Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยะลา

ยะลา

Published by NaraSci, 2022-03-15 06:37:14

Description: ยะลา

Search

Read the Text Version

ยะลา

ยยะละลา า



มสั ยิดกลางอำ� เภอเบตง

สารบัญ ๘ ๙ การเดนิ ทาง สถานทที่ อ่ งเท่ียว ๙ ๑๓ อำ� เภอเมืองยะลา ๑๓ อ�ำเภอรามนั ๑๕ อำ� เภอบันนงั สตา ๑๗ อ�ำเภอธารโต อำ� เภอเบตง ๒๔ ๒๕ กจิ กรรมท่นี ่าสนใจ ๒๗ เทศกาลงานประเพณี ๒๙ สนิ คา้ พืน้ เมอื ง ๒๙ รา้ นจ�ำ หน่ายสินคา้ ที่ระลึก ๓๐ ตวั อยา่ งรายการน�ำ เท่ียว ๓๔ ข้อแนะนำ�ในการทอ่ งเทีย่ ว ๓๘ แผนที่ ๓๙ หมายเลขโทรศพั ทส์ �ำ คญั ศนู ย์บรกิ ารข่าวสารทอ่ งเที่ยว ททท.

ทะเลหมอกอัยเยอรเ์ วง ยะลา ใตส้ ุดสยาม เมืองงามชายแดน

เมืองเบตง ค�ำว่า ยะลา มาจากภาษาพน้ื เมืองเดิมว่า ยะลอ ซง่ึ ผงั เมอื งทเี่ ปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย โดยแบง่ การปกครอง แปลวา่ “แห” ในสมัยสุโขทยั จนถึงตน้ รัตนโกสินทร์ ออกเป็น ๘ อ�ำเภอคือ อ�ำเภอเมืองยะลา อ�ำเภอ เป็นส่วนหน่ึงของเมืองมณฑลปัตตานี เมื่อถึงสมัย รามนั อ�ำเภอกรงปนิ งั อ�ำเภอบนั นงั สตา อ�ำเภอธารโต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาล อ�ำเภอเบตง อ�ำเภอยะหาและอ�ำเภอกาบัง ท่ี ๕) ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ปรับปรุงการ ปกครองเป็นแบบเทศาภิบาล แยกออกเป็น ๗ หัว ระยะทางจากจังหวัดยะลาไปจงั หวดั เมอื ง ไดแ้ ก่ เมอื งปตั ตานี เมืองสายบรุ ี เมืองหนองจิก ใกล้เคียง เมืองยะหริง่ เมืองระแงะ เมืองรามัน และเมอื งยะลา สงขลา ๑๓๒ กิโลเมตร ในปพี .ศ.๒๔๗๖ ได้มีการยกเลกิ มณฑลปัตตานี เมอื ง ปัตตาน ี ๔๓ กโิ ลเมตร ยะลาจงึ ถกู ยกเปน็ จงั หวดั ตามการจดั ระเบยี บราชการ นราธิวาส ๗๖ กิโลเมตร บรหิ ารสว่ นภูมิภาค ระยะทางจากตวั เมืองยะลาไป ยะลา เป็นเมืองชายแดนภาคใต้มีเขตติดต่อกับรัฐ อำ� เภอตา่ ง ๆ เคดาห์ ประเทศมาเลเซีย ที่ด่านเบตง มีความน่า สนใจทั้งทางด้านประวัตศิ าสตร์ ธรรมชาตทิ ีส่ วยงาม อ�ำเภอรามัน ๒๗ กโิ ลเมตร และเป็นเมืองที่ผสมผสานวัฒนธรรมของชนต่างเช้ือ อ�ำเภอกรงปนิ ัง ๑๖ กโิ ลเมตร ชาติท้ังไทย จนี และอิสลาม ตวั เมอื งยะลามีการวาง อ�ำเภอบันนังสตา ๔๐ กโิ ลเมตร ยะลา 7

อ�ำเภอธารโต ๖๐ กิโลเมตร - บรษิ ทั ไทยสมายล์ แอรเ์ วย์ จ�ำกัด โทร ๑๑๘๑, อ�ำเภอเบตง ๑๓๕ กโิ ลเมตร ๐ ๒๑๑๘ ๘๘๘๘ www.thaismileair.com อ�ำเภอยะหา ๒๑ กิโลเมตร ท่าอากาศยานดอนเมือง (เส้นทางกรุงเทพฯ- อ�ำเภอกาบัง ๔๑ กโิ ลเมตร หาดใหญ่) - สายการบนิ นกแอร์ โทร. ๑๓๑๘, ๐ ๒๖๒๗ การเดนิ ทาง ๒๐๐๐, ๐ ๒๙๐๐ ๙๙๕๕ www.nokair.co.th รถยนต์ ใชท้ างหลวงหมายเลข ๔ ถนนเพชรเกษมผา่ น - สายการบินไทยแอร์เอเซีย โทร. ๐ ๒๕๑๕ เพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ์-ชุมพร ต่อด้วยทางหลวง ๙๙๙๙ www.airasia.com หมายเลข ๔๑ ผา่ นท่งุ สง-พทั ลุง-หาดใหญ่ และเดิน - สายการบินไทยไลออนแอร์ โทร. ๐ ๒๕๒๙ ทางต่อไปปัตตานจี นถึงยะลา รวมระยะทาง ๑,๐๘๔ ๙๙๙๙ www.lionairthai.com กโิ ลเมตร การเดินทางจากอ�ำเภอเมืองยะลาไปยัง รถโดยสารประจำ� ทาง ออกจากสถานขี นสง่ ผโู้ ดยสาร อำ� เภออ่ืน ๆ กรุงเทพฯ (สถานีขนส่งสายใต้) ถนนบรมราชชนนี รถตู้ สอบถามข้อมูล ยะลา-เบตง สอบถามข้อมูล บริษัท สหยะลาขนส่ง บริษัท ขนส่ง จ�ำกัด โทร. ๐ ๒๘๙๔ ๖๑๒๒ โทร. ๐ ๗๓๒๑ ๔๑๒๓ (ยะลา), ๐ ๗๓๒๓ ๑๙๖๖ www.transport.co.th (เบตง) บรษิ ทั สยามเดนิ รถ จ�ำกดั โทร. ๐ ๒๘๘๕ ๗๘๖๑ นอกจากนยี้ งั มรี ถสองแถวสายยะลา-บนั นงั สตา หรอื ส�ำนักงานยะลา โทร. ๐ ๗๓๒๑ ๗๐๖๖ ยะลา-ธารโต รวมถึงรถตุ๊กตุ๊ก ไปยังอ�ำเภอต่าง ๆ ของยะลา รถไฟ มีบริการเส้นทางกรุงเทพฯ-ยะลา สอบถาม ขอ้ มูล โทร. ๑๖๙๐, ๐ ๒๒๒๐ ๔๓๓๔, ๐ ๒๒๒๐ การเดินทางจากจังหวัดยะลาไปจังหวัด ๔๔๔๔ สถานีรถไฟยะลา โทร. ๐ ๗๓๒๑ ๑๗๔๘, ใกล้เคียง ๐ ๗๓๒๑ ๔๒๐๗ www.railway.co.th รถตู้ ยะลา-ท่าอากาศยานหาดใหญ่ สอบถามขอ้ มลู หจก. เคร่ืองบิน ไม่มีเส้นทางบินกรุงเทพฯ-ยะลาโดยตรง สายโสภา จ�ำกดั โทร. ๐ ๗๓๒๑ ๒๕๘๒, ๐๘ ๙๗๗๙ แต่สามารถใช้เส้นทางกรุงเทพฯ–หาดใหญ่ และเดิน ๑๕๘๒, ๐๘ ๖๔๘๐ ๙๔๗๙, ๐๘ ๖๔๘๐ ๙๔๘๙ ทางตอ่ ไปยงั จงั หวดั ยะลาโดยรถไฟ รถประจ�ำทาง รถ ยะลา-หาดใหญ่ สอบถามขอ้ มลู บรษิ ทั สหยะลาขนสง่ แท็กซ่ีหรือรถตู้ปรับอากาศ สายการบินที่ให้บริการ โทร. ๐ ๗๓๒๑ ๔๘๔๐ เส้นทาง กรุงเทพฯ-หาดใหญ่ เบตง-หาดใหญ่ สอบถามขอ้ มลู บรษิ ทั เบตงโพธ์ทิ อง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (เส้นทางกรุงเทพฯ- ทวั ร์ โทร.๐ ๗๓๒๓ ๐๒๘๗ หรือ บรษิ ัท เบตง ทัวร์ หาดใหญ่) โทร. ๐ ๗๔๒๓ ๐๙๐๕, ๐ ๗๓๒๓ ๘๒๗๖ 8 ยะลา

สถานทท่ี ่องเทยี่ ว สมโภชเจ้าพ่อหลักเมือง ในเดือนพฤษภาคมของ ทุกปี สอบถามข้อมูล ส�ำนักงานการท่องเท่ียวและ อ�ำเภอเมืองยะลา ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง อยู่ถนนพิพิธภักดี หน้าศาลา กีฬาจงั หวดั ยะลา โทร. ๐ ๗๓๒๑ ๓๗๒๒ กลางจังหวัด พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รชั กาลท่ี ๙) ทรงพระกรุณาโปรด สวนสาธารณะสนามช้างเผือก (สนามโรงพิธี เกล้าฯ พระราชทานยอดเสาหลักเมืองให้เมื่อวันท่ี ช้างเผือก) อยู่ถนนพิพิธภักดี เคยใช้เป็นสถานที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๐๕ ประดิษฐานอยู่ภายในศาล ประกอบพธิ นี อ้ มเกลา้ ฯ ถวายช้างเผอื ก “พระเศวต สร้างด้วยแกน่ ไมช้ ยั พฤกษส์ งู ๕๐ เซนติเมตร วัดโดย สุรคชาธาร” แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา รอบทฐ่ี าน ๔๓ นวิ้ ทป่ี ลาย ๓๖ นวิ้ พระเศยี รยอดเสา ภูมพิ ลอดุลยเดช (รชั กาลท่ี ๙) เมอื่ วนั ที่ ๙ มีนาคม เปน็ รปู พรหมจตรุ พกั ตรแ์ ละเปลวไฟ บรเิ วณโดยรอบ ๒๕๑๑ ภายในสวนสาธารณะมศี าลากลางนำ�้ รปู ปนั้ เป็นสวนสาธารณะ รม่ รน่ื สวยงาม และมีการจัดงาน สัตวต์ ่าง ๆ และเป็นสถานท่จี ัดกิจกรรมของจงั หวัด ศาลเจา้ พ่อหลักเมอื ง ยะลา 9

มสั ยดิ กลางจังหวดั ยะลา สวนขวัญเมือง หรือ พรุบาโกย ถนนเทศบาล ๑ แขง่ ขนั ทม่ี มี าตรฐานทส่ี ุดในภาคใต้ จัดให้เป็นสนามกีฬาและสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ การเดินทาง ถนนเทศบาล ๑ ห่างจากศาลหลกั เมอื ง ของชาวเมือง จุดเด่นอยู่ท่ีสระนำ�้ ใหญ่เนื้อที่ ๖๙ ไร่ ยะลา๓๐๐ เมตร ซึ่งเทศบาลเมืองยะลาได้ตกแต่งพ้ืนท่ีโดยรอบเป็น หาดทรายและทวิ สน จ�ำลองทศั นยี ภาพของหาดทราย มสั ยดิ กลางจังหวดั ยะลา อยูถ่ นนสิโรรส บา้ นตลาด ชายทะเลมาไวใ้ หช้ าวเมอื งไดพ้ กั ผอ่ น เนอ่ื งจากจงั หวดั เกา่ เปน็ มสั ยดิ ใหญป่ ระจ�ำจงั หวดั สรา้ งเสรจ็ เมอื่ พ.ศ. ยะลาไม่มีพื้นที่ติดต่อกับชายทะเล ชายหาดจ�ำลอง ๒๕๒๗ เปน็ สถาปตั ยกรรมแบบตะวนั ตกทสี่ อดแทรก แห่งน้ีสร้างข้ึนในสมัย พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เส้นกรอบทรงสุเหร่าไว้ได้อย่างกลมกลืน ด้านหน้า ด�ำรงต�ำแหนง่ นายกรฐั มนตรี ไดเ้ ดนิ ทางมาท�ำพธิ เี ปดิ เปน็ บันไดกว้าง สงู ๓๐ ขน้ั ทอดสลู่ านชั้นบน หลงั คา ป้ายชอ่ื “สวนขวญั เมือง” เมื่อวนั ที่ ๒๑ กรกฎาคม ทรงสเ่ี หลีย่ มมโี ดมใหญ่อยู่ตรงกลาง พ.ศ. ๒๕๒๙ นอกจากนี้ ยังเป็นสถานท่ีจัดงาน การเดินทาง จากศาลากลางจงั หวดั ไปตามถนนสิโร มหกรรมแข่งขันนกเขาชวาเสียงอาเซียน เป็นสนาม รส ๒ กิโลเมตร 10 ยะลา

ศาลเจ้าแม่ล้ิมกอเหน่ียวยะลา ถนนพุทธภูมิวิถี คล้ายผหู้ ญงิ นง่ั สมาธิ ซ่ึงเปน็ ที่มาของชือ่ ถ�ำ้ แห่งนี้ ภายในศาลเจา้ ฯ ประดษิ ฐานรปู เหมอื นองคเ์ จา้ แมล่ ม้ิ การเดนิ ทาง หา่ งจากตวั เมอื งยะลา ๖ กโิ ลเมตร ถนน กอเหนย่ี ว พระหมอ แปะ๊ กง และองคพ์ ระองคอ์ น่ื ๆ ที่ สายยะลา-ยะหา สามารถตดิ ตอ่ คนน�ำทางไดท้ เี่ ชงิ เขา เคารพนับถือของประชาชน ทุกปหี ลงั วันตรุษจนี ๑๕ แลว้ เดินขน้ึ วนั มูลนธิ แิ มก่ อเหน่ยี ว (ฉอื่ เซยี งตง้ึ ) ยะลา จะจัดงาน แห่พระลุยไฟซ่ึงมีผู้ศรัทธาเข้าร่วมงานเป็นจ�ำนวน พระพทุ ธไสยาสน์ วัดคูหาภมิ ขุ หรือ วัดหน้าถำ�้ อยู่ มาก จงั หวดั ยะลาจดั งานสมโภชเจ้าแมล่ ้มิ กอเหน่ยี ว ต�ำบลหน้าถ�้ำ เป็นปูชนียสถานที่ส�ำคัญของภาคใต้ ในเดือนกมุ ภาพันธ์ของทกุ ปี เช่นเดียวกับพระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราชและ พระบรมธาตไุ ชยา สรุ าษฎรธ์ านี ซง่ึ แสดงความรงุ่ เรอื ง ถำ�้ แมน่ างมณโฑ ภายในถำ้� คลา้ ยหอ้ งโถงใหญ่ มที าง ของศาสนาพทุ ธในบริเวณนี้ ต้ังแตส่ มัยอาณาจกั รศรี เดนิ ทะลกุ นั ได้ ตอ้ งน�ำไฟฉายตดิ ตวั ไปดว้ ย จดุ เดน่ อยู่ วชิ ยั บรเิ วณวดั รม่ รน่ื มธี ารนำ�้ ไหลผา่ น บนั ไดขน้ึ ไปยงั ท่ีสุดปลายถ้�ำ ซ่ึงมีหินงอกขนาดสูงใหญ่ มีลักษณะ ปากถำ้� มรี ปู ปน้ั ยกั ษ์ ชาวบา้ นเรยี กวา่ “เจา้ เขา” สรา้ ง ศาลเจา้ แม่ลม้ิ กอเหนยี่ วยะลา ยะลา 11

วัดคูหาภิมขุ หรอื วัดหนา้ ถ้ำ� 12 ยะลา

เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๔ ภายในถ้ำ� มลี กั ษณะคลา้ ยห้องโถง โกตาบารู ถงึ ต�ำบลทา่ เรอื ประมาณ ๒ กโิ ลเมตร เลย้ี ว ใหญ่ ดัดแปลงเป็นศาสนสถาน มีปล่องที่เพดานถ�้ำ เขา้ ถนนหมบู่ า้ นอกี ๒ กิโลเมตร จะถึงทางเขา้ นำ้� ตก ยามแสงแดดส่องลงมาดูสวยงาม เป็นท่ีประดิษฐาน เข้าไป ๕๐๐ เมตร พระพทุ ธไสยาสนข์ นาดใหญ่ สนั นษิ ฐานวา่ สรา้ งมาแต่ ปี พ.ศ. ๑๓๐๐ เป็นพระพทุ ธไสยาสน์สมยั ศรีวชิ ัย มี อำ� เภอบนั นงั สตา ขนาดความยาว ๘๑ ฟุต ๑ นวิ้ เชอ่ื กนั ว่าเดมิ เป็นปาง น�้ำตกสุขทาลัย หรอื นำ�้ ตกกือลอง อยตู่ �ำบลตลง่ิ ชัน นารายณบ์ รรทมสนิ ธ์ุ เพราะมภี าพนาคแผพ่ งั พานปก อยู่ในเขตนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ บนเขาปก พระเศียร ตอ่ มาจงึ ไดด้ ดั แปลงเปน็ พระพทุ ธไสยาสน์ โยะ มี ๕ ชน้ั สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี แบบหนิ ยาน ทรงพระราชทานนามน�้ำตกแห่งนี้ว่า “น�้ำตกสุขทา การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๔๐๙ ทางไป ลยั ” ครงั้ ทที่ รงเสดจ็ เยยี่ มพสกนกิ รในพนื้ ที่ เปน็ นำ้� ตก อ�ำเภอยะหา ห่างจากอ�ำเภอเมือง ๘ กิโลเมตร อยู่ ทม่ี ที ศั นยี ภาพสวยงาม และมแี อง่ นำ้� ส�ำหรบั เลน่ นำ�้ ได้ เลยจากถำ้� นางมณโฑ ๑ กิโลเมตร สะพานเหล็กยีลาปัน อยู่บนทางหลวงหมายเลข ถ้�ำศิลป์ อยหู่ ม่ทู ่ี ๒ ต�ำบลหนา้ ถ�้ำ เป็นถำ้� เล็ก ๆ มี ๔๑๐ (สายยะลา-บันนังสตา-เบตง) บริเวณ กม. ภาพจิตรกรรมเก่าแก่บนผนังถ�้ำ สมัยศรีวิชัยตอน ๑๕ สะพานข้ามแม่น�้ำปัตตานี กว้าง ๖ เมตร ยาว ปลาย ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ เป็นภาพ ๑๕๐ เมตร เปน็ สะพานประวตั ศิ าสตร์ สร้างข้นึ สมัย พระพุทธเจ้าปางต่าง ๆ และมีรูปผู้หญิงยืนเป็นหมู่ สงครามโลกครง้ั ที่ ๒ ประมาณปพี .ศ. ๒๔๘๔ กองทพั สามคน การชมถ้�ำต้องน�ำตะเกียงหรือไฟฉายติดตัว ญี่ปุ่นใช้เป็นเส้นทางขนยุทโธปกรณ์และก�ำลังพลไป ไปด้วย ยงั พมา่ การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๔๐๙ ใช้เสน้ ทาง เดียวกับวัดถ้�ำคูหาภิมุข แต่ต้องเดินทางต่อไปอีก ถ้�ำกระแชง อยู่บ้านกาโสด ต�ำบลบันนังสตา มี ๑.๕ กิโลเมตร แล้วแยกซ้ายไปอีก ๑ กโิ ลเมตร ผา่ น ทศั นยี ภาพของภเู ขา ธารนำ้� และถำ�้ ลอดทส่ี วยงาม ใน โรงเรียนบา้ นถ้�ำศิลป์ ช่วงท่ีน�้ำน้อยสามารถเดินเลาะเลียบตามล�ำธารลอด ถำ้� ไปทะลอุ กี ดา้ นหนงึ่ ซงึ่ เปน็ ทโ่ี ลง่ โอบลอ้ มดว้ ยภเู ขา อ�ำเภอรามนั และแมกไมเ้ ขียวขจี มที ศั นียภาพสวยงาม น้�ำตกบูเก๊ะปิโล หรือ น�้ำตกตะวันรัศมี อยู่ต�ำบล การเดนิ ทาง ใชท้ างหลวงหมายเลข ๔๑๐ ยะลา-เบตง บอื มงั ในอดตี เคยใชเ้ ปน็ สถานทพ่ี กั ผอ่ นของเจา้ เมอื ง ระยะทาง ๕๐ กิโลเมตร เลยแยกปากทางเข้าเขื่อน รามัน บรรยายกาศโดยรอบล้อมรอบด้วยแนวภูเขา บางลางไปเล็กน้อย แล้วจึงเลี้ยวซ้ายเข้าไปอีก ๑.๕ ลักษณะเป็นป่าดิบชื้น ตัวน้�ำตกไล่ระดับลงมาจาก กิโลเมตร แนวหินขนาดใหญ่ ดา้ นล่างเป็นแอ่งน้�ำ สามารถเลน่ นำ้� ได้ เหมาะส�ำหรบั การพกั ผ่อน เขื่อนบางลาง อยู่บ้านบางลาง ต�ำบลเข่ือนบาง การเดนิ ทาง หา่ งจากอ�ำเภอเมอื งยะลา ๑๙ กโิ ลเมตร ลาง เป็นโครงการไฟฟ้าพลังน�้ำอเนกประสงค์แห่ง ใช้เส้นทางสายยะลา-โกตาบารู เลี้ยวเข้าต�ำบล แรกในภาคใต้ท่ีสร้างปิดก้ันแม่น�้ำปัตตานี เป็นเข่ือน ยะลา 13

เขอ่ื นบางลาง แบบหินท้ิงแกนดินเหนียว สูง ๘๕ เมตร สันเข่ือน มีเนอ้ื ที่ ๒๖๑ ตารางกโิ ลเมตร พน้ื ทอี่ ุทยานบางสว่ น ยาว ๔๒๒ เมตร สามารถเกบ็ กักน้�ำได้ ๑,๔๒๐ ลา้ น ครอบคลุมเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา ผืนป่า ลูกบาศก์เมตร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ยงั คงความสมบรู ณ์ มคี วามหลากหลายทางพรรณไม้ ภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่ ๙)ไดเ้ สดจ็ พระราชด�ำเนนิ สว่ นใหญเ่ ปน็ ปา่ ดบิ ชนื้ มฝี นเกอื บตลอดทงั้ ปแี ละเปน็ ไปทรงประกอบพิธีเปิดเขื่อนบางลาง เมื่อวันท่ี ๒๗ แหล่งต้นน�้ำส�ำคัญของแม่น้�ำปัตตานี แม่น�้ำสายบุรี กันยายน ๒๕๒๔ บริเวณเหนือมีจุดชมทิวทัศน์มอง คลองโต๊ะโมะ คลองฮาลา และคลองบ้านเจ็ด เป็น เห็นทัศนียภาพของเข่ือน อ่างเก็บน�้ำและทิวเขาโดย แหล่งอาศยั ของสตั วป์ า่ หายากหลายชนดิ เช่น กระซู่ รอบได้สวยงาม สมเสร็จ นกเงอื กหวั แรด นกขนหิน และสัตวป์ า่ อื่น ๆ การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๔๑๐ ยะลา- อกี หลายชนิด เบตง ระยะทาง ๕๐ กิโลเมตร แล้วแยกซ้ายไปอีก อัตราค่าบริการเข้าอุทยานฯ คนไทย ผู้ใหญ่ ๒๐ ๑๒ กโิ ลเมตร บาท เดก็ ๑๐ บาท ชาวต่างชาติ ผใู้ หญ่ ๑๐๐ บาท อทุ ยานแหง่ ชาตบิ างลาง อยตู่ �ำบลถำ�้ ทะลุ ครอบคลมุ เดก็ ๕๐ บาท มบี ้านพักและจุดกางเตน็ ทบ์ ริการนัก พนื้ ทอี่ �ำเภอบนั นงั สตา อ�ำเภอธารโต และอ�ำเภอเบตง ท่องเที่ยว สอบถามข้อมูล อุทยานแห่งชาติบางลาง โทร. /โทรสาร ๐ ๗๓๒๐ ๖๑๑๙ www.dnp.go.th 14 ยะลา

การเดนิ ทาง ใชท้ างหลวงหมายเลข ๔๑๐ ยะลา-เบตง อ�ำเภอธารโต บริเวณกิโลเมตรท่ี ๕๖ จะมีทางแยกเข้าสู่ที่ท�ำการ นำ้� ตกธารโต อยตู่ �ำบลถำ�้ ทะลุ ในเขตอทุ ยานแหง่ ชาติ อุทยานฯ บางลาง เปน็ น�ำ้ ตกขนาดกลาง ๙ ช้นั ความสูง ๒๐ สถานท่ีท่องเที่ยวภายในเขตอทุ ยานฯ ไดแ้ ก่ เมตร ประกอบด้วย ธารสามสาย ธารเซาะหิน ธาร จุดชมวิวทะเลหมอกผาไม้แกว้ อย่หู มทู่ ่ี ๕ ต�ำบลถำ้� มจั ฉา ธารกระเซ็น ธารเสน่หา ธารดาหลา ธารหนิ ตงั้ ทะลุ สูงจากระดับน้ำ� ทะเล ๒๒๐ เมตร อยู่ห่างจาก ธารพฤกษา และธารโต มองเหน็ เป็นทางนำ้� ทีไ่ หลลด ทที่ �ำการอทุ ยานฯ ๘๐๐ เมตร สามารถชมทะเลหมอก หลน่ั มาจากภเู ขาสงู มแี อง่ นำ้� สามารถเลน่ นำ�้ ได้ รม่ รน่ื ได้ในช่วงเดือนตุลาคม-มีนาคม บริเวณจุดชมวิวมีไม้ ไปด้วยปา่ ไมท้ ่ีอุดมสมบรู ณ์ มพี นั ธ์ุไมท้ น่ี ่าสนใจ รวม แก้วข้ึนเป็นจ�ำนวนมาก ทั้งต้นศรียะลา หรืออโศกเหลือง ซึ่งจะออกดอกสี เหลืองสวยงาม ในเดอื นกุมภาพนั ธ์ของทกุ ปี น�้ำตกธารโต ยะลา 15

ตู้ไปรษณยี ์ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย บริเวณมุมถนนสุขยางค์ การเดนิ ทาง ใชท้ างหลวงหมายเลข ๔๑๐ ยะลา-เบตง อาวธุ ยทุ โธปกรณต์ า่ ง ๆ เครอื่ งใช้ และอนสุ าวรยี ว์ รี ชน กม.ที่ ๔๗-๔๘ มีทางแยกขวาไปอีก ๑ กโิ ลเมตร ของ จคม. แวดลอ้ มดว้ ยล�ำธารและสภาพภมู ปิ ระเทศ สวยงาม นอกจากน้ยี งั มีฟารม์ กวางดาว สถานท่ีกาง นำ�้ ตกละอองรงุ้ อยู่บริเวณหน่วยพิทักษอ์ ุทยานแหง่ เตน็ ท์ และบ้านพกั ส�ำหรบั นกั ท่องเท่ียว ชาตบิ างลางท่ี บล.๔ ในเขตอทุ ยานแห่งชาตบิ างลาง การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๔๑๐ ตามเส้น สภาพเป็นป่าดงดิบชื้น อุดมสมบูรณ์ สภาพน้�ำตก ทางเข่ือนบางลาง-อ�ำเภอธารโต รวมระยะทางจาก เป็นหุบเขาไหลจากยอดเขาตกกระทบก้อนหินเบื้อง ตัวเมืองยะลา ๙๙ กิโลเมตร ลา่ งจนเกดิ เปน็ ละอองนำ�้ ฟงุ้ กระจายชมุ่ ชน้ื ทว่ั บรเิ วณ และเกิดเป็นรุ้งสีสวยอนั เปน็ ท่มี าของชื่อนำ�้ ตกแหง่ น้ี หมูบ่ ้านซาไก อยหู่ มู่ท่ี ๓ ต�ำบลบ้านแหร เป็นท่อี ยู่ การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๔๑๐ ยะลา- อาศยั ของชนเผา่ “เงาะซาไก” เดมิ ด�ำรงชวี ติ ดว้ ยการ เบตง ระยะทาง ๑๐๐ กโิ ลเมตร หรอื ก่อนถึงอ�ำเภอ หาของป่า มีความรู้ด้านสมุนไพรและความช�ำนาญ เบตง ๔๐ กิโลเมตรจากปากทางเข้าไปถึงตัวน้�ำตก ในการเป่าลูกดอกล่าสัตว์ บ้านเรือนของซาไกเดิม ๕๐๐ เมตร สร้างด้วยไม้ไผ่ มุงหลังคาจาก ต่อมาทางราชการได้ รวบรวมชาวซาไกให้มาอาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน หมบู่ า้ นจฬุ าภรณพ์ ฒั นา ๙ อยหู่ มทู่ ่ี ๙ ต�ำบลแมห่ วาด ส่งเสริมให้ประกอบอาชีพท�ำสวนยางพารา และ บรเิ วณหมบู่ า้ นจดั เปน็ พพิ ธิ ภณั ฑป์ ระวตั ศิ าสตรแ์ สดง ยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระศรี 16 ยะลา

นครินทราบรมราชชนนี พระราชทานนามสกุล “ศรธี ารโต” ใหแ้ กช่ นเผา่ ดว้ ย ปจั จบุ นั มชี นเผ่าซาไก ยังคงอาศยั อยู่บา้ ง แตบ่ างส่วนได้แยกยา้ ยไปท�ำงาน ท่อี น่ื การเดนิ ทาง ใชท้ างหลวงหมายเลข ๔๑๐ ยะลา-เบตง กม.ท่ี ๖๗-๖๘ มที างแยกเลยี้ วขวา ไปอีก ๔ กม. จุดชมวิวสะพานโต๊ะกูแช อยู่ต�ำบลแม่หวาด บน ทางหลวงหมายเลข ๔๑๐ เป็นสะพานข้ามเขื่อน บางลาง เชื่อมต่อเส้นทางจากอ�ำเภอเมืองยะลาไป ยังอ�ำเภอเบตง เป็นจุดพักรถและชมวิวที่สวยงาม ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวแวะถ่ายรูปเป็น จ�ำนวนมาก อ�ำเภอเบตง ค�ำวา่ เบตง มาจากภาษามลายู แปลวา่ ไมไ้ ผ่ เป็น อ�ำเภอทอ่ี ยใู่ ตส้ ดุ ของประเทศไทย โอบลอ้ มดว้ ยภเู ขา ตไู้ ปรษณยี ์ บรเิ วณศาลาประชาคม อากาศเย็นสบาย มีฝนตกชุก และมีหมอกปกคลุม ในยามเช้า จนได้รับสมญานามว่า “เมืองในหมอก ได้มีการสร้างตู้ไปรษณีย์ใหม่ใหญ่กว่าเดิมท่ีบริเวณ ดอกไมง้ าม” สญั ลกั ษณท์ เี่ ดน่ ของเบตงคอื นกนางแอน่ ศาลาประชาคม ถนนสขุ ยางค์ มคี วามสงู ๙ เมตร เปน็ บริเวณย่านชุมชนกลางเมืองเบตง อาศัยอยู่ตาม จุดเดน่ ทนี่ ักทอ่ งเทย่ี วนิยมแวะมาถ่ายรปู เปน็ ทีร่ ะลกึ อาคารบ้านเรือนและสายไฟฟ้าอยู่มากมาย โดย เฉพาะบริเวณหอนาฬิกานั้นมีนกหนาแน่นเป็นพิเศษ พิพธิ ภัณฑเ์ มืองเบตง อยบู่ นถนนรตั นกิจ เปน็ สถาน โดยพบเหน็ เปน็ จ�ำนวนมากในเดอื นกนั ยายน-มนี าคม ท่รี วบรวมเร่อื งราวเมืองเบตงในอดีต มพี น้ื ทีจ่ ดั แสดง ๒ ช้ัน ช้ันล่างจัดแสดงเคร่อื งมือ เครือ่ งใช้โบราณ ชั้น ตู้ไปรษณีย์ใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย ตู้แรกตั้งอยู่ที่ บนจัดแสดงรูปภาพในอดีตและสถานท่ีน่าสนใจของ บรเิ วณมมุ ถนนสขุ ยางค์ สแี่ ยกหอนาฬกิ าใจกลางเมอื ง เบตง และช้ันหอคอยเป็นจุดชมวิวเมอื งเบตง เปิดให้ เบตง สรา้ งขน้ึ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๖๗ กอ่ นสมยั สงครามโลก เข้าชมทุกวัน ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ ตั้งแต่เวลา ครงั้ ทส่ี อง โดยคณุ สงวน จริ ะจนิ ดา อดตี นายไปรษณยี ์ ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. ไมเ่ สียคา่ เขา้ ชม โทรเลขและอดีตนายกเทศมนตรีอ�ำเภอเบตง โดยมี วิทยุกระจายเสียงอยู่ส่วนบนของตู้ จุดประสงค์เพ่ือ อุโมงค์เบตงมงคลฤทธ์ิ อยู่ระหว่างถนนอมฤทธิ์ตัด ใชเ้ ปน็ ทรี่ ายงานขา่ วสารบา้ นเมอื งใหช้ าวเมอื งเบตงได้ กบั ถนนภักดีด�ำรง เปน็ อโุ มงคล์ อดภูเขาแหง่ แรกของ รบั ฟงั และยงั ใชเ้ ปน็ ตไู้ ปรษณยี ม์ าจนทกุ วนั น ้ี ปจั จบุ นั ไทย สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ความยาว ๒๗๓ ยะลา 17

อโุ มงคเ์ บตงมงคลฤทธิ์ เมตร กว้าง ๙ เมตร สงู ๗ เมตร ช่วงกลางคนื จะเปิด ๒๕๐๘ ภายในวัดประดิษฐาน เจ้าแม่กวนอิม ท่าน ไฟเพอื่ อ�ำนวยความสะดวกในการสญั จร เปน็ สถานท่ี แป๊ะกง ขงจื้อท่านกวงถง เจ้าแม่จิวหวังเหย่ ย่ีหวัง ท่ีเป็นเอกลกั ษณ์ส�ำคัญอกี แห่งของเมืองเบตง ต้าต้ี หวาโถว่ เซียนซอ่ื เปน็ ต้น นักทอ่ งเท่ยี วนยิ มมา สกั การะเป็นจ�ำนวนมาก สวนสุดสยาม หรือ สวนสาธารณะเทศบาลต�ำบล เบตง อยู่บนเนินเขากลางเมืองเบตง เป็นจุดชม วัดพุทธาธิวาส ถนนรัตนกิจ เป็นวัดที่สวยงามต้ัง ทัศนียภาพเมืองเบตง ประกอบด้วยสวนไม้ดอกไม้ เด่นสง่าอยู่บนเนินเขา มีพระประธานในอุโบสถ คือ ประดับ สวนนก สวนสขุ ภาพ สนามกฬี า สระว่ายนำ�้ รูปเหมือนหลวงปู่ทวดเหยียบน้�ำทะเลจืดขนาดเท่า และสนามเดก็ เลน่ เหมาะส�ำหรบั เปน็ สถานทพ่ี กั ผอ่ น องค์จริง ภายในวัดประดิษฐาน พระมหาธาตุเจดีย์ และออกก�ำลังกาย พระพทุ ธธรรมประกาศ กอ่ สรา้ งแบบศรวี ชิ ยั ประยกุ ต์ สที องอรา่ ม สงู ๓๙.๙ เมตร บรรจพุ ระบรมสารรี กิ ธาตุ วัดกวนอิม อยู่บนเนินเขาบริเวณสวนสาธารณะ สรา้ งขนึ้ เพอื่ เฉลมิ ฉลองถวายแดส่ มเดจ็ พระนางเจา้ ฯ เบตง ไดร้ บั การบรู ณะปรบั ปรงุ จากองคเ์ ดมิ เมอ่ื พ.ศ. พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสพระชนมายุครบ ๖๐ 18 ยะลา

วัดกวนอมิ ยะลา 19

วัดพทุ ธาธิวาส 20 ยะลา

พรรษา จากเจดีย์สามารถมองเห็นทัศนียภาพของวดั บรรเทาอาการปวดเมื่อยและรักษาโรคผิวหนังได ้ และเมอื งเบตงในอกี มมุ หนงึ่ นอกจากนยี้ งั ประดษิ ฐาน อีกท้ังมีบ่อส�ำหรับต้มไข่ให้สุกได้ภายใน ๗ นาที ม ี พระพุทธธรรมกายมงคลปยุรเกศานนท์สุพพิธาน ร้านคา้ และที่พักบรกิ าร เป็นพระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์องค์ใหญ่ หล่อมาจาก การเดนิ ทาง ใชท้ างหลวงหมายเลข ๔๑๐ เบตง-ยะลา ประเทศจีน เป็นปูชนียวัตถุท่ีส�ำคัญในพระพุทธ จากอ�ำเภอเบตงประมาณ ๕ กโิ ลเมตร แลว้ มแี ยกซา้ ย ศาสนาประจ�ำเมอื งเบตง เขา้ ทางหลวงชนบท ยล. ๓๐๐๔ ไปอกี ๘ กโิ ลเมตร บ่อน�้ำร้อนเบตง อยู่ในหมู่บ้านจะเราะปะไร ต�ำบล น�้ำตกอินทสร อยู่หมู่ที่ ๒ ต�ำบลตะเนาะแมเราะ ตาเนาะแมเราะ พน้ื ทลี่ อ้ มรอบดว้ ยภเู ขา มบี อ่ นำ�้ รอ้ น น�้ำตกขนาดเล็กที่เกิดจากภูเขา รอบบริเวณปกคลุม ขนาดใหญส่ �ำหรบั แชเ่ ทา้ และหอ้ งแชส่ ว่ นตวั สามารถ ด้วยป่าไม้ร่มรื่น มีแอ่งน้�ำลงเล่นน้�ำได้ บริเวณน�้ำตก บ่อนำ้� รอ้ นเบตง ยะลา 21

อโุ มงคป์ ิยะมิตร มมี มุ พกั ผอ่ นและรา้ นอาหารไวบ้ ริการนักทอ่ งเทยี่ ว การเดินทาง ใช้เส้นทางเดียวกับบ่อน้�ำร้อนและน�้ำ การเดนิ ทาง หา่ งจากตวั เมอื งเบตง ๑๕ กโิ ลเมตร หรอื ตกอินทสร แต่อยู่เลยบ่อนำ�้ รอ้ นไปอีก ๔ กโิ ลเมตร เลยจากบอ่ น�้ำรอ้ นเบตงไปอีก ๒ กโิ ลเมตร สวนดอกไม้เมืองหนาว หรือ สวนหม่ืนบุปผา อยู่ อโุ มงคป์ ยิ ะมติ ร อยบู่ า้ นปิยะมติ ร ๑ ต�ำบลตะเนาะ ต�ำบลตะเนาะแมเราะ บริเวณหมู่บ้านปิยะมิตร ๒ แมเราะ เป็นอุโมงค์คดเค้ียวเข้าไปในภูเขายาว ๑ เปน็ โครงการในพระราชด�ำรขิ องสมเดจ็ พระเทพรตั น กิโลเมตร กว้าง ๕๐-๖๐ ฟุต มีทางเข้าออกหลาย ราชสดุ า สยามบรมราชกมุ ารี โดยแบง่ เปน็ ศนู ยศ์ กึ ษา ทาง เดิมเคยเป็นฐานท่ีม่ันของพรรคคอมมิวนิสต์ และทดลองปลูก เน่อื งจากพื้นที่น้ีมอี ากาศหนาวเยน็ มลายา (เขต ๒) ใช้เป็นท่ีหลบภัยทางอากาศและ ตลอดทั้งปี มศี ักยภาพในการปลกู ไม้ดอกเมืองหนาว สะสมเสบียง ด้านนอกอุโมงค์จัดนิทรรศการแสดง นานาชนดิ เชน่ คารเ์ นชน่ั ลลิ ล่ี เบญจมาศ กหุ ลาบ ภาพประวัติศาสตร์ รวมทั้งวิถกี ารด�ำเนนิ ชวี ติ ภายใน เยอรบ์ รี ่า เปน็ ต้น มีร้านอาหารและท่พี ัก ป่า เปิดใหเ้ ข้าชมเวลา ๐๘.๐๐-๑๖.๓๐ น. สอบถาม ขอ้ มลู โทร. ๐ ๗๓๓๗ ๘๐๕๕ 22 ยะลา

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา พ้ืนที่ป่าบริเวณ น้ำ� ตกเฉลมิ พระเกยี รติ ร.๙ อยูใ่ นพ้นื ทบ่ี ้านกม. ๓๒ ทิวเขาสันกาลาคีรี ครอบคลุมพื้นที่ ๒ จังหวัด คือ หมทู่ ี๒่ ต�ำบลอยั เยอรเ์ วง มชี ื่อเรียกอีกช่อื ว่า น�้ำตกวัง “ป่าฮาลา” ในพ้ืนที่อ�ำเภอธารโต ฮ�ำเภอบันนังสตา ใหม่ เปน็ นำ�้ ตกทตี่ กลงมาจากหนา้ ผาสงู กวา่ ๓๐ เมตร และอ�ำเภอเบตงจังหวัดยะลาและ “ป่าบาลา” พนื้ ที่ มีทงั้ หมด ๕ ช้ัน รอบบรเิ วณปกคลุมไปด้วยพรรณไม้ จังหวัดนราธิวาส เป็นป่าดิบชื้นหรือป่าฝนเขตร้อนที่ บรรยากาศรม่ ร่ืน มีความอุดมสมบูรณ์มากท่ีสุดแห่งหนึ่ง ได้รับขนาน นามว่าเป็น อเมซอนแห่งเอเชีย มีความหลากหลาย ทะเลหมอกอัยเยอร์เวง ต�ำบลอัยเยอร์เวง บริเวณ ทางพืชพรรณหายากและสัตว์ป่า เช่น ลิงกัง หมูป่า พนื้ ทขี่ องเครอ่ื งและเสาสง่ สญั ญาณโทรศพั ทท์ โี อที สงู เก้ง รวมถึงนกเงือก ที่เป็นสัญลักษณ์ของความอุดม จากระดบั น้ำ� ทะเล ๒,๐๓๘ ฟตุ บนยอดเขามีอากาศ สมบูรณ์ของปา่ แห่งนี้ เยน็ สบาย สามารถชมทะเลหมอกไดท้ ง้ั ทศิ ตะวนั ออก สวนดอกไม้เมืองหนาว หรอื สวนหมื่นบุปผา ยะลา 23

ทะเลหมอกอัยเยอร์เวง และตะวันตก มีจุดให้ชมได้ ๓ จุด สามารถชมได้ กจิ กรรมทีน่ ่าสนใจ ตลอดท้ังปี นักท่องเที่ยวนิยมเดินทางมาต้ังแต่ก่อน พระอาทติ ยข์ น้ึ สอบถามขอ้ มลู องค์การบริหารสว่ น ชมภาพวาดสตรีทอาร์ตในเมืองเบตง เป็นภาพวาด ต�ำบลอยั เยอร์เวง โทร. ๐ ๗๓๒๘ ๕๑๑๑ เรอ่ื งราวสะทอ้ นวถิ ชี วี ติ วฒั นธรรมทห่ี ลากหลาย รวม การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๔๑๐ บริเวณ ถงึ สถานส�ำคญั ของเบตง เพอื่ สรา้ งความประทบั ใจให้ กม.ที่ ๓๓ มีทางเลย้ี วเขา้ ทางหลวงสายชนบท เข้าไป ชาวเบตงรวมถึงดึงดูดนักท่องเที่ยวท้ังชาวไทยและ ระยะทาง ๗ กโิ ลเมตร ชาวต่างชาติให้เดินทางมาเที่ยวเบตง สามารถเดิน ทะเลหมอกฆูนุงซีลีปัต ต�ำบลอัยเยอร์เวง เป็นอีก ชมภาพวาดไดต้ ามจดุ ตา่ ง ๆ เชน่ ผนัง ก�ำแพงและ หนง่ึ จดุ ชมทะเลหมอกในเบตงแบบ ๓๖๐ องศา สงู ตวั อาคารรอบ ๆ เมอื งเบตง จากระดับน�้ำทะเล ๖๗๐ เมตร เป็นแหลง่ ท่องเที่ยว ลอ่ งแกง่ อยั เยอรเ์ วง เปน็ กจิ กรรมผจญภยั มหี ลายรปู เชิงผจญภัย นิยมกางเต็นท์พักค้างคืนบนเขาเพื่อชม แบบทั้งแบบเรือยางและแบบห่วงยาง บริเวณแม่น�้ำ ทะเลหมอกและพระอาทิตย์ขึ้นในตอนเช้า ต้องมี ปตั ตานตี อนบน ผา่ นแกง่ หนิ คดเคี้ยวตามธรรมชาติ เจา้ หน้าท่ีน�ำทาง สอบถามข้อมูล โทร. ๐๘ ๑๐๙๓ มอี ปุ กรณ์และเจา้ หนา้ ทีด่ ูแลอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ ๘๕๔๙, ๐๘ ๒๒๖๕ ๖๙๐๐ มโี ฮมสเตยใ์ หบ้ ริการ สอบถามข้อมลู 24 ยะลา

ล่องแก่งห่วงยาง อัยเยอร์เวง กม. ๓๖ โทร. ๐๘ ยะลาและมีพิธีลุยไฟโดยศิษยานุศิษย์บริเวณหน้า ๑๖๕๓ ๘๔๘๔ มลู นิธแิ ม่กอเหนี่ยว จงั หวัดยะลา แบมะ ล่องแก่ง กม. ๒๙ สอบถามขอ้ มูล โทร. ๐๘ งานมหกรรมแขง่ ขนั นกเขาชวาเสยี งอาเซยี น จดั ขนึ้ ๕๖๗๑ ๘๓๘๘, ๐๘ ๖๒๙๓ ๐๗๒๓ ในเดอื นมนี าคม บรเิ วณสนามสวนขวญั เมอื ง เปน็ การ อัยเยอร์เวงแลนด์ โทร. ๐๙ ๕๓๕๐ ๒๕๙๕ แขง่ ขนั นกเขาชวา ประเภทเสยี งเลก็ เสยี งกลาง เสยี ง ใหญ่ การแขง่ ขนั นกกรงหวั จุก โดยมีผู้เขา้ แขง่ ขนั ทั้ง ในประเทศและจากประเทศเพอื่ นบา้ น เชน่ มาเลเซยี เทศกาลงานประเพณี อินโดนีเซยี สงิ คโปร์ เปน็ ต้น นอกจากนภี้ ายในงานมี การจ�ำหนา่ ยอาหารเดน่ จากพนื้ ที่ ๓ จงั หวดั ชายแดน งานสมโภชเจา้ แมล่ ้ิมกอเหนย่ี ว จดั ขึ้นหลงั เทศกาล ใต้และการแสดงศลิ ปวฒั นธรรม ตรุษจนี ๑๕ วนั ในชว่ งเดอื นกุมภาพนั ธ-์ มนี าคมของ ทุกปี มีการแห่เกี้ยวองค์จ�ำลองไปตามเทศบาลเมือง ลอ่ งแกง่ อยั เยอร์เวง ยะลา 25

งานมหกรรมแข่งขันนกเขาชวาเสยี งอาเซยี น เทศกาลอาหารจานเด็ด สะอาด รสชาติอร่อย เบตง ภายในงานมกี จิ กรรมการแขง่ ขนั ท�ำอาหารจาก จังหวัดยะลา จัดขึ้นในเดือนมีนาคมของทุกปี จัด ไกเ่ บตง การแข่งขันกนิ ไก่เบตง การประกวดพันธ์ุไก่ โดยเทศบาลนครยะลา บริเวณสนามโรงพิธีช้าง เบตง โดยมีนักท่องเที่ยวท้ังจากไทย มาเลเซียและ เผือกเทศบาลนครยะลา ในชว่ งการจดั งานมหกกรม สิงคโปร์ให้ความสนใจมาร่วมงานเป็นจ�ำนวนมาก แขง่ ขนั นกเขาชวาอาเซยี น เพอ่ื สง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี ว นอกจากนี้ยังมีการออกร้านจ�ำหน่ายสินค้าพื้นเมือง ในพ้ืนที่ ภายในงานมีการออกร้านอาหารท้องถิ่น ของ ๕ จังหวัดชายแดนใต้ รวมถึงการแสดงศิลป ของ ๓ จังหวัดชายแดนใต้ จัดกิจกรรมด้านอาหาร วัฒนธรรมท้องถนิ่ ปลอดภัยให้เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมและการแสดง ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิน งานห่มผ้าพระพุทธไสยาสน์ จัดขึ้นในช่วงเดือน เมษายน ช่วงวันสงกานต์ ท่ีวัดคูหาภมิ ุข เพอื่ เปน็ การ งานเทศกาลไก่เบตง จัดข้ึนในเดือนเมษายน โดย อนุรักษ์ประเพณีไทยและส่งเสริมการท่องเที่ยว เทศบาลเมืองเบตง เพื่อส่งเสริมสินค้าไก่เบตงที่มี ภายในงานมกี ารแสดงศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ของชาว เอกลักษณ์ รวมถึงส่งเสริมด้านการท่องเท่ียวของ บา้ นในชมุ ชนวดั หนา้ ถำ�้ จดั โดยคณะกรรมการชมุ ชน ทอ่ งเท่ยี วต�ำบลหน้าถ�ำ้ 26 ยะลา

งานสมโภชเจา้ พอ่ หลกั เมอื งและงานกาชาดจงั หวดั แบบตามลกั ษณะของผใู้ ชง้ าน หวั กรชิ ทน่ี ยิ มของยะลา ยะลา จดั ขนึ้ ในชว่ งเดอื นพฤษภาคม-มถิ นุ ายนของทกุ เปน็ รปู นกพงั กะ อดตี เปน็ อาวธุ ประจ�ำตวั ของชายเชอ้ื ปี บรเิ วณวงเวยี นรอบศาลหลักเมืองและถนนสุขยาง สายมลายู ปัจจุบันน�ำมาใช้ประกอบร่ายร�ำซิลัตกริช ค์ มพี ธิ ีบวงสรวง สมโภชเจ้าพ่อหลักเมือง ขบวนแห่ สะท้อนคุณค่าความงามทางศิลปวัฒนธรรม ที่เป็น ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองจ�ำลอง ภายในงานมีการแสดง เอกลักษณข์ องชาวไทยมสุ ลิมในเขตชายแดนภาคใต้ นิทรรศการ การออกร้านกาชาดจากเหล่ากาชาด จังหวัดยะลา การออกร้านขายสินค้าของราชการ ผา้ บาตกิ หรอื ผา้ ปาเตะ๊ เปน็ ผา้ ท่มี เี อกลกั ษณท์ าง และเอกชน การแสดงมหรสพพื้นบ้าน เช่น มโนราห์ ภาคใต้ ข้ันตอนใช้เทียนวาดโครงร่าง แล้วจึงใช้สี หนงั ตะลงุ ลิเกฮูลู ระบาย เพ่อื เกิดลวดลายมเี อกลักษณส์ วยงาม น�ำมา ดดั แปลงเป็นสนิ ค้าใหม้ รี ปู แบบหลากหลาย เช่น เสอ้ื สนิ ค้าพ้นื เมือง เชิต ผ้าถุงผ้าเชด็ หน้า ผ้าพนั คอ กระเป่าผา้ กริช กริชที่มีชื่อเสียงของยะลา อยู่ท่ีต�ำบลตะโละ หะลอ อ�ำเภอรามัน เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีเน้นฝีมือและ ผา้ ปะลางงิ เปน็ ผา้ ทอลายจากบล็อกไม้ ใชเ้ ทียนเป็น ความประณีต ใบกริชจะเปน็ รปู คล่ืนคดโคง้ งอ ความ วัสดหุ ลกั ในการพมิ พ์ ต้นแบบลายโบราณสะทอ้ นมา ยาวไมเ่ กนิ ๓๐ เซน็ ตเิ มตร หวั กรชิ แบง่ ออกเปน็ ๓ รปู จากสถาปัตยกรรมของสถานท่ีต่าง ๆ เป็นงานฝีมือ ไกเ่ บตง ยะลา 27

ภมู ปิ ญั ญาจากชาวบา้ น ผลติ ภณั ฑจ์ ากผา้ ทอปะลางงิ มีรสชาติไม่เหมือนไก่ท่ัวไป คือ หนังกรอบ เนื้อนุ่ม จะตัดเย็บออกมาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ผ้าพันคอ เมนูทนี่ ิยมท�ำเปน็ ไก่ตม้ ขา้ วมันไก่ ข้าวหน้าไก่ ผ้านุ่ง ผ้าคลุมผม เคยได้รับรางวัลโอท็อป ในปีพ.ศ. ๒๕๕๔ ระดับ ๔ ดาว สอบถามขอ้ มูล กลุ่มศรยี ะลา นาซดิ าแฆ หรอื ข้าวมันแกงไก่ ตวั ขา้ วท�ำจากข้าว บาตกิ โทร. ๐๘ ๗๘๓๗ ๔๐๐๗, ๐๙ ๙๒๘๓ ๒๔๕๒ เจา้ ขา้ วเหนยี ว ข้าวสงั หยดรวมกันผสมกับกะทิ เปน็ อาหารพืน้ เมืองของชาวไทยมสุ ลิมในพน้ื ที่ ๓ จงั หวัด ไกเ่ บตง พนั ธไ์ุ กด่ ง้ั เดมิ มาจากมณฑลกวางไส ประเทศ ชายแดนใต้ พบได้ตามตลาดเช้าหรอื ร้านอาหารท้อง จีน น�ำเข้าโดยบรรพบุรษุ ของชาวเบตงเชอ้ื สายจีน ที่ ถิ่นในพนื้ ท่ี อพยพเข้ามา ถือเป็นสัญลักษณ์ของวิถีชีวิตของชาว เบตง ลกั ษณะของไกเ่ บตง คอื สเี หลอื งทอง ปกี สน้ั หาง ส้มโชกุน แหล่งปลูกท่ีมีคุณภาพดีท่ีสุดอยู่ที่อ�ำเภอ สน้ั หงอนแดงตง้ั สงู ใชเ้ วลาเลยี้ ง ๖ เดอื น เนอ้ื ไกเ่ บตง เบตง ลกั ษณะคล้ายส้มเขยี วหวาน รสชาตเิ ปรีย้ วอม หวาน มีกลิ่นหอมและเนอ้ื นมุ่ อรอ่ ย 28 ยะลา

กล้วยหนิ เปน็ กล้วยพื้นเมอื งเนอื้ แขง็ ผลคล้ายกล้วย ร้านค้าประชารัฐสุขใจ สถานีบริการน้�ำมันปตท. น้�ำว้า สามารถน�ำมาแปรรูปได้หลากหลายรูปแบบ หจก.เบตงปิโตรเลียม ต�ำบลเบตง โทร. ๐ ๗๓๒๓ เมอื่ น�ำมาตม้ หรอื ฉาบ ไดร้ สชาตทิ ม่ี นั อรอ่ ย เปน็ สนิ คา้ ๐๕๘๘ (สินคา้ โอทอ็ ป) โอท็อปท่ีขึ้นช่อื ของยะลา อินเตอร์รังนก ๘๘ ถนนสุขยางค์ โทร. ๐ ๗๓๒๓ ๑๘๔๗, ๐ ๗๓๒๓ ๒๓๕๔ (รังนกนางแอ่น, สินค้า หมเ่ี บตง เปน็ เสน้ หมเ่ี หลอื ง ท�ำจากทปี่ รงุ แลว้ มคี วาม พ้ืนเมือง) เหนียวนมุ่ ประกอบอาหารได้หลากหลายรปู แบบ ตวั อยา่ งรายการน�ำเทยี่ ว เฉากว๊ ยเบตง หรอื วนุ้ ด�ำของเบตง รสชาตอิ รอ่ ย และ เหนยี วนมุ่ นยิ มรับประทานกับน�้ำเช่อื ม หรอื อาจเติม เสน้ ทางยะลา-เบตง (๓ วนั ๒ คืน) นำ้� กล่ินสละ มสี รรพคุณ แก้รอ้ นใน วันแรก ๐๖.๐๐ น. ออกเดินทางจากทา่ อากาศยาน ดอนเมือง ถึงทา่ อากาศยาน ร้านจำ� หน่ายสนิ ค้าทีร่ ะลึก นานาชาติหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา แล้วเดินทางต่อไปยังจังหวดั ยะลา อำ� เภอเมือง เก๋ บาติก หมู่ท่ี ๗ ถนนคุปตาสาซอย ๒ ต�ำบลสะ ๑๐.๐๐ น. เดนิ ทางไปวัดคหู าภิมขุ นมสั การ เตง โทร. ๐ ๗๓๒๒ ๒๖๔๔, ๐๘ ๑๔๔๒ ๗๐๒๖ พระพุทธไสยาสน์ ชมความงดงาม (ผลติ ภัณฑ์จากผา้ บาตกิ ) ภายในถ้ำ� ๑๒.๐๐ น. ชมทศั นยี ภาพอนั สวยงามของเขอื่ น ร้านค้าประชารัฐสุขใจ สถานีบริการน�้ำมันปตท. บางลางทีอ่ �ำเภอบนั นงั สตา หจก. พี ที ดี หมู่ที่ ๔ ต�ำบลทา่ สาป โทร. ๐ ๗๓๔๘ ๑๔.๐๐ น. เดนิ ทางสู่อ�ำเภอเบตง แวะพัก ๙๐๒๒ (สินคา้ โอท็อป) ถ่ายรปู ทีจ่ ดุ ชมวิวสะพานโตะ๊ กแู ช ศรยี ะลาบาตกิ ซอยกาญจนา ๒ ถนนสโิ รรส ต�ำบล ๑๗.๐๐ น. เดนิ ทางถงึ อ�ำเภอเบตง สะเตง โทร. ๐๘ ๗๘๓๗ ๔๐๐๗, ๐๙ ๙๒๘๓ ๒๔๕๒ พกั ผอ่ น ชมบรรยากาศยามค่ำ� คืน (ผลติ ภัณฑ์จากผ้าบาตกิ ) ของเบตง วันที่สอง ออกเดนิ ทางไปชมพระอาทิตย์ข้นึ อาด�ำ บาติก ถนนผังเมือง ต�ำบลสะเตง โทร. ๐๘ ๐๕.๐๐ น. และทะเลหมอกยามเชา้ ท่ี ๑๒๕๖ ๒๘๓๐, ๐๘ ๖๔๙๐ ๗๐๑๐ (ผลติ ภัณฑจ์ าก ทะเลหมอกอยั เยอรเ์ วง ผ้าบาตกิ ) แวะน้�ำตกเฉลิมพระเกยี รติน้ำ� ตก ๑๐.๓๐ น. เฉลิมพระเกียรติ ร.๙ อำ� เภอเบตง เย่ยี มชมอโุ มงคป์ ิยะมติ ร ร้านโอท็อปบ้านบ่อน้�ำร้อน ต�ำบลตะเนาะแมเราะ ๑๓.๐๐ น. อาบน้ำ� แร่ แชน่ ำ้� ร้อน ณ บ่อนำ�้ ร้อน บรเิ วณบอ่ นำ้� ร้อนเบตง (เส้ือยืด, พวงกุญแจ, สนิ ค้า ๑๔.๓๐ น. โอทอ็ ป) เบตง ๑๘.๐๐ น. กลับเขา้ ทพี่ ักอ�ำเภอเบตง ยะลา 29

วนั ทส่ี าม หรือติดต่อวิทยากร หรือผู้น�ำทาง ตามความ ๐๙.๐๐ น. ชมพิพธิ ภัณฑ์เมอื งเบตงและ เหมาะสมของสถานท่ที ่องเที่ยวแตล่ ะแห่ง บรรยากาศเมืองเบตงบริเวณ • การท่องเที่ยวแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติ ควร หอคอย ศึกษาฤดูกาลและช่วงเวลาท่ีเหมาะสมในการ ๑๑.๐๐ น. ชมตไู้ ปรษณียท์ ี่ใหญ่ทีส่ ดุ ใน เดินทางและเพื่อจัดเตรียมอุปกรณ์ส�ำหรับการ ประเทศไทย ทอ่ งเท่ยี วไดถ้ ูกตอ้ ง ๑๒.๐๐ น. แวะสกั การะพระบรมธาตุเจดีย์ • รว่ มกนั รกั ษาทรัพยากรทางการท่องเทีย่ ว เพอ่ื ให้ พระพทุ ธธรรมประกาศ เป็นการทอ่ งเทีย่ วทีย่ ่ังยืนสบื ต่อคนร่นุ ต่อไป ณ วัดพุทธาธวิ าส • ไมป่ ระพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ ดั ตอ่ วถิ ชี วี ติ และประเพณนี ยิ ม ๑๔.๐๐ น. เดนิ ทางออกจากอ�ำเภอเบตงไปยัง ของคนในทอ้ งถ่นิ ท่าอากาศยานนานาชาติหาดใหญ่ • การแต่งกายท่ีเหมาะสมส�ำหรับการท่องเท่ียว ๑๘.๐๐ น. ออกจากท่าอากาศยานนานาชาติ แตล่ ะสถานที่ เชน่ ศาสนสถานตา่ งๆ ควรแตง่ กาย หาดใหญ่ ถึงท่าอากาศยาน สุภาพ ดอนเมือง • ในการเดินทางไม่ควรประมาท และต้องค�ำนึงถึง ความปลอดภยั ขอ้ แนะนำ� ในการทอ่ งเที่ยว • ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ ขอ้ ก�ำหนด และค�ำแนะน�ำของ • ศึกษาและสอบถามรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับ เจา้ หน้าทใี่ นสถานทท่ี ่องเทย่ี วอย่างเครง่ ครัด สถานที่ท่องเท่ยี วแต่ละประเภทกอ่ นการเดนิ ทาง วัดพุทธาธิวาส 30 ยะลา

บ่อน้ำ� ร้อนเบตง ยะลา 31

32 ยะลา

โอเคเบตง ยะลา 33









หมายเลขโทรศพั ท์สำ� คญั ส�ำนักงานจังหวดั ยะลา โทร. ๐ ๗๓๒๑ ๑๕๘๖ ส�ำนักงานเทศบาลนครยะลา โทร. ๐ ๗๓๒๒ ๓๖๖๖ โรงพยาบาลยะลา โทร. ๐ ๗๓๒๔ ๔๗๑๑-๘ สถานีต�ำรวจภธู รจงั หวดั ยะลา โทร. ๐ ๗๓๒๑ ๒๖๖๘ ทีว่ ่าการอ�ำเภอเบตง โทร. ๐ ๗๓๒๓ ๐๙๒๖ โรงพยาบาลเบตง โทร. ๐ ๗๓๒๓ ๔๐๗๗ องคก์ ารบริหารสว่ นต�ำบลอยั เยอรเ์ วง โทร. ๐ ๗๓๒๘ ๕๑๑๑ ด่านตรวจคนเข้าเมอื ง โทร. ๐ ๗๓๒๓ ๑๒๙๒ ด่านศุลกากรเบตง โทร. ๐ ๗๓๒๓ ๑๑๙๔ ต�ำรวจทางหลวง โทร. ๑๑๙๓, ๑๕๘๖ ต�ำรวจทอ่ งเทีย่ ว โทร. ๑๑๕๕ 38 ยะลา

ศูนย์บริการขา่ วสารท่องเท่ียว ททท. การทอ่ งเที่ยวแห่งประเทศไทย สำ�นกั งานใหญ่ ๑๖๐๐ ถนนเพชรบรุ ี แขวงมกั กะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทร. ๑๖๗๒ โทรสาร ๐ ๒๒๕๓ ๗๔๔๐ www.tourismthailand.org E-mail: [email protected] เปดิ บริการทกุ วนั เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา ๔ ถนนราชด�ำเนินนอก เขตปอ้ มปราบศัตรูพ่าย กรงุ เทพฯ ๑๐๑๐๐ เปิดบริการทกุ วนั ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. โทร. ๐ ๒๒๘๓ ๑๕๕๖ ท่าอากาศยานสวุ รรณภมู ิ อาคารผู้โดยสารฝ่งั ขาเขา้ ในประเทศ ช้นั ๒ ประตู ๓ โทร. ๐ ๒๑๓๔ ๐๐๔๐ เปิดบรกิ ารตลอด ๒๔ ชั่วโมง ททท.ส�ำนักงานนราธวิ าส ๑๐๒/๓ หมู่ ๒ ถนนนราธวิ าส-ตากใบ ต�ำบลกะลุวอเหนอื อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั นราธิวาส ๙๖๐๐๐ โทร. ๐ ๗๓๕๒ ๒๔๑๑ โทรสาร ๐ ๗๓๕๒ ๒๔๑๓ E-mail: [email protected] พนื้ ท่ีความรับผดิ ชอบ : นราธวิ าส ยะลา ปัตตานี ปรบั ปรงุ ข้อมลู เมษายน ๒๕๖๑ ยะลา 39

ต้ไู ปรษณยี เ์ บตง ขอ้ มลู : ททท. ส�ำ นกั งานนราธวิ าส บรกิ าร ๒๔ ชั่วโมง กองขา่ วสารท่องเทีย่ ว (โทร. ๐ ๒๒๕๐ ๕๕๐๐ ตอ่ ๒๑๔๐-๕) ออกแบบและจดั พมิ พ์ : กองขา่ วสารทอ่ งเทีย่ ว ฝ่ายบรกิ ารการตลาด อเี มล [email protected] ขอ้ มลู รายละเอยี ดที่ระบใุ นเอกสารนีอ้ าจมีการเปลี่ยนแปลงได้ www.tourismthailand.org ลิขสิทธิ์ของการท่องเท่ียวแหง่ ประเทศไทย เมษายน ๒๕๖๑ หา้ มจ4ำ�ห0นา่ ย ยะลา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook