Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้

นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้

Published by นันทวัฒน์ คําชู, 2023-06-19 06:24:45

Description:

Search

Read the Text Version

นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้ by nanthawat khamchu

บทที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ นวัตกรรมการศึกษา

ความหมายของนวัตกรรม นวัตกรรม เป็นการนําเอาวิธีการใหม่ มาปฏิบัติหลังจากที่ได้ผ่านการ ทดลองและได้รับ การพัฒนามาเป็นลําดับแล้ว และมีความแตกต่าง จากการปฏิบัติเดิมที่เคยปฏิบัติมาก่อน ดังนั้น “นวัตกรรม” หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐี ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจาก ของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนํา นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทํางานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วย ประหยัดเวลาและแรงงานได้ด้วย

นวัตกรรมการศึกษา คือ สิ่งที่เกิดจากการใช้ความรู้ในศาสตร์สาขาต่างๆอย่างบู รณาการ เพื่อ ประดิษฐ์สร้างสรรค์สิ่งใหม่ให้เกิดขึ้นเพื่อประโยชน์ทางสังคมและ เศรษฐกิจ นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง นวัตกรรม ที่ช่วยให้การศึกษาและการเรียนการ สอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่าง รวดเร็วมี ประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมเหล่านั้น และ ประหยัดเวลาใน การเรียนได้อีกด้วย ในปัจจุบันมีการใช้นวัตกรรมการศึกษา มากมายหลายอย่างซึ่งมีทั้งนวัตกรรมที่ใช้ กันแพร่หลายแล้วและประเภทที่กําลัง เผยแพร่ ใช้ใน การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย การใช้แผ่นวีดิทัศน์ เชิงโต้ตอบ สื่อ หลายมิติ และอินเทอร์เน็ต

ความสําคัญของนวัตกรรมการศึกษา 1 2 การเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีเป็นไปอย่าง การเพิ่มปริมาณของผู้เรียน รวดเร็ว การเรียนการสอน ในระดับชั้นประถมศึกษาและ จึงต้องตอบสนอง มัธยมศึกษาเป็นไปอย่าง การเรียนการสอนแบบใหม่ รวดเร็ว ทําให้นักเทคโนโลยี ๆ ที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถ การศึกษาต้องหานวัตกรรม เรียนรู้ได้เร็วและเรียนรู้ได้ ใหม่ ๆ มาใช้ เพื่อให้สามารถ มากในเวลาจำกัดนัก สอนนักเรียนได้มากขึ้น เทคโนโลยีการศึกษาจ่งต้อง ค้นหานวัตกรรมมาประยุกต์ ใช้เพื่อวัตถุประสงค์นี้ 3 การเรียนรู้ของผู้เรียนมีแนวโน้มใน การเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ตาม แนวปรัชญาสมัย ใหม่ที่ยึดผู้เรียนี้เป็นศูนย์กลาง นวัตกรรมการศึกษาสามารถช่วยตอบ สนองการเรียนรู้ตามอัตภาพ ตาม ความสามารถของแต่ละคน เช่นการ ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 4 CAI (Computer Assisted instruction) การเรียนแบบศูนย์การ เรียน ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีโทรคมนาคม ที่ส่วนผลักดันให้มีการใช้นวัตกรรมการศึกษาเพิ่มมากขึ้น เช่น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทำให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง แต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นมาก เทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเตอร์เน็ต ทำให้เกิดการสื่อสารไร้พรมแดน นักเทคโนโลยีการศึกษาจึงคิดค้นหาวิธีการใหม่ ๆ ในการประยุกต์ใช้ระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นฐานในการเรียนรู้ ที่เรียกว่า “Web-based Learning” ทำให้สามารถเรียนรู้ในทุกที่ทุกเวลาสำหรับทุกคน (Sny where, Any time for Everyone)ถ้าหากผู้เรียนสามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้ การใช้คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันี้เป็นไปอย่างกว้าง ขวาง ในวงการศึกษาคอมพิวเตอร์มิใช่เพียงแต่สิ่งอำนวยความสะดวกในสำนักงานเท่านั้น แต่ยังใช้เป็นสื่อหรือเปืนเครื่องมือ สร้างสื่อได้อย่างสวยงามเหมือนจริง และรวดเร็วมากกว่ากิ่อน นักเทคโนโลยีการศึกษาจึงศึกษาวิจัยบทนวัตกรรมทางด้านการ ผลิตและการใช้สื่อใหม่ ๆ ตามศักยภาพของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เช่น คอมพิวเตอร์กราฟิกระบบมัลติมีเดีย วิดีโอออนดีมานด์ การประชุมทางไกล

องค์ประกอบของนวัตกรรมการศึกษา 1 นักเรียนใช้ความสามารถ ความสนใจ ที่แต่ละคนมีแตกต่างกันไปให้ เป็นประโยชน์ต่อการเรียนมาก ที่สุด และไม่จํากัดเพียงในเรื่องของ นักเรียนเท่านั้น แต่ยังไม่ขยายครอบคลุมไปถึงความแตกต่าง ระหว่างครูอาจารย์ด้วย 2 พิจารณาปรับปรุงลําดับของเนื้อหาใหม่หรือนํานวัตกรรมการ ศึกษาที่เหมาะสมกับ การสร้างความพร้อมให้กับเด็กก็จะทําให้การ เรียนรู้ได้ผลดีขึ้น นวัตกรรมการศึกษาที่สนอง แนวความคิดพื้น ฐานด้านนี้ 3 จัดเป็นหน่วยเวลาสอนให้สัมพันธ์กับลักษณะของแต่ละวิชาซึ่งจะใช้ เวลาไม่เท่ากันบางวิชาอาจ ใช้ช่วงสั้นๆ แต่สอนบ่อยครั้ง การเรียนก็ ไม่จํากัดอยู่แต่เฉพาะในโรงเรียนเท่านั้นนวัตกรรมที่สนอง แนว ความคิดอันนี้ 4 ความต้องการในด้านการศึกษาเพิ่มมากขึ้น และความจําเป็นในการ ศึกษาเพียงเฉพาะเรื่องมีสูงขึ้นตาม สภาพแวดล้อมและการดํารง ชีพ

องค์ประกอบที่เป็น มิติสําคัญของนวัตกรรม 01 ความใหม่ เป็นสิ่งใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้นซึ่งอาจเป็นตัวผลิตภัณฑ์ บริการ หรือกระบวนการ โดยจะเป็นการปรับปรุง จากของเดิมหรือพัฒนาขึ้นใหม่เลยก็ได้ 02 ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ นวัตกรรม จะต้องสามารถทําให้เกิดมูลค่าเพิ่มขึ้นได้ จากการพัฒนาสิ่งใหม่นั้น ๆ ซึ่ง ผลประโยชน์ที่จะเกิด ขึ้นอาจจะวัดได้เป็นตัวเงินโดยตรง หรือไม่เป็นตัวเงิน โดยตรงก็ได 03 การใช้ความรู้และความคิด สร้างสรรค์ สิ่งที่จะเป็นนวัตกรรมได้นั้นต้องเกิดจากการใช้ ความรู้และความคิดสร้างสรรค์เป็นฐานของการ พัฒนาให้เกิดซ้ําใหม่ไม่ใช่เกิดจากการลอกเลียน แบบ การทําซ้ํา

ของนวัตกปปรรรระะเเมภภกททารศึกษา นวัตกรรมประเภท นวัตกรรมประเภท ผลิตภัณฑ์หรือสิ่ง รูปแบบ/เทคนิค/ ประดิษฐ์ วิธีการสอน นวัตกรรมประเภทนี้ มีลักษณะเป็นสื่อที่ นวัตกรรมประเภทนี้เป็นการใช้วิธี ช่วย สอน หรือเทคนิคการสอนในรูปแบบ ในการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมี ต่างๆ ที่นักการศึกษาได้คิดค้นเพื่อ ความเข้าใจกระจ่างชัดเจนในเรื่องที่เรียน พัฒนาการด้านการเรียนรู้ให้แก่ผู้ หรือทำให้ผู้เรียนได้ เรียนทั้งในด้านความรู้ทักษะ กระบวนการ และเจตคติ ซึ่งมีวิธีการ พัฒนาการเรียนรู้ในทักษะด้านต่าง ๆได้ สอนและเทคนิคการสอนจํานวน 13 เร็วยิ่งขึ้น นวัตกรรมประเภทนี้ ได้แก่ ชุด มาก ได้แก่ วิธีการสอนคิด วิธีสอน การเรียน/ชุดการ สอน/ชุดการเรียนการสอน แบบฝึก โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ทักษะ/ชุดการฝึก/ชุดฝึกทักษะการเรียนรู้ CIPPA MODEL วัฏจักรการ เรียนรู 4 MAT วิธีสอนตามแนว บทเรียนสำเร็จรูปแบบ สื่อผสม/บทเรียนโปรแกรม เกม การ์ตูน พุทธวิธี วิธีสอนแบบบูรณาการ วิธี นิทาน เอกสารประกอบการเรียนรู้/ สอนโครงงาน วิธีสอนโดยการตั้ง คํา เอกสาร ถาม Constructivism ประกอบการเรียนการสอน/เอกสาร ประกอบการสอน ฯลฯ

ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา 01 นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้น พัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการ เรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรูปแบบแเก้ ปัญหา การพัฒนาวิธีสอนจําเป็นต้องอาศัยวิธีการและ เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุน การเรียนการสอน เช่น การสอนแบบร่วมมือ การสอน แบบอภิปราย วิธีสอนแบบบทบาทสมมุติ การ สอนด้วยรูปแบบการเรียนเป็นคู่ เป็นต้น 02 นวัตกรรมด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมในท้องถิ่น และตอบ สนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้น เนื่องจากหลักสูตร จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เพื่อ ใให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศและของโลก นวัตกรรมทางด้านหลักสูตรได้แก่การพัฒนาหลักสูตรบูรณา การ หลักสูตรรายบุคคล หลักสูตร กิจกรรมและประสบการณ์และหลักสูตรท้องถิ่น 03 นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล เป็นนวัตกรรมที่ใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการวัดผลและ ประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและทําได้ อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษาการวิจัย สถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการวัดผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ เช่น การสร้างแบบวัด ต่าง ๆ การสร้างเครื่องมือ การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น แนวทางในการสร้างแบบ วัดผลและประเมินผล เช่น การสร้างแบบวัดแววครูการพัฒนาคลัง ข้อสอบ การสร้างแบบวัดความมี วินัยในตนเอง 04 นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ เป็นการใช้นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมา ช่วยในการบริหารจัดการ เพื่อการตัดสินใจของ ผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก นวัตกรรมการ ศึกษาที่นํามาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบ 14 การจัดการฐานข้อมูลในหน่วยงานสถาน ศึกษา เช่น การบริหารเชิงระบบ การบริหารเชิงกลยุทธ์ การ บริหารเชิงบูรณาการ

ประเภท ของเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา 01 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจดจําข้อมูล ต่าง ๆ และปฏิบัติ ตามคําสั่งที่บอกเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทํางานอย่างใดอย่างหนึ่งให้คอมพิวเตอร์ นั้น ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆต่อเชื่อมกันเรียกว่า ฮาร์ดแวร์(Hardware) และ อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์นี้ จะต้องทํางานร่วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกกัน ว่า ซอฟต์แวร์ (Software) กระบวนการ การจัดการระบบสารสนเทศ เพื่อให้ได้ สารสนเทศตามต้องการอย่างรวดเร็วถูกต้องแม่นยํา และมี คุณภาพ 02 เทคโนโลยีทางด้านการสื่อสารคมนาคม เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมใช้ในการติดต่อสื่อสารรับ/ส่ง ข้อมูลจากที่ไกล ๆ เป็นการส่งของข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือ เครื่องมือที่อยู่ห่างไกลกัน ซึ่งจะช่วยให้การเผยแพร่ข้อมูลหรือ สารสนเทศไปยังผู้ใช้ในแหล่งต่าง ๆ เป็นไปอย่าง สะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน และทันการณ์ 03 เทคโนโลยีระบบสื่อสาร ระบบการสื่อสารและเครือข่ายที่เป็นส่วนเชื่อมในการแลกเปลี่ยน ข้อมูลอิเล็คทรอนิคส์ในรูปแบบข้อมูลดิจิตอลเช่นเครือข่าย โทรศัพท์ดิจิตอลระบบสื่อสารเคเบิลใยแก้ว(fiberoptic system) รวมถึงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบWAN(wideareanetwork) เช่น เครือข่าย Internet

ประโยชน์ของเทคโนโลยี สารสนเทศ 01 ช่วยให้ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน 06 สามารถจัดระบบอัตโนมัติเพื่อ อย่างสะดวกรวดเร็วโดยใช้ เก็บเรียกใช้และประมวลผลข้อมูล โทรศัพท์ เครือข่าย คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต 02 ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจํา 07 อํานวยความสะดวกในการเขา ถึงข้อมูลดีกว่าสมัยก่อน ทําให้ผู้ นวนมหาศาล ซึ่งผลิตออกมาใน ใช้มี ทางเลือกที่ดีกว่า มี แต่ละวัน ประสิทธิภาพกว่า และสามารถ แข่งขันกับผู้อื่ นได้ดีกว่า 03 ช่วยให้เก็บข้อมูลไว้ในรูปที่ 08 ช่วยให้มีการตัดสินใจที่ดีขึ้น จาก สามารถเรียกใช้ได้ครั้งแล้วครั้ง การมีสารสนเทศประกอบการ เล่าอย่างสะดวก ตัดสินใจและพิจารณา ทางเลือก ภายใต้เงื่ อนไขต่างๆ 04 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้อมูล 09 ลดค่าใช้จ่ายซึ่งเป็นผลมาจาก เช่น ช่วยนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร ในการคํานวณ ตัวเลขที่ยุ่งยาก การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ทําให้ ซับซ้อนซึ่งไม่สามารถทําให้สําเร็จ ได้ด้วยมือ ประหยัดเวลาการ ทํางานหรือลด ค่าใช้จ่ายในการทํางานลง 05 สามารถจัดระบบอัตโนมัติเพื่อ 10 พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนโดย เก็บเรียกใช้และประมวลผลข้อมูล มีการค้นคว้าผ่านระบบเครือข่าย เพิ่ม โอกาส ให้นักศึกษาสามารถสืบค้นข้อมูล ได้จากสถานที่อื่ นนอกมหาวิทยาลัย เป็นการฝึกให้รู้จักเรียนรู้ด้วยตน เอง มากขึ้น

บทที่2 แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการ พัฒนานวัตกรรมทางการ ศึกษา

แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการ พัฒนานวัตกรรมทางการ ศึกษา หลักจิตวิทยาการเรียนรู้หรือทฤษฎีการเรียนรู้นั้นเป็น สิ่งที่เป็นพื้ นฐานที่สําคัญที่ควรมีความ เข้าใจที่ ลึกซึ้งและตระหนักเกี่ยวกับหลักการทฤษฎีที่เป็นพื้ นฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สําหรับครูผู้สอนจําเป็นที่ ต้องมีความรู้ ความเข้าใจในพื้ นฐานแนวคิดนี้ ทางฟิสิกส์ และเคมี และทางด้านการแพทย์ที่ ประยุกต์ พื้ นฐานหลักการเกี่ยวกับการเรียนรู้ ดังเช่น ต้องการออกแบบซอร์ฟแวร์ทางการศึกษาสิ่งที่ ต้อง ตระหนักเกี่ยวกับการเรียนรู้ตลอดจนการประเมินผล และสะท้อนผลของซอร์ฟแวร์นั้นว่า เหมาะสม และส่งผลต่อการเรียนรู้เพียงใด อย่างไรก็ตามไม่ปรากฏข้อตกลงที่เป็นสากลเกี่ยวกับวิธีการ เรียนรู้ที่ นักจิตวิทยามีมุมมองเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงตลอด 20 ศตวรรษ ปัจจุบัน นักการ ศึกษาได้เสนอโครงการซึ่งเป็นหลักการเฉพาะที่แข็งแกร่ง ในขณะที่อีกด้านหนึ่งเป็นวิธีการที่ ผสม ผสาน ซึ่งประกอบจากทฤษฎีต่างๆ ในช่วงกลาง ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่ได้รับ ความ นิยมคือ ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) ในช่วง ค.ศ. 1970 เป็นต้นมา ได้มีการเปลี่ยน กระบวนทัศนจาก พฤติกรรมนิยมสู่พุ ทธิปัญญานิยม (Cognitivism) ซึ่งมุ่งเน้นการอธิบาย อย่างสมบูรณ์ ลึกซึ้งเกี่ยวกับการเรียนรู้ของ มนุษย์ที่รวมถึงสิ่งที่สร้างจากกระบวนการที่ ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ ได้แก่ ความจํา แรงจูงใจ อย่างไรก็ตามนักการศึกษาไม่ ทั้งหมดที่ละทิ้งหลักการของพฤติกรรมนิยม และหันมานิยมหลักการดังกล่าวต่อไป และผู้ ที่ตระหนักในคุณค่าของพุ ธิปัญญานิยมยัง คงพยายามที่จะ หาแนวคิก หลักการใหม่ๆ มาทดแทน

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theories) เรสปอนเดนส์ (RESPONDENT BEHAVIOR) พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้า เมื่ อมี สิง เร้าพฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิด ขึ้น ซึ่งสามารถวัดและสิ่งเกิดได้ และ ทฤษฎีที่นํามาใช้ในการอธิบาย กระบวนการเรียนรู้ประเภทนี้เรียกว่า ทฤษฎีการวางเงื่ อนไขแบบคลาสสิค กลุ่มพฤติกรรมนิยม ซึ่งจะ . พฤติกรรมโอเปอร์แรนต์ เรียกนักจิตวิทยาใน กลุ่มนี้ (OPERANT BEHAVIOR) ว่า Behaviorist Environmentalist เป็นพฤติกรรมที่บุคคล หรือสัตว์ Associationist และได้ แสดง พฤติกรรมตอบสนองออก ศึ ก ษ า เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ มา โดยปราศจากสิ่งเร้าแน่นอน ระหว่างสิ่งเร้า กับการตอบ และพฤติกรรมนี้มีผลมีผลต่อสิ่ง สนอง หรือพฤติกรรมที่ แวดล้อม ทฤษฎีการเรียนรู้ที่ใช้ แสดงออกมา ซึ่งจะให้ความ อธิบาย Operant Behavior สนใจกับพฤติกรรมที่ เรียกว่า ทฤษฎีการวางเงื่ อนไข สามารถวัดและสังเกตจาก แบบลงมือ ต่อไปนี้ จะเป็นราย ภายนอกได้ และเน้นความ ละเอียดของทฤษฎีการเรียนรู้ สําคัญของสิ่งแวดล้อมเพราะ แบบการวางเงื่ อนไขแบบ เชื่ อเชื่ อว่า สิ่งแวดล้อมจะ คลาสสิค และทฤษฎีการ วาง เป็นตัวกําหนดพฤติกรรม เงื่ อนไขแบบลงมือกระทํา

ทฤษฏีการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขแบบคอนสตรัตติวิสต์ การตอบสนองที่ต้องวางเงื่ อนไขเปนผลการเรียนรุ้แบบวางเงื่ อนไข คลาสสิก การ วางเงื่ อนไขเป็นการสร้างสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าที่ต้องวาง เงื่ อนไข กับการตอบสนองที่ต้องการให้ เกิดขึ้น

หลักสร้างสรรค์องค์ความรู้ด้วยปัญญา (CONSTRUCTIVISM) การเชื่อมโยงความรู้เดิมกับข้อมูลข่าวสารใหม่ จนนำมาสู่การ สร้างความรู้ใหม่หรือเกิดการเรียนรู้นั่นเอง ส่วน Vygotsky มีแนวคิดว่า ปัจจัย ทางสังคมเป็นศูนย์กลาง ในการพัฒนาของเด็ก โดยที่ผู้เรียนรู้สามารถสร้างความรู้โดยการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ อื่น เช่น พ่อแม่ครู และเพื่อน เป็นต้น ดังนั้นกระบวนการเรียนรู้จึงเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายใน ของผู้เรียน โดยผู้ เรียนรู้เป็นผู้สร้างความรู้จากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบเห็นกับความรู้เดิมที่มีอยู่ เพื่อสร้างเป็น โครงสร้างทางปัญญา (cognitive structure)

ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม กระบวนการความสนใจ (Attentional process) คือ กระบวนการที่บุคคลรู้สึก สนใจในตัวแบบและสถานการณ์ที่ เกิดขึ้น ทั้งนี้ เนื่องจากผู้เรียนเห็นว่าตัวแบบและสถานการณ์ ดังกล่าวเป็นเรื่องสําคัญตลอดจนเห็นว่าตัวแบบนั้นมีความ เหมือนกับผู้เรียน กระบวนการความจํา (Retention process) คือ กระบวนการในการจดจํา พฤติกรรม ของตัวแบบได้ดีซึ่งจะทําให้สามารถเลียนแบบ และถ่ายทอดแบบมาได้ง่าย กระบวนการการแสดงออก (Motor and reproduction process) คือ กระบวนการทําตามพฤติกรรมของตัวแบบ ซึ่งหมายความว่า ภายหลัง จากที่ผู้เรียนได้สังเกตพฤติกรรม ของตัวแบบแล้วจะแสดงพฤติกรรม ตามอย่างตัวแบบ กระบวนการเสริมแรง (Reinforcement process) หมาย ถึง หากมีการเสริมแรง เช่น การให้รางวัลต่อพฤติกรรมหนึ่ง ๆ จะทําให้บุคคลให้ความสนใจในพฤติกรรมแบบนั้นเพิ่มขึ้น เรียนรู้ดีขึ้น

. แน วคิดธอร์น ไดค์ . กฎแห่งการใช การเรียนรู้จะเกิดจากการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบ สนอง ถ้าได้มีการนําไปใช้บ่อย ๆ การเรียนรู้นั้นจะมีความคงทน ถาวร หาก ไม่มีการนําไปใช้บ่อยๆอาจจะเกิดการลืมได้ กฎแห่งการฝึกหัด การฝึกหัดหรือการกระทําบ่อย ๆ จะทําให้ เกิดการเรียนรู้ที่คงทน ถาวร แต่ในทางตรงข้ามถ้าไม่ได้กระทําซ้ําๆบ่อย ๆ การเรียนรู้นั้นอาจ ไม่คงทน ถาวรและในที่สุดอาจลืมไป กฎแห่งความพร้อม การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีถ้าผู้เรียนมี ความพร้อมทั้ง ร่างกายและจิตใจ กฎแห่งผล สิ่งเร้าใดที่มีการกระตุ้นให้มีการตอบสนองแล้ว ทําให้ผู้ เขียนได้รับผลที่น่าพึงพอใจจากการกระทํานั้น

แนวคิดของสกินเนอร์(Skinner) 1 ครูจะต้องทราบว่าพฤติกรรมของนักเรียนที่แสดง ว่านักเรียน เรียนรู้แล้วมี อะไรบ้าง และให้แรงเสริมพฤติกรรมนั้น ๆ ในช่วงแรก ครูควรจะให้แรงเสริมทุกครั้งที่นักเรียนแสดง 2 พฤติกรรมที่พึงปรารถนา แต่ช่วงหลังใช้แรงเสริมเป็นครั้งคราว (Intermittent) ได้ 3 ถ้าจําเป็นสําหรับนักเรียนบางคนในการเปลี่ยนพฤติกรรม ครูอาจจะใช้ แรงเสริม ที่ เป็นขนม หรือรางวัลสิ่งของ หรือสิ่งที่นําไปแลกเป็นรางวัล ได้ (Token) ครูจะต้องระวังไม่ให้แรงเสริม เมื่อนักเรียนแสดง 4 พฤติกรรมไม่พึงปรารถนา 5 สําหรับพฤติกรรมที่ซับซ้อน หรือการเรียนรู้ที่ซับซ้อน ครูควรจะใช้ หลักการปรับ พฤติกรรม (Shaping) คือให้แรงเสริมกับพฤติกรรมที่ นักเรียนทําได้ใกล้เคียงกับเป้าหมายที่กําหนดไว้ตามลําดับขั้น (Successive Approximstion) ค่อยๆ ลดสัญญาณ การบอก การแนะ หรือการชี้แนะ 6 ลงเมื่อเริ่มเห็นว่าไม่จําเป็น 7 ค่อยๆ ลดแรงเสริมแบบให้ทุกครั้งลง เมื่อเห็นว่าผู้เรียนกระทําได้ แล้ว และผู้เรียน เริ่มแสดงว่ามีความพึงพอใจซึ่งเป็นแรงเสริมด้วย ตนเองจากการทํางานนั้นได้

กลุ่มพุทธิปัญญานิยม (COGNITIVSM) 01 ความใส่ใจ (Attending) 06 การคาดการณ์ล่วงหน้าหรือการมี แผนการรองรับ (Anticipating) 02 การรับรู้ (Perception) 07 การตัดสินใจ (Decision) 03 การจําได้ (Remembering) 08 การแก้ปัญหา (Problem Solving) 04 09การคิดอย่างมีเหตุผล (Reasoning) การจัดกลุ่มสิ่งต่างๆ (Classifying) 05 จินตนาการหรือการวาด 10 การแปลความหมาย (Interpreting) ภาพในใจ (Imagining)

ทหี่คลัวกรจิมตีควิวทายมากเขาราเใรีจยทีน่ลรึูกซหึ้งรืแอลทะฤตษรฎะีหกนาัรกเเรกีีย่ยนวรกูับนัห้นลเัปกกนารสทิ่งฤทีษ่เฎปีที่นเปพื้นนฐพืา้นนฐที่าสํนาคโัดญย เฉพาะอยรูางเปยิ่งนสกํารหะรบับวคนรกูผาูรสสรอนางจํมาเาปกกนวที่ตากอารงรมับีคคววาามมรูรูดเัรงียนัน้นการเรียน ดังนั้น เปาหมาย ของการสนับสนุนการสรางมากกวาความพยายามในกา รถายทอดความรู ดังนั้น คอนสตรัคติวิสต (Constructivism) จะมุงเนนกา รสรางความรูใหมอยางเหมาะสมของแตละบุคคล และสิ่งแวดลอมมี ความ สําคัญ ในการสรางความหมายตามความเปนจริงเปนวิธีการที่นํามาใชในการ จัดการเรียนการ สอนมีหลักการที่สําคัญวา ในการเรียนรูมุงเนนใหผูเรียน ลงมือกระทําในการสรางความรูซึ่งเปนเปน สวนของหลักการพื้นฐานทฤษฎี การเรียนรูทั้ง 3 กระบวนการทัศน ดังที่กลาวในเรื่องกลุมพฤติกรรม นิยม ทฤษฎีพุทธิปญญานิยม และทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต ซึ่งเปนรากฐานสําคัญของ การออกแบบ การเรียนการสอน ในการที่นําไปใชในการออกแบบเพื่อสงเริมการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ นั่น หมายถึง สงผลตอการเรียนรูของผู

บทที่3 สื่อประสมเพื่อการศึกษา

(สืM่ อปulรtะi สMมeเพdื่iอa กLาeรaศrึnกinษgา) สกืั่อนปทัร้งะสวัสมดุหอมุปายกถรึงณ์กแาลรนะํวิาธสีื่กอาหรลเาพืย่อๆใหปรเกะิเดภทมาใช้ร่วม ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงสุดในการเรียนการสอน โดยการใ้ช้สื่อแต่ ละอย่างตามลําดับขั้นตอนของเนื้อหา และในปัจจุบันมีการนําคอมพิวเตอร์มาใช้ร่วมด้วย เพื่อ การ ผลิตหรือการควบคุมการทํางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการเสนอข้อมูลทั้งตัวอักษร ภาพกราฟิก ภาพถ่าย ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เป็นต้น ความหมายของสื่อ ประสมจะแตกต่างกันไปตามสมัย ซึ่งสมัยก่อน เมื่อ กล่าวถึงสื่อประสมจะหมายถึง การนําสื่อหลาย ๆ ประเภทมาใช้ร่วมกัน

วิวัฒนาการของสื่อประสม ่ือประสมสมัยนี้จึง หมายถึง การนําอุ ปกรณตางๆ เชน เครื่องเลนซีดี-รอม เครื่องเสียง ระบบดิจิทัล เครื่องเลนแผ่ นวีดิทัศน คอมพิวเตอรชวย บทเรียนเว็บชวยสอน สภาพ แวดลอม ทางการเรียนรูออนไลน การจําลองหองเรียนเส มือนมาใชรวมกันเพื่ อเสนอเนื้ อหาขอมูลที่เปน ตัวอักษร ภาพกราฟก ภาพถาย ภาพเคลื่ อนไหวแบบวีดิทัศน และเสียง ในระบบแบบสเตริโอ โดยการ 66 ใชเทคโนโลยีคอมพิวเต อรมาชวยในการผลิต การนําเสนอเนื้ อหาและเพื่ อเปนตัวควบ คุมการทํางาน ของอุ ปกรณรวมเหลานี้เพื่ อใหทํางานตาม โปรแกรมที่เขียนไว เปนการใหผูใชหรือผูเรียนมิใช่เพียง แต่ นั่งดูหรือฟงขอมูลจากสื่ อที่เสนอเทานั้น แตผูใชสามารถควบคุมใหคอมพิวเตอรทํางานในการ ตอบ ส น อ ง ต  อ คํ า สั่ง แ ล ะ ใ ห  ข  อ มู ล ป  อ น ก ลั บ ใ น รู ป แ บ บ ต  า ง ๆ ไดอยางเต็มที่ ผูใชและสื่ อสามารถมี ปฏิสัมพันธตอบ สนองซึ่งกันและกันไดทันที เนื้ อหาในสื่ อประสมจะมีลักษณะ ไมเรียงลําดับเปนเสนตรง และไมใชสิ่งพิมพ เพราะเนื้ อ หาเหลานั้นจะเปนภาพจากแผนวีดิทัศนหรือจากซีดี-รอม เปนเสียงจาก แผนเพลงซีดีหรือเครื่องเสียงจากระบบดิจิทัล หรือเปนตัวอักษรจากแฟมคอมพิวเตอรและสามารถ เชื่ อม โยงถึงกันไดตลอดเวลาโดยที่ผูใชไมจําเปนตองอานตา มลําดับเนื้ อหา แตเปนการอานในลักษณะ ของขอความ หลายมิติ (HYPERTEXT ) และสื่ อหลายมิติ (HYPERMEDIA

รูป แบบของสื่อประสม สื่อประสม (MULTIMEDIA) เป็นสื่อ ประสมที่ใช้โดยการนําสื่อหลายประเภท มา ใช้ร่วมกันใน การเรียนการสอน เช่น นําวีดิ ทัศน์ มาสอนประกอบการบรรยายของผู้ สอน โดยมีสื่อสิ่งพิมพ์ ประกอบด้วย หรือ สื่อประสมในชุดการเรียน หรือชุดการสอน

สื่อประสมที่ไม่สามารถโต้ตอบกับผู้ ใช้ได้(Multimedia) สื่ อประสม I (Multimedia I) เป็นสื่ อประสมที่ ใชโดยการนําสื่ อหลายประเภท มาใช้ ร่วมกันในการ เรียนการสอน เช่น นําวีดิทัศน์ มาสอนประกอบการ บรรยายของผู้สอน โดยมีสื่ อสิ่งพิมพ์ 67 ประกอบ ด้วย หรือสื่ อประสมในชุดการเรียน หรือชุดการสอน การใช้สื่ อประสม I นี้ ผู้เรียนและสื่ อจะ ไม่มี ปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันและจะมีลักษณะเป็น \"สื่ อหลาย แบ \"ตามศัพท์บัญญัติของ ราชบัณฑิตยสถาน

(สืI่อntปeรraะสctมivทีi่tสyาMมาuรlถtiโmต้eตdอiaบ)กับผู้ใช้ได้ โปรแกรม คอมพิวเตอร์สามารถจัดการกับข้อมูลภาพ และเสียงให้แสดงผลบนจอในลักษณะที่โต้ตอบกับผู้ ใช้ได้ ไม่ใช่การแสดงผลรวดเดียวจบ (run through) แบบวีดิทัศน์ หรือภาพยนตร์และไม่ใช่การ สื่อสารทาง เดียว (one-way communication) คือ ผู้ชมเป็นผู้ดูฝ่ายเดียวอีกต่อไป

องค์ประกอบของสื่อประสม ภาพนิ่ง กอ นที่ภาพถาย ภาพวาด หรือภาพตาง ๆ ที่เปนภาพนิ่งจะ เสนอบนจอคอมพิว เทอรใหแ ลดูสวยงามไดนั้น ภาพเหลา นี้จะตองถูก เปลี่ยนรูปแบบกอนเพื่อใหค อมพิวเตอรสามารถใช และเสนอภาพเหลา นั้นได ภาพเคลื่อนไหวภาพเคลื่อนไหว ที่ใชในสื่อประสมจะหมายถึง ภาพกราฟกเคลื่อนไหว หรือที่เรียกกันวา ภาพ \"แอนิเมชัน \"(ANIMATION) ซึ่งนําภาพกราฟก ที่วาดหรือ ถา ยเปนภาพนิ่งไวมา สรางใหแลดูเคลื่อนไหว ดวยโปรแกรมสรา งภาพเคลื่อนไหว ภาพ เหลานี้จะเปนประโยชนในการจําลอง สถานการณจริง เชน ภาพการขับเครื่องบิน นอกจากนี้ยังอาจใชก ารเพิ่มผลพิเศษ ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศนก ารบรรจุภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศนล งในคอมพิวเตอร จําเปน ตอ งใชโ ปรแกรมและอุปกรณเ ฉพาะในการจัดทํา ปกติแลว แฟม ภาพวีดิทัศนจะมีขนาด เนื้อที่ บรรจุใหญม าก ดังนั้น จึงตองลดขนาดแฟมภาพลงดวยการใชเทคนิคการบีบอัดภาพ (COMPRESSION) ดวยการลดพารามิเตอร บางสว นของสัญญาณในขณะที่คงเนื้อหาสําคัญ ไวรูปแบบของภาพวีดิทัศน บีบอัดที่ใชกันทั่วไปไดแก QUICKTIME, AVI เสียง เสียงที่ใชในสื่อประสมจําเปน ตองบันทึกและจัดรูปแบบเฉพาะเพื่อใหคอม พิวเตอร สามารถเขาใจและใชไดรูปแบบเสียงที่นิยมใชกันมากจะมีอยู 2 รูปแบบ คือ WAVEFORM (WAV) และ MUSICAL INSTRUMENT DIGITAL INTERFACE (MIDI) แฟม เสียง WAV การเชื่อมโยงหลายมิติสว นสําคัญอยา งหนึ่งของการใชงานในรูปแบบสื่อ ประสมใน ลักษณะของสื่อหลายมิติ คือ ขอมูลตางๆ สามารถเชื่อมโยง กันไดอยา งรวดเร็วโดยใชจุดเชื่อมโยงหลาย มิติ(HYPERLINK) ขอ ความ (TEXT) เปน สว นที่เกี่ยวกับเนื้อหา ของมัลติมีเดีย ใชแ สดงรายละเอียด หรือ เนื้อหาของเรื่องที่นําเสนอ ซึ่งปจ จุบัน มีหลาย รูปแบบ

การใช้สื่อประสมในการศึกษา ดึงดูดความสนใจบทเรียนสื่อประสม การสืบค้นเชื่อมโยงฉับไว ในลักษณะสื่อหลายมิติที่ประกอบด้วย ด้วยสมรรถนะของการเชื่อม ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิ ทัศน์ และเสียง นอกเหนือไปจากเนื้อหา โยงหลายมิติทําให้ผู้เรียน ตัวอักษร จะดึงดูดความสนใจของ ผู้ สามารถ เรียนรู้ในสิ่งต่าง ๆ ได้กว้างขวางและหลากหลาย เรียนได้เป็นอย่างดีและช่วยในการ ได้อย่างรวดเร็วโดยไม่จําเป็น สื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียนด้วย เรียนไปตามลําดับเนื้อหา ให้สารสนเทศหลากหลาย ด้วย การโต้ตอบระหว่างสื่อ การใช้ซีดีและดีวีดีในการให้ และผู้เรียน บทเรียนสื่อ ข้อมูลและสารสนเทศใน ประสมจะมีจุดเชื่อมโยง ปริมาณที่มากมายและหลาก หลายมิติเพื่อให้ ผู้เรียน และสื่อมีปฏิสัมพันธ์กัน หลายรูปแบบเกี่ยวกับเนื้อหาบท ได้ในลักษณะสื่อประสม เรียนที่สอน เชิงโต้ตอบ . ทดสอบความเข้าใจ ผู้เรียนบาง คนอาจจะไม่กล้าถามข้อสงสัย สนับสนุนความคิดรวบยอด หรือตอบคําถามใน ห้องเรียน สื่อประสมสามารถแสดง การใช้สื่อประสมจะช่วยแก้ปัญหา สารสนเทศเพื่อสนับสนุนความ ในสิ่งนี้ได้โดยการใช้ในลักษณะ คิด รวบยอดของผู้เรียน โดย การศึกษารายบุคคล การเสนอสิ่งที่ให้ตรวจสอบ ย้อนหลังและแก้ไขจุดอ่อนใน การเรียน สามารถใช้สื่อประสม เพื่อการศึกษาได้ในลักษณะ ต่าง ๆ

ประโยชน์ของ สื่อประสม ง่ายต่อการใช้งาน โดยส่วนใหญ่เป็นการนําสื่อประสมมาประยุกต์ใช้ 1 งานร่วมกับโปรแกรม คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลผลิต ดังนั้นผู้พัฒนา จึงจําเป็นต้องมีการจัดทําให้มีรูปลักษณ์ที่เหมาะสม และ ง่ายต่อการใช้ งานตามกลุ่มเป้าหมาย เพื่อประโยชน์ในการเพิ่มประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงาน ตัวอย่างเช่น การใช้งานสื่อประสมในบทเรียนวิธีวิจัยทาง ธุรกิจ สัมผัสได้ถึงความรู้สึก สิ่งสำคัญของการนำสื่อประสมมาประยุกต์ใช้งานคือ เพื่อให้ผู้ใช้ 2 สามารถรับรู้ได้ถึงความรู้สึกจากการสัมผัสกับสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่บน จอภาพ อันได้แก่ รูปภาพ สัญ รูป (icon) ปุ่ม และตัวอักษร เป็นต้น ทำให้ผู้ใช้สามารถควบคุมและเข้าถึง ข้อมูลต่าง ๆ 3 สร้างเสริมประสบการณ์ การออกแบบและพัฒนา โปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านสื่อประสม แม้ว่าจะมี คุณลักษณะที่แตกต่างกันตามแต่ละวิธีการ เพิ่มขีดความสามารถในการเรียนรู้ สืบเนื่องจากระดับ 4 ขีดความสามารถของผู้ใช้แต่ละคน มีความแตกต่าง กัน ทั้งนี้อยู่กับระดับความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับ และสั่งสมมา 5 เขาใจเนื้อหามากยิ่งขึ้น ดวยคุณลักษณะขององคประกอบของสื่อประสม ทั้งขอความ หรือตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียงและวีดิทัศน สามารถที่จะสื่อความหมายและเรื่องราว ตางๆ ไดแตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นอ ยูกับวิธีการนําเสนอ คุมคาในการลงทุน การใชโปรแกรมดานสื่อประสม 6 จะชวยลดระยะเวลา ไมวาจะเปนเรื่อง ของการเดินทาง การจัดหาวิทยากร การจัดหาสถานที่ การบริหารตารางเวลา และการเผยแพร ชองทางเพื่อนําเสนอสื่อ เปนตน 7 เพิ่มประสิทธิผลในการเรียนรู การสรางสรรคชิ้นงานดานสื่อประ สมจําเปนตองถายทอด จินตนาการจากสิ่งที่ยากใหเปนสิ่งที่งายตอการ รับรูและเขาใจดวยกรรมวิธีตางๆ นอกจากจะชวย อํานวยความสะดวกใน การทํางานแลว ผูใชยังไดรับประโยชนและเพลิดเพลินในการเรียน รูอีกดวย

การใช้สื่อประสมเพื่อส่งเสริมการศึกษาในประเทศไทยนั้น ยังไม่แพร่หลายเท่าใดนัก แม้ว่า หลายหน่วยงาน ทั้งภาค รัฐบาล และภาคเอกชน ได้เริ่มสร้างหน่วยผลิตของ ตนเองขึ้นมาบ้างแล้วก็ตาม แต่เนื้อหาความรู้ที่ผลิต ก็ยัง จํากัดอยู่ในวงแคบ และงบประมาณ สําหรับสร้าง โปรแกรมสื่อประสมที่ คนไทยผลิตขึ้นเอง ก็ยังไม่เพียง พอ ที่จะสร้างงานสื่อประสม ที่มีคุณภาพสูง ที่ให้ผลต่อ การเรียนรู้อย่าง แท้จริงได้ โรงเรียนในระดับอนุบาล ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ใช้โปรแกรมที่เขียนขึ้นมา โดย บริษัทจําหน่ายเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นบริการ เสริมให้แก่ลูกค้า ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาบ้าง ใน บาง โรงเรียน ครูผู้สอนเป็นผู้ผลิตสื่อประสมขึ้นมาใช้เอง โดย การสร้างภาพเสียง และข้อความขึ้นเอง หรือนํามาจาก แผ่นดิสก์ หรือแผ่นซีดีรอม ที่บริษัทต่างประเทศบันทึก ภาพ/เสียงไว้ และวางจําหน่าย เพื่อให้นักสร้างสื่อนําไปใช่ สร้างโปรแกรมต่าง ๆ โปรแกรมสื่อประสมทางการศึกษา ที่ใช้กันในโรงเรียน สื่อประสมจะต้องมีคุณสมบัติสําคัญ ประการหนึ่ง คือ ความสามารถในการโต้ตอบ (INTERACTIVITY) อุปกรณ์ที่ตอบสนองความสามารถนี้ได้ คือคอมพิวเตอร์นั่นเอง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงสุดในการเรียนการสอน โดยการใช้สื่อ แต่ละอย่างตามลําดับขั้นตอนของเนื้อหา และใน ปัจจุบัน มีการนําคอมพิวเตอร์มาใช้ร่วมด้วย