นจำ� หนา่ ยสนิ ค้าทีร่ ะลึกทั่วไปในจงั หวัด มีสนามกอล์ฟหลายแห่งซ่ึงเป็นท่ีนิยมของนักกอล์ฟ ทอ้ งถิ่นและจากประเทศเพ่ือนบ้าน ได้แก่ กจิ กรรมทอ่ งเทย่ี ว เซาทเ์ ทริ น์ ฮลิ ล์ กอลฟ์ แอนด์ คนั ทรี คลบั (๑๘ หลมุ ) อยู่เลขที่ ๑๒๘ หม่ทู ี่ ๘ ถนนกาญจนวนิช ตำ� บลบา้ น รถรางชมเมอื งสงขลา เทศบาลนครสงขลา มบี รกิ าร พรุ อำ� เภอหาดใหญ่ สอบถามข้อมูล โทร. ๐ ๗๔๕๕ Singora Tram Tour เป็นรถรางในโครงการเที่ยว ๓๖๘๓, ๐๘ ๑๘๙๘ ๓๐๒๕ ท่ัวเมือง “นั่งรถชมเมือง เล่าเร่ืองสงขลา” เพ่ือเป็น หาดใหญ่ รีสอร์ท แอนด์ กอล์ฟคลับ (๑๘ หลุม) การอ�ำนวยความสะดวกและส่งเสริมการท่องเที่ยว อยเู่ ลขท่ี ๙๔ หมทู่ ี่ ๔ ถนนน้�ำตกโตนงาชา้ ง ตำ� บล ของจังหวัด พร้อมข้อมูลผ่านการบรรยายของ ทุ่งต�ำเสา อ�ำเภอหาดใหญ่ สอบถามข้อมูล โทร. ๐ วิทยากรประจำ� รถราง ผา่ นสถานท่ีสำ� คัญ ได้แก่ ย่าน ๗๔๔๓ ๔๗๗๐-๓ เมืองเก่าสงขลา ถนนนครนอก ถนนนครใน ถนน หาดใหญ่ คันทรี คลับ (๙ หลุม) อยู่เลขที่ ๒๖/๗ นางงาม วัดมัชฌิมาวาสวรวิหาร พิพิธภัณฑสถาน ถนนราษฎร์ยินดี ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ แห่งชาติ ก�ำแพงเมืองเก่า พิพิธภัณฑ์พธ�ำมะรงค์ สอบถามขอ้ มูล โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๒๕๘๒, ๐ ๗๔๓๔ หาดชลาทัศน์ แหลมสมิหลา แหลมสนอ่อน และ ๓๑๒๑ เขาตงั กวน สนามกอลฟ์ คอหงส์ (๙ หลมุ ) มณฑลทหารบกที่ ๔๒ รถรางให้บรกิ ารทุกวัน โดยไม่เสยี ค่าใชจ้ า่ ย สามารถ คา่ ยเสนาณรงค์ อำ� เภอหาดใหญ่ สอบถามขอ้ มลู โทร. ขึ้นรถได้ที่ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวบริเวณแหลม ๐ ๗๔๒๑ ๙๐๕๐ ต่อ ๔๔๓๔๕ สมหิ ลา ต้งั แตเ่ วลา ๐๙.๐๐-๑๕.๐๐ น. รถออกทุก สนามกอลฟ์ ทองใหญ่ (๙ หลมุ ) ถนนราชดำ� เนนิ ตำ� บล ๑.๓๐ ชั่วโมง และใช้เวลาเท่ียวชมต่อรอบ ๑.๓๐ บ่อยาง อำ� เภอเมืองสงขลา สอบถามข้อมูล โทร. ๐ ชัว่ โมง สอบถามขอ้ มูล โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๒๐๒๕, ๐๙ ๗๔๓๒ ๓๗๖๑ ๑๐๔๘ ๖๖๗๓ (จดุ ข้ึนรถรางอาจมกี ารเปลี่ยนแปลง ควรโทรศัพท์สอบถามกอ่ น) ตัวอยา่ งรายการนำ� เที่ยว กฬี ายงิ ปืน ในจังหวดั สงขลามีสนามยิงปนื ๒ สนาม โปรแกรมท่ี ๑ (๔ วนั ๓ คืน) เปิดใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชนทัว่ ไป ไดแ้ ก่ วันแรก อ�ำเภอหาดใหญ่-อ�ำเภอสทิงพระ-อ�ำเภอ - สนามยิงปืนรุจิรวงศ์ อยู่ตรงข้ามสถานีต�ำรวจภูธร สิงหนคร-อ�ำเภอหาดใหญ่ หาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ เปิดให้บริการทุกวัน เช้า - ออกจากทพี่ กั ในอำ� เภอหาดใหญ่ เดนิ ทาง สอบถามข้อมูล โทร. ๐ ๗๔๒๔ ๓๓๑๑ ไปอำ� เภอสทิงพระ - สนามยงิ ปืนราชนาวี สงขลา อยบู่ ริเวณฐานทัพเรอื - ลอ่ งเรอื ชมความสวยงามของธรรมชาติ สงขลา ถนนชลาทัศน์ อ�ำเภอเมืองสงขลา เปิดให้ และดนู ก ณ อทุ ยานนกน้�ำคูขุด บรกิ าร วันองั คาร-อาทติ ย์ เวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. - สกั การะหลวงปทู่ วดเหยยี บนำ�้ ทะเลจดื ณ (ปดิ วนั จนั ทร)์ สอบถามขอ้ มลู โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๕๘๘๔, วดั พะโคะ ๐ ๗๔๓๒ ๑๒๕๑ 4040 สงขสลงาขลา

บ่าย - เดนิ ทางไปอำ� เภอสิงหนคร วันทีส่ าม อ�ำเภอเมืองสงขลา-อำ� เภอนาทว-ี อำ� เภอ - พกั ผอ่ นรมิ ทะเล ณ หาดแกว้ ชายหาดยอด เมอื งสงขลา นยิ มของอำ� เภอสิงหนคร เช้า - ออกจากทีพ่ กั ในอำ� เภอเมืองสงขลา - เดินทางกลบั เข้าตัวอำ� เภอหาดใหญ่ เดนิ ทางไปอำ� เภอนาทวี - สวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ - เทย่ี วชมและเล่นน�ำ้ ณ น้�ำตกวังหลวง น่งั รถรางขึ้นไปเทยี่ วและสกั การะ พรหมและนำ้� ตกโตนลาด อทุ ยานแหง่ ชาติ สิง่ ศกั ดิ์สทิ ธบ์ิ นยอดเขาคอหงส์ หรือนั่ง เขานำ�้ ค้าง เคเบลิ้ คารจ์ ากยอดเขาคอหงสไ์ ปสกั การะ - เขา้ ชมอโุ มงคเ์ ขานำ้� คา้ ง อโุ มงคด์ นิ เหนยี ว พระพรหมบนยอดเขาชมุ สัก และน่ังกลับ ซ่ึงขุดดว้ ยแรงงานคนและยาวท่ีสดุ ใน มารอชมพระอาทติ ยต์ กเหนอื เมอื ง หาดใหญ่ ประเทศไทย ภายในจำ� ลองวิถีชวี ิตของ ณ จดุ ชมทิวทัศนบ์ นยอดเขาคอหงส์ กลมุ่ คอมมวิ นสิ ตจ์ นี ทใ่ี ชอ้ โุ มงคน์ เ้ี ปน็ ฐาน - เขา้ ส่ทู ีพ่ ักในอำ� เภอหาดใหญ่ ปฏบิ ัตกิ ารในอดีต บา่ ย - เดนิ ทางกลบั อำ� เภอเมืองสงขลา วนั ที่สอง อำ� เภอหาดใหญ-่ อำ� เภอเมอื งสงขลา ขา้ มสะพานตณิ สูลานนทส์ ่เู กาะยอ เชา้ - เดนิ ทางไปอำ� เภอเมืองสงขลา - ชมการสาธิตการทอผ้าพนื้ เมืองเกาะยอ - เรียนรปู้ ระวตั ิความเปน็ มาของเมือง ณ และซอื้ ผ้าทอจากแหล่งผลิตโดยตรงกบั พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาตสิ งขลา และแวะ กลุ่มทอผา้ กลุม่ ตา่ ง ๆ ถา่ ยภาพกบั กำ� แพงเมอื งเกา่ สงขลา ซง่ึ อยู่ - เขา้ ชมพพิ ธิ ภณั ฑจ์ ำ� ลองวถิ ชี วี ติ ของชาวใต้ ตรงข้ามกัน ณ สถาบนั ทักษิณคดศี ึกษา ในบริเวณ - เทีย่ วชมย่านเมืองเกา่ สงขลา เชน่ ถนน สถาบันมหี อชมทิวทัศน์ สามารถเห็น นครนอก ถนนนครใน และลองลมิ้ ชมิ ขนม ทศั นยี ภาพของเกาะยอและสะพาน พื้นเมืองหาทานยากทีถ่ นนนางงาม ตณิ สูลานนท์จากมมุ สงู บ่าย - พกั ผอ่ นกับบรรยากาศรมิ ทะเล ณ หาด - สกั การะพระพทุ ธไสยาสนส์ ที ององค์ใหญ ่ สมิหลา หาดแหลมสน หรือหาดชลาทศั น์ ทปี่ ระดษิ ฐานอยูร่ ิมทะเลสาบสงขลา ณ ซง่ึ รม่ รน่ื ไปดว้ ยเงาไมต้ ลอดแนวหาด แวะ วัดพระนอนแหลมพอ้ บนเกาะยอ ถา่ ยภาพคูก่ บั รูปปนั้ นางเงอื กที่แหลม - เขา้ สู่ท่ีพักในอำ� เภอเมอื งสงขลา สมหิ ลา อกี หนงึ่ สญั ลกั ษณข์ องเมอื งสงขลา - สกั การะพระเจดยี บ์ นยอดเขาตงั กวน และ วันท่ีส่ี อ�ำเภอเมืองสงขลา-อำ� เภอหาดใหญ่ ชมทัศนียภาพตวั เมืองสงขลาจากลาน เชา้ - ออกจากอำ� เภอเมอื งสงขลา เดนิ ทางไป ชมวิวบนยอดเขา อำ� เภอหาดใหญ่ - เข้าสูท่ ่ีพกั ในอำ� เภอเมืองสงขลา - เทย่ี วชมและเล่นนำ�้ ณ น้�ำตกโตนงาชา้ ง ซ่งึ ไดช้ ื่อว่าเป็นนำ้� ตกสวยงามท่ีสดุ ของ สงขลา สงขสลงาขลา 4141

บา่ ย - สนกุ สนานกับการถ่ายภาพ ณ พิพธิ ภัณฑ์ - ออกเดินทางไปอำ� เภอสะเดา ภาพวาดสามมติ ิ หาดใหญ่ แมจิค อาย บา่ ย - ช้อปปิ้งสินคา้ ปลอดภาษบี รเิ วณดา่ นนอก - ซอ้ื หาของฝาก ของทร่ี ะลกึ ทงั้ ขนม ผลไม้ (ดา่ นสะเดา) แหง้ ถัว่ และผา้ พื้นเมือง ณ ตลาดกิมหยง - ไหวพ้ ระและเทย่ี วชมความสวยงามของวดั - เดินทางกลบั กรุงเทพฯ ถำ�้ เขารูปช้าง - เดินทางเขา้ อ�ำเภอหาดใหญ่ โปรแกรมท่ี ๒ (๓ วนั ๒ คนื ) - เทยี่ วชมและล้มิ ลองอาหารอร่อย ๆ ณ วันแรก อ�ำเภอเมืองสงขลา-อ�ำเภอเทพา-อ�ำเภอ ตลาดนำ�้ คลองแห (ทกุ วันศุกร์-อาทติ ย์) เมืองสงขลา - เข้าสูท่ ี่พกั ในอ�ำเภอหาดใหญ่ เชา้ - เข้าชมพพิ ธิ ภัณฑพ์ ธำ� มะรงค์ ซึง่ จัดแสดง ขา้ วของเครอื่ งใชข้ องตระกลู ตณิ สลู านนท์ วันทส่ี าม อ�ำเภอหาดใหญ่ ในอดตี เชา้ - เท่ียวชมภายในสวนสาธารณะเทศบาล - สัมผสั วิถีชีวติ ของชาวสงขลาในยา่ นเมอื ง นครหาดใหญ่ สกั การะพระพุทธมงคล เกา่ ซง่ึ เตม็ ไปด้วยอาคารไมเ้ ก่าแก่ และ มหาราช เจ้าแม่กวนอิม และทา้ วมหา อาคารสไตล์ชิโน-โปรตกุ สี พรหมบนยอดเขาคอหงสแ์ ละยอดเขา - เดินทางสู่อำ� เภอเทพา ชุมสกั พร้อมทงั้ ชมทิวทศั นต์ วั เมือง บา่ ย - เลน่ นำ�้ และสมั ผสั บรรยากาศชายทะเล ณ หาดใหญ่ในมมุ สงู หาดสะกอมและหาดสร้อยสวรรค์ บ่าย - เท่ยี วน้�ำตกโตนงาชา้ ง พักผ่อนเล่นน�้ำ - เดนิ ทางเข้าอำ� เภอเมืองสงขลา มงุ่ หนา้ สู่ - วดั หาดใหญใ่ น สกั การะพระพทุ ธไสยาสน์ เกาะยอ องค์ใหญ่เพื่อความเป็นสริ ิมงคล - ชมพิพธิ ภณั ฑ์วถิ ชี วี ติ ชาวใต้ ณ สถาบนั - ชอ้ ปปง้ิ ของฝาก ณ ตลาดกมิ หยง ทกั ษิณคดศี กึ ษา - เดนิ ทางกลบั กรุงเทพฯ โดยสวัสดภิ าพ - เขา้ สทู่ พ่ี กั โฮมสเตยบ์ นเกาะยอ/ทพี่ กั ในตวั เมืองสงขลา สงิ่ อำ� นวยความสะดวก สถานที่พกั วนั ทสี่ อง อำ� เภอเมืองสงขลา-อ�ำเภอสะเดา-อำ� เภอ (ราคาห้องพักในเอกสารน้อี าจเปลย่ี นแปลงได้ โปรด หาดใหญ่ สอบถามจากโรงแรมกอ่ นเขา้ พกั ) เชา้ - เทยี่ วชมพระตำ� หนกั เขานอ้ ย และชม อ�ำเภอเมอื งสงขลา ทศั นยี ภาพเมอื งสงขลาจากลานชม กรนี เวลิ ด์ พาเลซ ๙๙ ถนนสามคั คสี ขุ ๒ ตำ� บลบอ่ ยาง ทิวทัศนบ์ นยอดเขานอ้ ย โทร. ๐ ๗๔๔๓ ๗๙๐๐-๗ จ�ำนวน ๙๒ ห้อง ราคา - พกั ผ่อนเดนิ เล่นชายทะเล ณ แหลม ๗๔๐-๒,๘๐๐ บาท สมหิ ลา ซงึ่ สามารถเหน็ เกาะหนแู ละเกาะ เกา้ แสน ถนนไทรบรุ ี โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๑๘๒๒, ๐ ๗๔๓๑ แมวได้ชัดเจน ๒๖๘๓ จ�ำนวน ๒๒ ห้อง ราคา ๓๐๐-๕๐๐ บาท 4242 สงขสลงาขลา

โชคดี อินน์ ๑๔/๑๙ ถนนวิเชียรชม ต�ำบลบ่อยาง ราชมังคลา พาวีเลี่ยน บีช รีสอร์ท ๑ ถนน โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๒๒๗๕, ๐ ๗๔๔๔ ๐๕๐๗ จ�ำนวน ราชดำ� เนนิ นอก ตำ� บลบอ่ ยาง โทร. ๐ ๗๔๔๘ ๗๐๘๑, ๑๘ หอ้ ง ราคา ๓๐๐-๔๐๐ บาท ๐ ๗๔๔๘ ๗๒๒๒ จ�ำนวน ๓๔ ห้อง ราคา ๑,๔๐๐- ซัน ซิตี้ ๑๖๕/๘ ถนนทะเลหลวง ต�ำบลบอ่ ยาง โทร. ๒,๖๐๐ บาท ๐ ๗๔๓๑ ๓๘๘๘ จำ� นวน ๑๖ หอ้ ง ราคา ๘๙๐ บาท เลค อินน์ ๓๐๑-๓๐๓ ถนนนครนอก ต�ำบลบ่อยาง ซติ ี้ สงขลา ๕๓๓/๑ ถนนไทรบรุ ี ตำ� บลบอ่ ยาง โทร. โทร. ๐ ๗๔๓๒ ๑๐๔๔ จ�ำนวน ๘๐ ห้อง ราคา ๐ ๗๔๓๒ ๒๓๖๔-๕, ๐ ๗๔๓๒ ๒๓๖๘ จำ� นวน ๖๗ ๖๐๐ บาท หอ้ ง ราคา ๓๐๐-๔๙๐ บาท เลอ สริ ิ ๖๓/๒๒๖ ถนนกาญจนวนชิ ซอย ๓๓ ตำ� บล เดอะ ซงิ กอรา่ โฮเตล็ ๓๘ ถนนไทรงาม ตำ� บลบอ่ ยาง เขารูปช้าง โทร. ๐ ๗๔๕๕ ๘๔๔๒, ๐๙ ๒๔๒๕ โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๔๕๕๕, ๐๘ ๖๔๙๐ ๕๓๔๓ ๒๖๔๔, ๐๙ ๓๕๘๔ ๗๑๑๘ จ�ำนวน ๗๐ หอ้ ง ราคา www.singorahotel.com จำ� นวน ๕๒ หอ้ ง ราคา ๖๐๐-๗๐๐ บาท ๙๐๐-๑,๒๐๐ บาท ววี า่ ๕๔๗/๒ ถนนนครนอก ตำ� บลบอ่ ยาง โทร. ๐ เดอะ ไพนเ์ ฮาส์ ๖๓/๑๘๐ ถนนกาญจนวนชิ ซอย ๓๓ ๗๔๓๒ ๑๐๓๓-๖ จ�ำนวน ๘๒ ห้อง ราคา ๕๕๐- ตำ� บลเขารูปชา้ ง โทร. ๐ ๗๔๕๕ ๘๔๐๐, ๐๙ ๔๐๘๙ ๑,๔๐๐ บาท ๒๒๔๒ จำ� นวน ๕๒ ห้อง ราคา ๕๕๐-๖๕๐ บาท สบาย สบาย สงขลา ๑๑๙/๑๙ หมทู่ ี่ ๘ ถนนติณสู ธนาวดี รีสอรท์ ๙๙/๑๙ หมู่ที่ ๒ ซอยถาวร ต�ำบล ลานนท์ (ใกล้โรงพยาบาลสงขลา) ต�ำบลเขารูปช้าง พะวง โทร. ๐ ๗๔๕๙ ๒๘๘๘ จ�ำนวน ๑๐ หอ้ ง ราคา โทร. ๐๘ ๑๙๐๙ ๑๒๑๑ จ�ำนวน ๓๒ ห้อง ราคา ๓๐๐-๕๐๐ บาท ๖๐๐-๗๐๐ บาท บี พี สมหิ ลา โฮเตล็ แอนด์ รสี อรท์ ๘ ถนนราชดำ� เนนิ สงขลา คีรี รสี อรท์ ๗๗/๗ หมู่ที่ ๔ ต�ำบลเขารูปชา้ ง (แหลมสมหิ ลา) ต�ำบลบอ่ ยาง โทร. ๐ ๗๔๔๔ ๐๒๒๒ โทร. ๐ ๗๔๓๓ ๖๑๐๐, ๐ ๗๔๓๓ ๖๑๘๘ จำ� นวน จ�ำนวน ๒๐๘ หอ้ ง ราคา ๑,๑๕๐-๕๐,๐๐๐ บาท ๑๖ หลัง ราคา ๑,๒๐๐ บาท พาวลิ เลย่ี น สงขลา ๑๗/๑ ถนนปละทา่ ตำ� บลบอ่ ยาง สงขลา พาเลซ (ส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยราชภัฏ โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๑๓๕๕, ๐ ๗๔๔๔ ๑๘๕๐-๙ จำ� นวน สงขลา) ๑๖๐ ถนนกาญจนวนิช ต�ำบลเขารูปช้าง ๑๗๙ ห้อง ราคา ๗๕๐-๖,๐๐๐ บาท โทร. ๐ ๗๔๔๔ ๓๐๑๓ จ�ำนวน ๔๐ ห้อง ราคา พพิ ฒั น์พงษ์ ๖๓/๒๒๐ ถนนกาญจนวนิช ซอย ๓๓ ๔๕๐-๖๐๐ บาท ตำ� บลเขารปู ชา้ ง โทร. ๐ ๗๔๕๕ ๘๐๓๑, ๐๘ ๙๘๐๓ สบาย อซี ี่ ๓๐๓/๔ ถนนนวมนิ ทร์ท่าสะอ้าน ตำ� บล ๕๖๙๖ จำ� นวน ๙๐ หอ้ ง ราคา ๕๐๐-๖๕๐ บาท เขารูปช้าง โทร. ๐๙ ๓๗๔๕ ๘๘๘๑ จำ� นวน ๓๒ หอ้ ง มา่ นทะเล รสี อรท์ (สว่ นหนงึ่ ของสวนสตั วส์ งขลา) หมู่ ราคา ๖๐๐-๗๐๐ บาท ที่ ๕ ถนนสงขลา-นาทวี ต�ำบลเขารูปชา้ ง จ�ำนวน ๒๐ สมิหลา แคมพิง แอนด์ รีสอร์ท ๔๑ ถนนแหลม หอ้ ง ราคา ๖๐๐ บาท โทร. ๐๙ ๓๗๔๐ ๐๐๖๑-๒ สนอ่อน ต�ำบลบ่อยาง โทร. ๐ ๗๔๓๒ ๓๐๐๐, ๐๘ รอยัล คราวน์ ๓๘ ถนนไทรงาม โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๐๗๐๙ ๓๗๐๙ จ�ำนวน ๓๖ ห้อง ราคา ๖๐๐-๘๐๐ ๑๙๑๘, ๐ ๗๔๓๑ ๒๑๗๔ จ�ำนวน ๕๒ ห้อง ราคา บาท ๕๐๐-๑,๐๐๐ บาท สงขสลงาขลา 4343

สขุ สมบรู ณ์ ๑ ๔๐ ถนนเพชรครี ี ตำ� บลบอ่ ยาง โทร. วัสกรทอง โฮมสเตย์ ๓๒/๓ หมทู่ ่ี ๑ ต�ำบลเกาะยอ ๐ ๗๔๓๑ ๑๐๔๙ จ�ำนวน ๒๘ หอ้ ง ราคา ๓๘๐ บาท โทร. ๐๘ ๑๗๖๗ ๒๘๕๑ สุขสมบูรณ์ ๒ ๒๑๘ ถนนไทรบุรี ต�ำบลบอ่ ยาง โทร. หาดทราย โฮมสเตย์ ๖๒/๒ หม่ทู ี่ ๑ บ้านอ่าวทราย ๐ ๗๔๓๑ ๑๑๔๙ จ�ำนวน ๒๖ ห้อง ราคา ๔๐๐- ตำ� บลเกาะยอ โทร. ๐๘ ๑๓๖๘ ๒๘๗๔, ๐๘ ๗๘๓๖ ๕๕๐ บาท ๘๔๕๙ แสนสบาย ๑ ถนนเพชรคีรี ต�ำบลบ่อยาง โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๑๐๑๖ จำ� นวน ๒๐ ห้อง ราคา ๓๐๐ บาท อ�ำเภอเทพา ออคิด ๙๙/๔๔ ถนนกาญจนวนิช โทร. ๐ ๗๔๓๒ ขาวทอง รสี อร์ท ๒๖๐ หมทู่ ่ี ๗ ถนนจะนะ-ปตั ตานี ๒๘๑๑ จ�ำนวน ๕๕ หอ้ ง ราคา ๓๐๐-๔๘๐ บาท โทร. ๐๘ ๑๗๓๘ ๑๔๕๘ ราคา ๕๐๐ บาท โคโคว่ นั บีช แอนด์ โฮเต็ล ตำ� บลสะกอม โทร. ๐๘ เกาะยอ ๖๑๕๐ ๓๐๙๙ ค้มุ ไทรงาม ๒๕ หมู่ ๔ ตำ� บลเกาะยอ โทร. ๐ ๗๔๕๙ เทพา บีช รีสอร์ท ๒๕๕ หมู่ที่ ๔ ถนนหาดใหญ่- ๑๖๖๙ ปตั ตานี ตำ� บลปากบาง โทร. ๐ ๗๔๕๓ ๑๗๕๗, ๐๘ การต์ ูน โฮมสเตย์ ๕๔ หม่ทู ี่ ๙ บา้ นสวนใหม่ ตำ� บล ๑๖๙๐ ๖๐๑๘ จำ� นวน ๒๘ หอ้ ง ราคา ๘๐๐-๕,๐๐๐ เกาะยอ โทร. ๐๘ ๗๓๙๑ ๔๑๕๑ บาท ชมเล โฮมสเตย์ ๒๗ หมทู่ ี่ ๑ บ้านอา่ วทราย ต�ำบล เพช็ รมี รสี อรท์ ๒๖๔ หมทู่ ่ี ๗ ถนนหาดใหญ-่ ปตั ตานี เกาะยอ โทร. ๐๘ ๙๖๕๓ ๒๗๔๖ ต�ำบลเทพา โทร. ๐ ๗๔๓๗ ๖๙๐๐, ๐๘ ๓๑๙๑ บา้ นสดุ ทรพั ยท์ วี โฮมสเตย์ ๖๒/๑ หมู่ท่ี ๑ ตำ� บล ๙๙๒๙ www.petchmee.com จ�ำนวน ๒๐ ห้อง เกาะยอ โทร. ๐๘ ๗๙๖๙ ๘๓๔๔ ราคา ๘๐๐ บาท ฟ้าปรายตะวัน รีสอรท์ ๒๗/๑ หมูท่ ี่ ๑ ต�ำบลเกาะ ลลี า รสี อรท์ ๓๑๑ หม่ทู ่ี ๑ ถนนหาดใหญ่-ปัตตานี ยอ โทร. ๐๘ ๙๖๕๖ ๗๐๙๑ ต�ำบลสะกอม โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๘๒๖๗, ๐ ๗๔๓๒ พะโยมทอง โฮมสเตย์๔๒/๕ หมู่ที่ ๑ ต�ำบล ๙๑๑๖, ๐๘ ๑๘๙๘ ๙๐๖๔, ๐๘ ๑๙๕๙ ๗๖๖๘, เกาะยอ โทร. ๐๘ ๑๕๔๑ ๘๐๘๑, ๐๘ ๖๔๗๕ ๐๘ ๑๓๒๘ ๑๗๔๑ จ�ำนวน ๗๔ ห้อง ราคา ๘๐๐- ๑๑๕๘ ๑,๒๐๐ บาท โพงพาง โฮมสเตย์ เกาะยอ ๕๕/๑ หมู่ที่ ๙ ต�ำบล สะกอม เบย์ รสี อรท์ ๒๙๑ ถนนจะนะ-ปตั ตานี ตำ� บล เกาะยอ โทร. ๐๖ ๑๘๒๔ ๐๑๔๘, ๐๘ ๗๓๙๓ สะกอม โทร. ๐๘ ๑๒๗๗ ๑๒๐๒ จ�ำนวน ๖ ห้อง ๒๖๔๔ ราคา ๘๐๐ บาท ลงุ รตั น์ โฮมสเตย์ ๘๖/๑ หมทู่ ่ี ๑ ตำ� บลเกาะยอ โทร. ๐๘ ๐๕๔๗ ๙๕๕๒, ๐๘ ๙๖๕๙ ๘๐๐๗ อำ� เภอนาทวี ลงุ ดำ� โฮมสเตย์ ๘๒/๑ หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลเกาะยอ โทร. ดินทอง รีสอร์ท ๑๙๙ หมู่ที่ ๓ ต�ำบลนาทวี โทร. ๐๘ ๒๔๓๑ ๓๐๘๗ ๐ ๗๔๓๗ ๑๔๓๑ จำ� นวน ๕ หอ้ ง ราคา ๔๐๐ บาท ลุงเดชา โฮมสเตย์ ๓๑ หมู่ท่ี ๘ ตำ� บลเกาะยอ โทร. ๐ ๗๔๔๕ ๐๓๙๐, ๐๘ ๗๖๓๓ ๕๔๗๖ 4444 สงขสลงาขลา

อำ� เภอนาหม่อม อ�ำเภอรัตภมู ิ ภูไม้หอม รีสอร์ท ๕๓/๙ หมู่ที่ ๔ ต�ำบลนาหม่อม บา้ นสวน รีสอรท์ หมทู่ ี่ ๑ ตำ� บลก�ำแพงเพชร โทร. โทร. ๐ ๗๔๒๐ ๙๐๓๕ ๐๘ ๑๘๙๘ ๖๔๐๔ จำ� นวน ๑๗ หอ้ ง ราคา ๓๐๐- อำ� เภอบางกล�่ำ ๕๐๐ บาท สกายปารค์ ๒๑๙ ถนนลพบุรีราเมศวร์ ต�ำบลท่าช้าง ลานนา รสี อรท์ ๒๕๗ หมทู่ ่ี ๑๓ ตำ� บลก�ำแพงเพชร โทร. ๐ ๗๔๒๙ ๘๔๘๙ จ�ำนวน ๔๐ ห้อง ราคา ๖๐๐- โทร. ๐๘ ๑๖๐๓ ๓๓๘๙ จ�ำนวน ๑๓ ห้อง ราคา ๗๐๐ บาท ๔๐๐ บาท อำ� เภอระโนด อ�ำเภอสะเดา ครูสายณั ห์ โฮมสเตย์ ๓๒ หมูท่ ี่ ๑ ชมุ ชนริมน้�ำคลอง เจ เจ ๔๒/๒ หมู่ท่ี ๒ ถนนเทศบาล ๑ ต�ำบลปาดัง แดน โทร. ๐๘ ๑๘๙๖ ๗๓๕๒ เบซาร์ โทร. ๐ ๗๔๕๒ ๑๖๖๑ จ�ำนวน ๔๐ ห้อง ณฉัตร รีสอร์ท ๘๑/๓ ต�ำบลปากแตระ โทร. ๐๘ ราคา ๓๕๐ บาท ๑๘๙๘ ๕๓๘๙ จำ� นวน ๑๐ ห้อง ราคา ๔๕๐-๖๕๐ ทีเอ็มที ๕๕/๑ ถนนกาญจนวนิช ต�ำบลส�ำนักขาม บาท โทร. ๐ ๗๔๔๓ ๔๑๕๐-๑ จำ� นวน ๔๔ ห้อง ราคา ณิศา รีสอรท์ ๑๘๖ หม่ทู ่ี ๑ ต�ำบลระวะ โทร. ๐๘ ๓๘๐-๕๐๐ บาท ๑๕๔๑ ๕๕๙๒ จ�ำนวน ๒๐ ห้อง ราคา ๓๕๐-๕๕๐ ไทย-มาเลเซีย ๑๐ หมูท่ ี่ ๒ ถนนศิริมงคล ต�ำบล บาท ปาดังเบซาร์ โทร. ๐ ๗๔๕๒ ๑๐๒๑ จำ� นวน ๓๗ ห้อง บษุ บา รีสอรท์ ๑๘๑/๑ หม่ทู ี่ ๑ ตำ� บลระวะ โทร. ราคา ๓๐๐-๓๕๐ บาท ๐๘ ๑๗๖๖ ๘๗๐๓ จำ� นวน ๖ ห้อง ราคา ๔๐๐ บาท เบอรล์ ิน เกสตเ์ ฮาส์ ๒๔/๕ ถนนเทศบาล ๑ ตำ� บล พิมพศ์ า รสี อร์ท แอนด์ สปา ๕๑ หมทู่ ี่ ๑ ตำ� บล ปาดังเบซาร์ โทร. ๐ ๗๔๕๒ ๑๙๐๑ จ�ำนวน ๓๓ ห้อง คลองแดน โทร. ๐๘ ๑๖๐๗ ๓๑๖๙ จ�ำนวน ๔ หอ้ ง ราคา ๓๐๐-๔๐๐ บาท ราคา ๕๕๐ บาท ปาดัง เซน็ ทรัล โฮเต็ล ๙๙๙ หมู่ท่ี ๒ ตำ� บลปาดัง เพชรไพลนิ รสี อรท์ ๑๓๑ หมทู่ ่ี ๑ ตำ� บลทา่ บอน (ใกล้ เบซาร์ โทร. ๐ ๗๔๕๒ ๑๖๑๓, ๐ ๗๔๔๔ ๔๓๔๕-๗ สแี่ ยกรบั แพรก) โทร. ๐๘ ๖๕๙๘ ๖๑๓๐ จำ� นวน ๑๐ จ�ำนวน ๗๘ หอ้ ง ราคา ๕๐๐-๗๐๐ บาท หอ้ ง ราคา ๓๕๐-๕๐๐ บาท พ.ี พ.ี โฮเตล็ ๖๙ หมทู่ ี่ ๗ ถนนกาญจนวนชิ (ดา่ นนอก) เรนิ พโี่ ย โฮมสเตย์ ๑๙๖ หมทู่ ่ี ๑ ชมุ ชนรมิ น�้ำคลอง ตำ� บลสำ� นักขาม โทร. ๐ ๗๔๔๓ ๔๐๘๒ จ�ำนวน ๕๖ แดน โทร. ๐๙ ๔๓๑๘ ๕๐๗๙ หอ้ ง ราคา ๔๐๐-๖๐๐ บาท ลกู ยอ รีสอร์ท (ตลาดริมนำ�้ คลองแดน) ตำ� บลคลอง รอยลั อนิ น์ ๒๔/๖-๗ ถนนเทศบาล ๑ ตำ� บลปาดงั แดน โทร. ๐๘ ๓๓๙๑ ๐๓๘๘, ๐๘ ๙๘๗๖ ๗๐๓๑ เบซาร์ โทร. ๐ ๗๔๕๒ ๑๔๓๐, ๐ ๗๔๕๒ ๑๗๒๑ จำ� นวน ๑๒ หลงั ราคา ๗๐๐ บาท จ�ำนวน ๓๐ ห้อง ราคา ๓๖๐ บาท ไลท์ เฮาส์ โฮเต็ล ๑๑๘ ส่แี ยกถนนเพชรกาฬ ตำ� บล ปาดงั เบซาร์ โทร. ๐ ๗๔๕๒ ๑๒๓๓, ๐ ๗๔๕๒ ๑๐๑๗ จ�ำนวน ๓๐ ห้อง ราคา ๓๕๐-๔๐๐ บาท สงขสลงาขลา 4545

สยาม ออคิด ๒๐๘-๒๑๗ หมูท่ ี่ ๑ ถนนปาดงั เบซาร์ อ�ำเภอสิงหนคร ตำ� บลปาดังเบซาร์ โทร. ๐ ๗๔๕๒ ๑๔๗๘ จ�ำนวน เขาเขียว ๒๓๙/๑๑ หมู่ท่ี ๑ ถนนท่าแพ-เกาะยอ ๓๘ หอ้ ง ราคา ๔๘๐ บาท ตำ� บลสทงิ หม้อ โทร. ๐ ๗๔๓๓ ๑๖๖๙-๗๐ จำ� นวน สะเดา พลาซ่า ๑๔/๓ ถนนรวมสุข ต�ำบลสะเดา ๓๒ หอ้ ง ราคา ๓๕๐ บาท โทร. ๐ ๗๔๔๑ ๑๙๓๖ จ�ำนวน ๒๕ ห้อง ราคา ซวี วิ รสี อรท์ หมทู่ ี่ ๒ หาดแกว้ จลุ ดศิ ตำ� บลชงิ โค โทร. ๓๐๐-๕๐๐ บาท ๐๘ ๐๕๔๕ ๕๑๑๐ จำ� นวน ๑๓ หอ้ ง ราคา ๙๐๐ บาท สาธิต ๑ ๒๔/๙ ถนนเทศบาล ๑ ต�ำบลปาดังเบซาร์ หาดแกว้ รีสอรท์ ๑๖๓ หมู่ที่ ๑ ตำ� บลชงิ โค โทร. โทร. ๐ ๗๔๕๒ ๑๙๘๒ จ�ำนวน ๖๐ ห้อง ราคา ๐ ๗๔๓๓ ๑๐๕๘-๖๖ จ�ำนวน ๑๔๓ ห้อง ราคา ๔๐๐-๕๐๐ บาท ๑,๓๐๐ บาท สาธติ ๒ ๑/๑-๖ หมู่ท่ี ๗ ซอยไทย-จังโหลน ๖ (ด่าน อ�ำเภอหาดใหญ่ นอก) ตำ� บลสำ� นกั ขาม โทร. ๐ ๗๔๔๓ ๔๑๖๔ จำ� นวน แกรนด์ พลาซา่ ๒๔/๑ ถนนเสนห่ านุสรณ์ โทร. ๐ ๖๐ ห้อง ราคา ๖๐๐ บาท ๗๔๒๓ ๔๓๔๐-๘ จ�ำนวน ๒๐๐ หอ้ ง ราคา ๗๘๐- เอ็ม เค เกสตเ์ ฮาส์ ๒๗๑/๔ ถนนอนามยั ต�ำบลปา ๑,๓๕๐ บาท ดังเบซาร์ โทร. ๐ ๗๔๕๒ ๑๐๖๐ จำ� นวน ๑๘ ห้อง แกรนด์ พิงค์ ๒๔/๑๑ ถนนเสน่หานุสรณ์ โทร. ๐ ราคา ๓๐๐-๔๐๐ บาท ๗๔๒๓ ๐๙๖๐-๔ จำ� นวน ๗๒ หอ้ ง ราคา ๖๐๐ บาท ฮอลลีวูด พาเลส ๗/๒-๖ ซอยไทย-จงั โหลน ๗ ถนน เกน็ ตงิ้ ๒๖๓ ถนนสามชัย โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๙๖๕๑-๔ กาญจนวนชิ ตำ� บลสำ� นกั ขาม โทร. ๐ ๗๔๔๓ ๔๒๙๘- จำ� นวน ๗๒ ห้อง ราคา ๓๐๐-๖๘๐ บาท ๙ จ�ำนวน ๕๐ หอ้ ง ราคา ๔๐๐ บาท คิงส์ ๑๒๖-๑๓๔ ถนนนิพัทธ์อทุ ศิ ๑ โทร. ๐ ๗๔๒๖ อ�ำเภอสทิงพระ ๑๗๐๐-๗ จ�ำนวน ๗๙ หอ้ ง ราคา ๓๕๐-๔๕๐ บาท พ้งิ ค์ เลด้ี รสี อรท์ ๕๘ หมทู่ ี่ ๓ (ปากทางเข้าอุทยาน คริสตัล หาดใหญ่ ๓๒๗ ถนนกาญจนวนิช โทร. ๐ นกน�้ำคูขุด) ต�ำบลคูขุด โทร. ๐ ๗๔๓๐ ๔๖๐๐-๒ ๗๔๒๐ ๙๕๐๐, ๐ ๗๔๔๓ ๙๕๘๓ จำ� นวน ๖๐ ห้อง จ�ำนวน ๒๐ ห้อง ราคา ๕๐๐ บาท ราคา ๗๘๐ บาท สทงิ ปรุ ะ รสี อรท์ ๔๑/๒ หมทู่ ่ี ๒ ตำ� บลบอ่ ดาน โทร. ๐๘ โฆษิต ๑๙๙ ถนนนิพัทธ์อุทิศ ๒ โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๑๔๗๙ ๓๓๓๖ จำ� นวน ๑๕ หอ้ ง ราคา ๓๕๐-๔๕๐ บาท ๔๓๖๖ จ�ำนวน ๑๖๐ ห้อง ราคา ๕๙๐-๓,๕๐๐ บาท อา่ วไทย รสี อรท์ ๖๓/๒ หมทู่ ี่ ๑ ต�ำบลบ่อดาน โทร. ง่ฟี ้า แกรนด์ ซติ ี้ ๒๒๐ ถนนประชาธิปัตย์ โทร. ๐ ๐ ๗๔๓๙ ๗๒๒๘ จำ� นวน ๑๘ ห้อง ราคา ๑,๓๕๐- ๗๔๒๓ ๔๔๓๑-๖ จ�ำนวน ๘๐ ห้อง ราคา ๔๕๐- ๒,๙๐๐ บาท ๕๐๐ บาท อ�ำเภอสะบา้ ยอ้ ย จี ทู หาดใหญ่ ๑๔๗ ซอยบญุ ราช ถนนสามชยั โทร. เสนห่ ไ์ มห้ อม รสี อรท์ ๑๒๓ หมทู่ ่ี ๑ ตำ� บลสะบา้ ยอ้ ย ๐ ๗๔๒๓ ๙๘๙๘-๙ www.g2hotelgroup.com โทร.๐๘๖๒๘๕๑๒๒๘จำ� นวน๕หอ้ งราคา๕๐๐บาท จ�ำนวน ๗๖ ห้อง ราคา ๗๙๐-๑,๙๐๐ บาท ชลธาร ๒๕๑/๑ ถนนแสงจันทร์ โทร. ๐ ๗๔๓๕ ๔๕๘๐-๖ จำ� นวน ๖๑ หอ้ ง ราคา ๔๙๐-๕๙๐ บาท 4466 สสงงขขลลาา

ซากุระ ๑๘๕/๑ ถนนนิพทั ธอ์ ุทิศ ๓ โทร. ๐ ๗๔๒๓ ธนภทั ร หาดใหญ่ ๒๒๒ ถนนศภุ สารรังสรรค์ โทร. ๕๑๑๑-๓, ๐ ๗๔๒๖ ๑๙๘๙ จำ� นวน ๖๑ ห้อง ราคา ๐ ๗๔๓๕ ๑๕๙๐-๒ จำ� นวน ๖๕ หอ้ ง ราคา ๕๕๐- ๕๓๐-๖๑๐ บาท ๖๐๐ บาท ซิตี้ ปารค์ ๗๑๗/๑๗ ถนนเพชรเกษม โทร. ๐ ๗๔๓๔ นานา รสี อรท์ ๔๐๑ ถนนราษฎรอ์ ทุ ศิ โทร. ๐ ๗๔๓๖ ๕๔๙๑-๕ จำ� นวน ๖๐ หอ้ ง ราคา ๕๗๕-๑,๔๐๐ บาท ๒๙๔๗ จำ� นวน ๔๐ หอ้ ง ราคา ๕๐๐ บาท เซ็นจรู ่ี ๙ ถนนราษฎรอ์ ุทศิ ซอย ๖ โทร. ๐ ๗๔๒๕ นิว ซซี ัน ๑๐๖ ถนนประชาธิปัตย์ โทร. ๐ ๗๔๓๕ ๒๕๓๓ จ�ำนวน ๑๘ หอ้ ง ราคา ๔๒๐-๕๗๐ บาท ๒๘๘๘ www.newseasonhotel.com จำ� นวน ๑๑๙ เซน็ ทารา โฮเตล็ หาดใหญ่ ๓ ถนนเสนห่ านสุ รณ์ โทร. ห้อง ราคา ๙๘๐-๑,๘๐๐ บาท ๐ ๗๔๓๕ ๒๒๒๒ จำ� นวน ๒๔๘ ห้อง นิวเวิลด์ ๑๕๒-๑๕๖ ถนนนิพัทธ์อุทิศ ๒ โทร. ๐ ณฐั วดี รสี อรท์ ๖๓๑/๗ ถนนราษฎร์อุทิศ โทร. ๐ ๗๔๓๕ ๕๔๗๑-๕ จำ� นวน ๑๔๘ ห้อง ราคา ๔๐๐- ๗๔๓๖ ๒๐๕๐ จำ� นวน ๑๖ ห้อง ราคา ๓๙๐ บาท ๑,๓๒๐ บาท เดอะ เกรท ๓๖/๓ ถนนจิระนคร ต�ำบลหาดใหญ่ โนโวเทล เซน็ ทรลั สคุ นธา ๓ ถนนเสนห่ านสุ รณ์ โทร โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๙๙๙๙ จ�ำนวน ๔๒ ห้อง ราคา ๐ ๗๔๓๕ ๒๒๒๒-๓๖ www.centralhotelsresorts. ๕๐๐-๖๕๐ บาท com จำ� นวน ๒๔๕ ห้อง ราคา ๓,๗๖๒-๘,๒๓๙ บาท ไดมอนด์ พลาซ่า ๖๒ ถนนนพิ ัทธ์อุทิศ ๓ โทร. ๐ บพี ี แกรนด์ ทาวเวอร์ ๗๔ ถนนเสนห่ านุสรณ์ โทร. ๗๔๒๓ ๐๑๓๐ www.diamondplazahotels.com ๐ ๗๔๓๕ ๕๓๕๕ จำ� นวน ๒๔๗ หอ้ ง ราคา ๙๖๐- จำ� นวน ๒๗๓ หอ้ ง ราคา ๙๙๐-๒,๘๐๐ บาท ๑๒,๐๐๐ บาท ไดอิชิ ๒๙ ถนนฉัยยากุลอุทิศ ๔ โทร. ๐ ๗๔๒๓ บีพี แกรนด์ สวีท ๗๕/๑ ถนนเสน่หานุสรณ์ โทร. ๐๗๒๔, ๐ ๗๔๒๓ ๐๗๓๐, ๐ ๗๔๒๓ ๐๗๓๖ จำ� นวน ๐ ๗๔๓๕ ๕๑๕๕ จำ� นวน ๗๒ ห้อง ราคา ๑,๒๐๐- ๑๗๙ หอ้ ง ราคา ๗๐๐-๑,๕๐๐ บาท ๑,๖๐๐ บาท เดอะ รเี จนซี่ หาดใหญ่ ๒๓ ถนนประชาธิปัตย์ โทร. บางหัก รีสอร์ท ๖๓๖ ถนนสาครมงคล ๒ โทร. ๐ ๗๔๓๕ ๓๓๓๓-๔๗ จ�ำนวน ๔๓๖ ห้อง ราคา ๐ ๗๔๓๖ ๓๗๑๑ จ�ำนวน ๑๓ ห้อง ราคา ๕๐๐ ๑,๓๙๘-๕,๔๐๐ บาท บาท เดอะ วณิ ี หาดใหญ่ ซติ ี้ รีสอร์ทแอนด์ สปา ๑๒๓ บ้านพรุ การ์เดน รีสอร์ท ๔๖๖ ถนนกาญจนวนิช ถนนเพชรเกษม ซอย ๑๐ โทร. ๐ ๗๔๔๖ ๙๒๒๒-๘ ตำ� บลบ้านพรุ โทร. ๐ ๗๔๔๓ ๙๙๔๕-๗ จำ� นวน ๔๙ จ�ำนวน ๔๑ หอ้ ง ราคา ๑,๕๐๐-๓,๐๐๐ บาท หอ้ ง ราคา ๓๐๐-๕๕๐ บาท ท่าไทร รีสอร์ท ๔๒/๓ ซอยศิริสมบัติ ถนนลพบุรี แปซิฟคิ ๑๔๙/๑ ถนนนิพทั ธอ์ ทุ ิศ ๒ โทร. ๐ ๗๔๒๔ ราเมศวร์ ต�ำบลคลองแห โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๐๗๕๐ ๕๒๐๒ จำ� นวน ๔๑ หอ้ ง ราคา ๒๒๐-๖๐๐ บาท จำ� นวน ๑๙ ห้อง ราคา ๓๐๐-๔๕๐ บาท ปารค์ ๘๑ ถนนนพิ ทั ธอ์ ทุ ศิ ๒ โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๓๓๕๑ ไทย โฮเต็ล ๙ ถนนราษฎร์อุทิศ โทร. ๐ ๗๔๒๕ จ�ำนวน ๕๐ หอ้ ง ราคา ๔๔๐-๕๕๐ บาท ๓๐๘๐-๒ จ�ำนวน ๗๕ หอ้ ง ราคา ๓๐๐-๗๐๐ บาท ปาล์ม ชาเลต์ รีสอร์ท ๒๗๙ ถนนสาครมงคล ๒ โทร. ๐ ๗๔๒๕ ๘๖๐๑-๒ จำ� นวน ๓๐ หอ้ ง ราคา ๕๕๐-๑,๒๐๐ บาท สสงงขขลลาา 4477

พิงค์ รีสอร์ท ๓๙ ซอย ๒๑ ถนนสาครมงคล ๒ โทร. ลี การ์เดน ๑ ถนนลีพฒั นา โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๔๔๒๒- ๐ ๗๔๒๕ ๘๖๓๖ จ�ำนวน ๔๐ ห้อง ราคา ๕๐๐- ๖ www.leeplaza.com จ�ำนวน ๑๙๐ หอ้ ง ราคา ๖๐๐ บาท ๖๐๐-๒,๖๐๐ บาท เพรสซิเดนซ์ ๔๒๐ ถนนเพชรเกษม โทร. ๐ ๗๔๓๔ ลี การเ์ ดน พลาซา่ ๒๙ ถนนประชาธปิ ัตย์ โทร. ๐ ๙๕๐๐-๕ จ�ำนวน ๑๑๐ ห้อง ราคา ๕๐๐-๖๐๐ บาท ๗๔๒๖ ๑๑๑๑-๒๖ www.leeplaza.com จ�ำนวน เดอะ ฟลอริดา ๘ ถนนศรภี วู นารถ โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๔๐๕ หอ้ ง ราคา ๑,๑๔๙-๘,๐๐๐ บาท ๔๕๕๕-๙ จำ� นวน ๑๑๙ หอ้ ง ราคา ๕๕๐-๑,๘๐๐ บาท ลานนา อินน์ ๑๖ ซอยสุนทรและเพ่ือน ถนน เม้าเท่นปาร์ค รีสอร์ท ๖๕/๙ หมู่บ้านปักธง ถนน ราษฎรอ์ ทุ ศิ โทร. ๐ ๗๔๒๕ ๓๓๑๒ จำ� นวน ๗๒ หอ้ ง กาญจนวนิช โทร. ๐ ๗๔๒๑ ๗๒๒๔ จ�ำนวน ๑๙ ราคา ๓๕๐-๓๗๐ บาท หอ้ ง ราคา ๔๐๐ บาท วงั นอ้ ย ๑๑๔/๑ ถ.แสงจนั ทร ์ โทร. ๐ ๗๔๓๕ ๓๔๔๑ เมยฟ์ ลาวเวอร์ ๑๕๐ ถนนแสงจนั ทร์ โทร. ๐ ๗๔๒๓ จ�ำนวน ๗๐ หอ้ ง ราคา ๓๒๐-๔๕๐ บาท ๐๑๒๐-๙ จำ� นวน ๑๗๐ หอ้ ง ราคา ๗๕๐-๓,๐๐๐ บาท วี แอล หาดใหญ่ ถนนนิพัทธ์อทุ ศิ ๑ โทร. ๐ ๗๔๓๕ เมอร์ลนิ แกรนด์ ๒ ถนนฉัยยากุลอุทศิ ๑ โทร. ๐ ๒๒๐๑-๓, ๐ ๗๔๒๒ ๓๖๖๐-๓ www.vlhatyaiho- ๗๔๒๓ ๐๐๓๐-๕ จำ� นวน ๑๐๔ หอ้ ง ราคา ๔๐๐- tel.com จำ� นวน ๑๐๔ หอ้ ง ราคา ๘๙๙-๑,๒๕๐ บาท ๙๐๐ บาท ศิริภินันท์ ๒๐ ถนนราษฎร์อุทิศ ซอย ๔ โทร. ๐ ยงดี ๙๙ ถนนนพิ ทั ธอ์ ทุ ศิ ๓ โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๔๓๕๐-๗ ๗๔๒๕ ๒๐๕๑-๒ จ�ำนวน ๔๘ ห้อง ราคา ๔๘๐- จ�ำนวน ๑๐๔ ห้อง ราคา ๕๐๐-๕๘๐ บาท ๙๓๐ บาท โกเดน้ คราวน์ แกรนด์ ๓๘ ถนนไทรงาม โทร. ๐ สยามเซน็ เตอร์ ๒๕-๓๕ ถนนนิพัทธอ์ ทุ ิศ ๒ โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๒๑๗๔, ๐ ๗๔๓๑ ๑๙๑๘ จ�ำนวน ๕๒ ห้อง ๗๔๓๕ ๓๑๑๑-๒๙ จำ� นวน ๑๙๑ หอ้ ง ราคา ๘๕๕- ราคา ๔๕๐-๙๐๐ บาท ๓,๕๐๐ บาท ไชนา่ การ์เดน ๔๐-๔๔ ถนนนพิ ทั ธ์อุทศิ ๑ โทร. ๐ สยาม รีสอรท์ ๔๘ ซอยเพชรมาลัย ๓ ถนนรถั การ ๗๔๒๓ ๐๙๕๑-๕ จำ� นวน ๖๕ หอ้ ง ราคา ๔๘๐ บาท โทร. ๐ ๗๔๒๖ ๒๗๘๗-๘ จ�ำนวน ๓๐ หอ้ ง ราคา ราชา ๔๒-๔๔ ถนนนิพัทธ์อทุ ิศ ๑ โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๕๐๐ บาท ๐๙๕๒-๕ จำ� นวน ๖๕ หอ้ ง ราคา ๕๐๐-๕๕๐ บาท สากล ๔๗-๔๘ ถนนเสนห่ านสุ รณ์ โทร. ๐ ๗๔๓๕ ราชธานี ๑ ถนนธรรมนญู วถิ ี โทร. ๐ ๗๔๓๕ ๔๔๔๖- ๕๕๐๐-๓ จ�ำนวน ๑๐๘ ห้อง ราคา ๕๒๐-๖๘๐ บาท ๘ จำ� นวน ๕๐ ห้อง ราคา ๔๐๐ บาท สายทพิ ย์ คอรท์ ๖๔/๗๓ ถนนนิพทั ธส์ งเคราะห์ ๒ ราโด ๕๙ ถนนเสนห่ านสุ รณ์ โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๙๒๐๒ โทร. ๐ ๗๔๓๖ ๘๐๐๘-๙ จำ� นวน ๑๐ หอ้ ง ราคา จ�ำนวน ๘๘ ห้อง ราคา ๓๖๐-๔๒๐ บาท ๓๐๐-๓๕๐ บาท ริเวอร์ แกรนด์ ๖๕ ถนนชลธารา โทร. ๐ ๗๔๒๓ สิงห์ โกลเด้น เพลส ๑๖/๑ ถนนผดุงภักดี โทร. ๑๑๐๑-๓ จำ� นวน ๘๐ หอ้ ง ราคา ๕๙๐-๖๙๐ บาท ๐ ๗๔๒๓ ๒๓๓๓ จ�ำนวน ๙๘ ห้อง ราคา ๘๙๐- เรด แพลนเนต ถนนนพิ ัทธ์อุทศิ ๒ โทร. ๐ ๒๖๑๓ ๓,๐๐๐ บาท ๕๘๘๘ www.redplanethotels.com/th จ�ำนวน สีลม พาเลส ๓๓ ถนนราษฎรอ์ ุทิศ ซอย ๖ โทร. ๐ ๘๐ ห้อง ราคา ๘๐๐-๑,๒๐๐ บาท ๗๔๔๒ ๕๓๐๑-๔ จำ� นวน ๑๑๕ ห้อง ราคา ๔๙๐- ๖๙๐ บาท 4488 สสงงขขลลาา

หรรษา เจบี ๙๙ ถนนจตุ ิอนุสรณ์ โทร. ๐ ๗๔๒๓ อนิ ทรา ๙๔ ถนนธรรมนญู วถิ ี โทร. ๐ ๗๔๒๔ ๕๘๘๖ ๔๓๐๐-๑๘ จ�ำนวน ๔๓๒ ห้อง ราคา ๑,๑๐๐- จำ� นวน ๑๑๘ หอ้ ง ราคา ๕๐๐-๘๐๐ บาท ๗,๐๐๐ บาท เอเชีย แกรนด์ ๑๙ ถนนฉัยยากุลอุทิศ ๒ โทร. ๐ หาดใหญ่ การ์เดน โฮม ๕๑/๒ ถนนหอยมกุ ต์ โทร. ๗๔๓๕ ๗๖๓๐-๔ จำ� นวน ๘๗ ห้อง ราคา ๕๐๐ บาท ๐ ๗๔๒๓ ๔๔๔๔ จ�ำนวน ๑๐๓ ห้อง ราคา ๙๕๐- เอเช่ยี น ถนนนพิ ทั ธ์อทุ ศิ ๓ โทร. ๐ ๗๔๓๕ ๓๔๐๐- ๑,๑๕๐ บาท ๑๔ จำ� นวน ๑๘๔ หอ้ ง ราคา ๖๘๐-๒,๕๐๐ บาท หาดใหญ่ กรนี ววิ ๘๕/๔ ถนนแสงศรี โทร. ๐ ๗๔๒๓ เอส.ซี เฮอร์ริเทจ ๓๖/๔๓ ถนนแสงศรี ซอย ๕ โทร. ๔๑๑๐-๒ จำ� นวน ๑๕๔ หอ้ ง ราคา ๖๐๐-๗๐๐ บาท ๐ ๗๔๒๓ ๓๐๘๘ จ�ำนวน ๕๖ ห้อง ราคา ๔๐๐- หาดใหญ่ โกลเดน้ คราวน์ ๑๒/๘ ถนนประชารกั ษ์ ๔๕๐ บาท โทร. ๐ ๗๔๒๔ ๖๗๗๗, ๐ ๗๔๒๔ ๗๓๗๖-๗ www. hadyaigoldencrown.com จำ� นวน ๗๘ ห้อง ราคา ร้านอาหาร ๗๒๐-๑,๑๘๐ บาท อ�ำเภอเมืองสงขลา หาดใหญ่ เซ็นทรัล ๑๘๐-๑๘๑ ถนนนิพัทธ์อุทิศ เก้าอีข้ าว ๒๔ ถนนสะเดา โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๒๗๒๒, ๓ โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๐๐๐๐-๑๑ จำ� นวน ๒๕๐ ห้อง ๐ ๘๙๗๓๖ ๙๔๗๗ ราคา ๖๘๕ บาท โกเขียว ซีฟู้ด ถนนราชด�ำเนนิ (หาดสมหิ ลา) โทร. หาดใหญ่ พาราไดซ์ แอนด์ รสี อรท์ ๙๙ ซอยเลื่อน ๐๘ ๑๙๖๓ ๙๘๙๙ อนุสรณ์ ถนนราษฎร์อุทิศ โทร. ๐ ๗๔๓๖ ๒๒๒๒ ดอกแกว้ เทอเรซ ถนนราชด�ำเนนิ โทร. ๐ ๗๔๓๑ จำ� นวน ๑๒๙ ห้อง ราคา ๑,๒๐๐ บาท ๖๒๒๖ หาดใหญ่ พาเลซ ๑๐/๗ ถนนฉัยยากุลอุทิศ โทร. ต้นปอ ถนนแหลมสนอ่อน โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๑๐๔๘ ๐ ๗๔๓๕ ๗๕๗๖-๘๓ จ�ำนวน ๑๐๒ ห้อง ราคา ต้นสน ถนนราชดำ� เนิน (อยภู่ ายในโรงแรม บพี ี สมิ ๕๕๐-๗๕๐ บาท หลาบีช) โทร. ๐ ๗๔๔๔ ๐๒๒๒ หาดใหญ่ เมอรเิ ดยี น ๔๑/๒๖ ตลาดใหม่ ซอย ๒ ถนน แตโ้ ภชนา ๘๕ ถนนนางงาม โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๑๕๐๕ ศรีภวู นารถ โทร. ๐ ๗๔๓๕ ๔๗๓๒ www.hatyaim- นายหวาน ๘/๑๓-๖ ถนนราชด�ำเนนิ โทร. ๐ ๗๔๓๑ erridian.com จ�ำนวน ๗๙ ห้อง ราคา ๕๕๐ บาท ๑๒๙๕ หาดใหญ่ รามา ๙/๕ ถนนศรภี วู นาถ โทร. ๐ ๗๔๒๓ บวั แกว้ ซฟี ดู้ ๒๐ ถนนราชด�ำเนิน โทร. ๐ ๗๔๓๒ ๐๒๒๒ จ�ำนวน ๑๕๒ ห้อง ราคา ๕๘๐-๑,๔๕๐ บาท ๒๙๓๙ หลุยส์ เกสตเ์ ฮาส์๒๑-๒๓ ถนนธรรมนูญวิถี (ทางขึน้ บา้ นมกุ ๑๔ ถนนสงขลาบรุ ี (ใกลส้ ่แี ยกปา่ ไม้) โทร. โรงหนงั โคลเี ซย่ี ม) โทร. ๐ ๗๔๒๒ ๐๙๖๖ จำ� นวน ๒๒ ๐ ๗๔๓๑ ๑๓๕๑ หอ้ ง ราคา ๓๐๐-๔๐๐ บาท พรทพิ ย์ ซฟี ดู้ หาดสมหิ ลา โทร. ๐๘ ๒๘๓๐ ๖๒๐๑ แหลมทอง ๔๔-๔๖ ถนนธรรมนญู วถิ ี โทร. ๐ ๗๔๓๕ พนั ธ์ุ ซฟี ดู้ (บญุ เรยี ม) แหลมสนออ่ น โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๒๓๐๑-๔ จำ� นวน ๖๐ ห้อง ราคา ๓๐๐-๕๐๐ บาท ๑๔๘๔ อโลฮา ๑๒๐-๑๒๔ ถนนนพิ ทั ธอ์ ทุ ศิ ๑ โทร. ๐ ๗๔๒๓ พาวเี ลย่ี น ๑๗ ถนนปละท่า โทร. ๐ ๗๔๔๔ ๑๘๕๐ ๔๓๘๖-๙ จำ� นวน ๑๖๐ หอ้ ง ราคา ๔๕๐-๙๐๐ บาท สสงงขขลลาา 4499

ลดั ดา ๑ ถนนวเิ ชยี รชม โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๓๑๑๑ อ�ำเภอเทพา ลานดอกแก้ว ถนนราชดำ� เนนิ (ใกล้สวนเสรสี งขลา) ครัวริมควน หาดสะกอม ต�ำบลสะกอม โทร. ๐๘ โทร. ๐ ๗๔๓๑ ๖๒๒๖ ๐๗๑๖ ๔๒๐๔ สมหิ ลา ซี สปอรต์ ถนนราชดำ� เนนิ (ใกลส้ ระบวั ) โทร. อ�ำเภอระโนด ๐๗๔ ๓๒๗๒๔๔-๕ พิกุลทอง ๓๙ หมู่ที่ ๔ ต�ำบลตะเครียะ โทร. ๐๘ สมหิ ลา ววิ ถนนราชดำ� เนนิ โทร. ๐๘ ๒๒๖๓ ๙๘๔๐ ๑๔๘๘ ๗๗๒๙, ๐๙ ๕๕๒๔ ๖๕๖๙ สจุ นิ ดา ซฟี ดู้ ถนนราชดำ� เนนิ โทร. ๐ ๗๔๓๒ ๒๗๔๔ เกาะยอ อ�ำเภอหาดใหญ่ โกเข่ง ซีฟู้ด ๔๔ หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลเกาะยอ โทร. ๐ กระท่อมเดอื นเพญ็ ๒๖ ถนนคลองเรียน ๒ ซอย ๔ ๗๔๔๕ ๐๒๒๓ โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๓๑๖๐ โกเหมย้ี ง ๑ หมทู่ ี่ ๙ ต�ำบลเกาะยอ โทร. ๐ ๗๔๔๕ กนั เอง ถนนนิพัทธ์อุทิศ ๓ โทร. ๐ ๗๔๒๔ ๖๑๓๘ ๐๒๕๗ ข้าวต้มนายยาว ๗๙ ถนนธรรมนูญวิถี โทร. ๐ คณุ จติ หมทู่ ี่ ๓ ตำ� บลเกาะยอ โทร. ๐ ๗๔๔๕ ๐๓๕๐ ๗๔๒๔ ๖๒๐๘ ชมจนั ทร์ ๕/๔ หมทู่ ่ี ๔ ตำ� บลเกาะยอ โทร. ๐ ๗๔๔๕ ครัวทะเล ๖๕/๖ ถนนชีวอุทิศ โทร. ๐ ๗๔๓๕ ๐๔๓๕ ๔๙๗๒-๓ นำ้� เคยี งดนิ ๕๙/๒ หมทู่ ่ี ๑ ถนนสงขลา-ระโนด ตำ� บล คเู ตา่ ๑๒๐/๓ ถนนเพชรเกษม โทร. ๐ ๗๔๒๕ ๒๘๐๓ เกาะยอ โทร. ๐ ๗๔๕๙ ๑๗๔๗ แคนตัน้ สุก้ี ถนนจตุ อิ ุทิศ ๔ โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๘๓๑๕ พรทพิ ย์ หมทู่ ่ี ๔ ตำ� บลเกาะยอ โทร. ๐ ๗๔๔๕ ๐๓๐๔ เจเ๊ ล็ก ๑๙๐/๓-๔ ถนนนิพทั ธอ์ ุทศิ ๒ โทร. ๐ ๗๔๒๔ โพธ์ิทะเล หมู่ที่ ๙ ต�ำบลเกาะยอ โทร. ๐ ๗๔๔๕ ๔๔๖๖ ๐๓๘๔-๕ เจ๊ะกา ๘๘๔-๘๘๖ ถนนกาญจนวนชิ โทร. ๐ ๗๔๓๖ รายทอง หมทู่ ี่ ๔ ตำ� บลเกาะยอ โทร. ๐ ๗๔๔๕ ๐๔๙๐ ๕๒๖๔ (อาหารอิสลาม) ศักดโ์ิ ภชนา หมูท่ ่ี ๔ ต�ำบลเกาะยอ โทร. ๐ ๗๔๔๕ ช่องเขา ซีฟู้ด ๕๕๑ ถนนศุภสารรังสรรค์ โทร. ๐ ๐๒๘๙ ๗๔๒๔ ๔๐๖๐ ศิรดา ๘/๒ หมู่ที่ ๒ ถนนสงขลา-ระโนด ตำ� บลเกาะ โชคดี แต่เตีย้ ม ๕๘/๒๕ ถนนละม้ายสงเคราะห์ ๑ ยอ โทร. ๐ ๗๔๔๕ ๐๒๓๕ โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๔๒๕๓ ส�ำเภาทอง หมู่ที่ ๔ ตำ� บลเกาะยอ โทร. ๐ ๗๔๔๕ ซนั เดย์ ๖๕ ถนนจตุ อิ นสุ รณ์ โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๓๖๕๐ ๐๕๒๐ ซามค่ี ทิ เชน่ ถนนลพบรุ รี าเมศวร์ (ตรงขา้ มโกลกคา้ ไม)้ อ�ำเภอควนเนยี ง โทร. ๐ ๗๔๓๔ ๘๗๑๐ (อาหารอสิ ลาม) บา้ นนายชา่ ง บ้านบางเหรยี ง ตำ� บลบางเหรยี ง โทร. ซยุ่ กี่ ๑๗๓ ถนนนพิ ทั ธอ์ ทุ ศิ ๓ โทร. ๐ ๗๔๒๔ ๓๒๓๘ ๐๘ ๑๕๔๒ ๘๔๖๙, ๐๘ ๑๗๖๖ ๔๖๑๗ เซาะอึ้ง ถนนเพชรเกษม โทร. ๐ ๗๔๒๔ ๔๕๒๙ เดอะ ซฟี ู้ด บาร์ ๒๑๗ ถนนศรีภูวนารถ โทร. ๐๙ ๑๐๔๙ ๙๙๓๘ 5500 สสงงขขลลาา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook