การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางด้านศิลปะสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็น พิเศษ โดยใช้รูปแบบนวัตกรรม ART POWER Model เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มุ่งเน้น ให้ผู้เรียนที่มีความชอบในด้านศิลปะมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ ของนวัตกรรม ART POWER Model ที่ได้นำทฤษฎีโครงสร้างทางสมองของ Guilford มาช่วยพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ โดย Guilford มองว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถทางสมองที่จะคิดได้หลายทิศทาง เพราะ ความคิดสร้างสรรค์ ถือเป็นกระบวนการทางความคิดที่มีความสำคัญต่อผู้เรียน และส่งผล ของความสำเร็จของรูปแบบงานท่แี ปลกใหม่แตกต่างจากเดมิ การจัดทำรูปแบบนวัตกรรม ART POWER Model เพื่อเป็นแนวทางสำหรับ ครู ผูป้ กครองหรือผ้ทู ีส่ นใจ ในการใชเ้ ปน็ แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนร้กู ารสอนศลิ ปะ ที่เน้นความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน ประกอบการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความต้องการ จำเป็นพิเศษในด้านศิลปะ โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่านวัตกรรมเล่มนี้จะช่วยให้ครู ผู้ปกครอง หรือผู้ทีส่ นใจสามารถนำรูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนท่ีมีความต้องการ จำเป็นพิเศษในด้านศิลปะนี้ จะสามารถเป็นประโยชน์หรือเป็นแนวทางการจัดกิจกรรม การเรียนร้ไู ด้ไมม่ ากก็นอ้ ย สายยม สวนเขอ่ื น ผู้จดั ทำ
จากปัญหาการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ในหอ้ งเรยี นที่ผูน้ ำเสนอได้ พบว่าปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดความเบื่อหนา่ ยในการเรยี นวิชาศิลปะ โดยเฉพาะกับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ เพราะผู้เรียนกลุ่มนี้จะคิดว่า ตัวเองไม่สามารถทำแบบเพื่อนๆได้ หรือคิดว่าตัวเองไม่มีศักยภาพ ด้อยกว่า เพ่ือน ผู้นำเสนอจึงได้คิดรูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ เ่ี หมาะสมสำหรับ การแก้ปัญหาจากที่กล่าวมาข้างต้น โดยได้คิดสร้างรูปแบบการจัดกิจกรรม การเรียนรู้วิชาศิลปะแบบใหม่ คือ นวัตกรรม “ART POWER Model” มาเป็นแรงกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ทางด้านศิลปะของ ผู้เรียนที่มี ความต้องการจำเป็นพิเศษอีกแนวทางหนึ่ง ที่ได้นำทฤษฎีโครงสร้างทางสมอง ของ Guilford มาใช้ เพอื่ พฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ เพราะความคิดสรา้ งสรรค์ ถือเป็นกระบวนการทางความคิดที่มีความสำคัญต่อผู้เรียน และผลของ ความสำเรจ็ ของรปู แบบงานกจ็ ะแตกต่าง แปลกใหม่
1. เพือ่ พัฒนาผูเ้ รยี นที่มคี วามตอ้ งการจำเป็นพิเศษ สามารถสรา้ งสรรค์ ผลงานศลิ ปะไดแ้ ปลกใหม่มากขนึ้ 2. ผู้เรยี นทม่ี คี วามตอ้ งการจำเป็นพเิ ศษสามารถตอบสนอง ความบกพรอ่ งใน 5 ดา้ น 1) ดา้ นความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ 2) ดา้ นสติปญั ญา 3) ดา้ นพฤติกรรม 4) ด้านรา่ งกาย และ5) ดา้ นสงั คม ไดด้ ขี ้นึ 3. ผู้เรียนทม่ี คี วามตอ้ งการจำเปน็ พิเศษมคี วามเชอื่ ม่ันในศักยภาพ ของตวั เองดา้ นศลิ ปะที่เปน็ การลบจุดดอ้ ยดา้ นอนื่ ของตัวเอง
กลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี ๑ ทศั นศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และ ความคดิ สร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ ต่องานศลิ ปะอยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหวา่ งทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คณุ ค่างานทัศนศลิ ป์ที่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถิน่ ภมู ปิ ญั ญาไทย และสากล
กลิ ฟอร์ด(Guilford) นกั จติ วทิ ยาชาวอเมรกิ ัน อธิบายวา่ ลักษณะสตปิ ัญญา ของบุคคลทเ่ี ฉพาะเจาะจง มรี ายละเอยี ดถงึ 120 ด้าน และความสามารถ ของบุคคลเกิดจาก การประสานความสัมพนั ธ์ของความสามารถด้านต่าง ๆ ประกอบด้วยหมวดใหญ่ 3 มิติ ได้แก่ มิตทิ ่ี ๑ วธิ คี ิด มติ ทิ ่ี ๒ เน้อื หา และมติ ทิ ่ี 3 ผลของการคดิ และมองว่าความคดิ สรา้ งสรรค์เปน็ ความสามารถ ดา้ นสมองท่จี ะคดิ ไดอ้ ยา่ งซับซ้อน หลายแนวทางหรอื คิดไดห้ ลายคำตอบ เรียกว่า การคดิ แบบอเนกนยั (Divergent Thinking)
หมายถงึ เดก็ ที่ไม่อาจพัฒนาความสามารถได้เทา่ ทีค่ วร จากการเรียนการสอนตามปกติ ท้งั น้เี นอื่ งจากสภาพความบกพรอ่ ง หรือความแตกต่างทางรา่ งกาย สตปิ ญั ญาและอารมณ์ รวมถึง เดก็ ท่มี ีความสามารถพิเศษด้วย แบ่งเป็น ๙ ประเภท ตามประกาศ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้แก่ (๑) บุคคลทม่ี ีความบกพร่องทางการเห็น (๒) บคุ คลทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ (๓) บุคคลทม่ี ีความบกพรอ่ งทางสติปญั ญา (๔) บคุ คลท่ีมีความบกพร่องทางรา่ งกาย หรอื การเคลอ่ื นไหว หรือสขุ ภาพ (๕) บคุ คลที่มปี ัญหาทางการเรียนรู้ (๖) บุคคลที่มคี วามบกพร่องทางการพดู และภาษา (๗) บุคคลที่มีปญั หาทางพฤตกิ รรม หรืออารมณ์ (๘) บุคคลออทิสตกิ (๙) บคุ คลพิการซ้อน
(ศลิ ปะ) หมายถงึ การกระทำหรอื ขน้ั ตอนของการสร้างชนิ้ งานศิลปะ ที่มีการสรา้ งสรรค์ สนุ ทรียภาพ หรือการสร้างอารมณต์ า่ ง ๆ ซ่งึ ในนวตั กรรมนี้เน้นงานทางทศั นศิลป์ ดา้ นภาพวาด - ภาพเขียน ทฤษฎที ี่ใช้ ทฤษฎีโครงสรา้ งทางสมองของ Guilford มติ ทิ ่ี 1 เนือ้ หา หมายถงึ ข้อมูลหรอื ส่ิงเรา้ เป็นสอ่ื ในการคดิ สมองรับขอ้ มลู ไปคดิ พจิ ารณา 4 ลกั ษณะ คือ ภาพ สญั ลกั ษณ์ ภาษา และ พฤติกรรม เทคนคิ การสอน การใชค้ ำถาม การสนทนา Quick Images เรอ่ื งเล่าเรา้ พลงั ทา่ นถามเราตอบ ขน้ั ตอนการสอน ครกู ระตุน้ ให้นักเรียนเกดิ ประกายความคิดหรอื สร้างความสนใจให้นักเรียน สร้างจินตนาการวาดภาพโดยใหม้ คี วามอิสระไมบ่ ังคับหรือกำหนดหวั ข้อโดย วธิ กี ารต่าง ๆ ตามความเหมาะสม เช่น การใชค้ ำถาม การสนทนา/Quick Images เร่อื งเลา่ เรา้ พลงั
(การเข้ามามีส่วนร่วม) หมายถงึ ครูและผ้เู รยี นทมี่ คี วามตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษ ท่ีมีความสนใจทางด้านศลิ ปะ เขา้ มา มีส่วนรว่ มโดยการจัดกจิ กรรมเพือ่ ให้เกดิ ความเข้าใจร้จู กั คิดเปน็ และสามารถคิด แก้ปญั หาไดส้ ำเร็จและส่งเสรมิ ให้ได้แสดงความสามารถอย่างเตม็ ศกั ยภาพ ทฤษฎที ีใ่ ช้ ทฤษฎีโครงสรา้ งทางสมองของ Guilford ในมิติท่ี 1 เนอื้ หา หมายถงึ ข้อมูล หรอื สิ่งเรา้ เปน็ สอื่ ในการคิด สมองรับขอ้ มูลปคดิ พิจารณา 4 ลกั ษณะ คอื ภาพ ภาษา สญั ลักษณ์ และ พฤตกิ รรม เทคนิคการสอน กระบวนการเรียนรแู้ บบมีสว่ นรว่ ม ขน้ั ตอนการสอน ให้นักเรียนทำแบบทดสอบความคิดสรา้ งสรรค์โดยอาศยั รูปแบบ ก ประกอบดว้ ยแบบทดสอบย่อย 3 ชุด ของ Torrance โดยปรับบริบทการใช้ แบบทดสอบตามศักยภาพของผ้เู รยี น
(สงั เกต) หมายถึง การสงั เกตและวเิ คราะห์การทำแบบทดสอบความคดิ สรา้ งสรรค์ จากการมีส่วน รว่ มและการลงมอื ปฏบิ ัตจิ ริง ทงั้ ทางตรงและทางอ้อม โดยครูผสู้ อนตอ้ งสนใจให้ความ เอาใจใสแ่ ละสงั เกตเดก็ ของตนอย่างละเอยี ดถถี่ ้วน และมคี วามรูส้ กึ ไวต่อปัญหาและ สภาพแวดล้อม ทงั้ นี้เพอื่ จะไดท้ ราบ เขา้ ใจ จดุ เด่นและจดุ อ่อนและของผเู้ รยี นได้ดีทสี่ ดุ ทั้ง 5 ด้าน ทฤษฎีท่ีใช้ ทฤษฎีโครงสร้างทางสมองของ Guilford มิตทิ ่ี 1 เนื้อหา หมายถงึ ขอ้ มลู หรอื ส่งิ เร้าเปน็ สอื่ ในการคิด สมองรับขอ้ มลู ปคิดพจิ ารณา 4 ลักษณะ คอื ภาพ สัญลักษณ์ ภาษา และพฤตกิ รรม เทคนคิ การสอน กระบวนการเรยี นรแู้ บบมสี ่วนร่วม บันทึกแบบสงั เกต การสอบถาม การสมั ภาษณ์ ขัน้ ตอนการสอน ครูผูส้ อนสงั เกตและวเิ คราะห์ความบกพร่องของเดก็ ทมี่ ีความตอ้ งการจำเปน็ พิเศษทง้ั 5 ด้าน ดงั น้ี 1. ด้านความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ 2. ดา้ นสติปัญญา เป็นความสามารถในการเรยี นรู้ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งส่ิงตา่ งๆกับ ตนเอง การรคู้ ิด รเู้ หตุผลและความสามารถ ในการแก้ปญั หา พฒั นาการดา้ นภาษา และการใชม้ อื กบั ตาเก่ียวข้องกับพัฒนาการดา้ นสติปัญญา 3. ดา้ นพฤติกรรม การกระทำ 4. ด้านร่างกาย เป็นความสามารถของรา่ งกายในการทรงตวั และการเคลอื่ นไหว โดย การใชก้ ลา้ มเน้ือมัดใหญก่ ารใช้มือและตาประสานกันในการทำกิจกรรมต่างๆ 5. ด้านสังคม การปรบั ตวั ตามสภาพแวดล้อมของสังคม
(ความตัง้ ใจ/ความเต็มใจ) หมายถงึ ครตู ั้งใจสอนและเตม็ ใจถ่ายทอดความรู้ แนะนำผู้เรยี นดว้ ยความเตม็ ใจและ เสียสละและเขา้ ใจผเู้ รยี นจรงิ ๆ หาวิธีสอนท่สี นกุ สนานและยว่ั ยใุ ห้ผ้เู รยี น เช่นเดยี ว กับผู้เรียนปกติ เพยี งแคแ่ ตกตา่ งกันในรปู แบบขอบการสอน สือ่ การเรียน ที่แตกต่าง จดั ในระดับทเ่ี หมาะสม โดยนำชุดกจิ กรรมตามทฤษฎีโครงสรา้ งสมองของ Guilford มาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นเข้าถงึ เน้ือหา เกดิ ความเตม็ ใจ อยาก ที่จะเรียน ทฤษฎีทใ่ี ช้ ทฤษฎโี ครงสรา้ งทางสมองของ Guilford มติ ทิ ่ี 2 วธิ กี ารคดิ หมายถงึ การทำงานของสมอง 5 ลกั ษณะ ๑) การรู้จกั ๒) การเข้าใจ ๓) การจำ ๔) การคดิ แบบ อเนกนยั และ ๕)การคดิ แบบเอนกนัย เทคนคิ การสอน กระบวนการเรยี นรูแ้ บบมสี ว่ นรว่ ม บันทึกแบบสงั เกต การสอบถาม การสมั ภาษณ์ ขนั้ ตอนการสอน ครผู สู้ อนให้ความรู้และสรา้ งแรงบันดาลใจใหน้ กั เรยี นดว้ ยความเตม็ ใจ จากการนำชุดกิจกรรมการพฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ตามทฤษฎีโครงสรา้ งสมอง ของ Guilford มาใช้เพือ่ พฒั นาความคดิ สร้างสรรค์โดยแบง่ เป็น 3 มิติ จะเห็นวา่ องค์ประกอบส่วนหนึ่งในมิตทิ ่วี ่าด้วยการคิดแบบอเนกนัยมีความสัมพันธโ์ ดยตรงกบั ความคดิ สร้างสรรค์ และองคป์ ระกอบสว่ นหน่ึงในมติ ทิ ี่วา่ ดว้ ยผลของคดิ ที่เรยี กวา่ การแปลงรูปเป็นสว่ นทแ่ี สดงถึงความคดิ
(การประเมินผล) หมายถึง การตดิ ตามประเมินผลหลงั จากการทผ่ี เู้ รียนใช้ชดุ กิจกรรมในการจัดการเรยี น การสอน และทำแบบทดสอบความคดิ สรา้ งสรรค์หลงั เรียนพร้อมทัง้ สงั เกตพฤติกรรม โดยใชแ้ บบบนั ทึกการสงั เกต ทฤษฎที ่ใี ช้ ทฤษฎโี ครงสรา้ งทางสมองของ Guilford มิติท่ี 3 ผลของการคดิ มี 6 ลกั ษณะ คอื หน่วย จำพวก ความสัมพนั ธ์ ระบบ การแปรรูป และการประยกุ ต์ เทคนคิ การสอน กระบวนการเรียนรู้แบบมสี ว่ นรว่ ม บนั ทกึ แบบสังเกต การสอบถาม การสมั ภาษณ์ ข้นั ตอนการสอน ครผู สู้ อนสรปุ ผลการใชช้ ุดกิจกรรมและให้นกั เรียนทำแบบทดสอบความคดิ สรา้ งสรรค์โดยอาศัยรูปแบบ ก ประกอบด้วยแบบสอบย่อย 3 ชดุ ของ Torrance หลังเรยี นอีกคร้งั
(การตอบสนอง) หมายถึง การพัฒนาหลงั จากการใชน้ วตั กรรม ART POWER Model เสรจ็ สนิ้ สง่ ผลให้ เดก็ ทม่ี ีความตอ้ งการจำเปน็ พิเศษ มกี ารตอบสนองใน 5 ด้านดขี นึ้ โดยการเปรียบเทยี บ ผลงานก่อนใช้นวัตกรรมและหลังการใชน้ วตั กรรมหรือผลรางวัลที่ไดร้ ับ ทฤษฎที ใ่ี ช้ ทฤษฎีโครงสรา้ งทางสมองของ Guilford มิติที่ 3 ผลของการคิด มี 6 ลกั ษณะ คือ หนว่ ย จำพวก ความสัมพันธ์ ระบบ การแปรรูป และ การประยกุ ต์ เทคนิคการสอน กระบวนการเรียนรูแ้ บบมีสว่ นร่วม บันทกึ แบบสงั เกต การสอบถาม การสมั ภาษณ์ ขั้นตอนการสอน ครผู สู้ อนผ้สู อนกระตุ้นให้นกั เรียนหรือเด็กทม่ี คี วามต้องการจำเปน็ พเิ ศษ ไดน้ ำ ความรู้ท่ีไดร้ บั มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน หรอื บรู ณาการกับการเรยี นในวิชาอนื่ ๆ รวมทงั้ ครูผูส้ อนกระตุ้นความกลา้ ความสามารถ การปฏสิ ัมพนั ธ์ทางสงั คม โดยการพาไปหาประสบการณจ์ ากการส่งผลงานแข่งขันเข้าลงประกวดแข่งขนั งานศิลปะ
กลุม่ ประชากรเลอื กแบบเจาะจง เป็นเด็กท่มี ีความบกพรอ่ งทางสติปัญญา เดก็ ชาย A โรงเรียนอนบุ าลหนองใหญ่ เป็นเดก็ ท่ีมีความบกพร่องสติปัญญา มีใบรับรองแพทย์ เมือ่ ไดร้ ับการพฒั นาโดยการนำนวัตกรรม ART POWER Model มาใชผ้ ลปรากฏว่า ผู้เรยี นมสี มาธมิ ากขึ้น และได้รับการพฒั นาการทำให้มพี ฒั นาการ ตอบสนองใน 5 ด้านดขี น้ึ และไดเ้ ปน็ ตวั แทนการแข่งขนั ประกวดวาดภาพระบายสี เด็กท่ีมคี วามบกพร่องทางสตปิ ัญญา ระดับชาติ ปกี ารศึกษา 2562 – 2561 ส่วนปกี ารศึกษา 2560 ได้เป็นตัวแทนระดับภาค
เดก็ ชายณัฐพงศ์ ปัญญา นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนบา้ นหนอง เสือช้าง(จรุงราษฎร์พัฒนา) เปน็ ผู้เรียนที่มคี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ ช้นั ประถมศกึ ษา ปที ่ี 4 - 5 ได้รบั การพัฒนาตามข้นั ตอนการจัดรูปแบบนวัตกรรม ART POWER Model อย่างต่อเน่อื ง ส่งผลให้นกั เรยี นมพี ฒั นาการตอบสนองใน 5 ดา้ นดขี น้ึ และผ้เู รยี น มคี วามมนั่ ใจในตวั เองมากขึ้น ไดเ้ ปน็ ตวั แทนการแข่งขนั ประกวดวาดภาพระบายสีเด็กทม่ี ี ความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ ระดับภาค ปีการศึกษา 2559 – 2558
แบบทดสอบความคดิ สรา้ งสรรคโ์ ดยอาศยั รปู แบบ ก ประกอบดว้ ย แบบสอบยอ่ ย 3 ชุด ซงึ่ Torrance แบบทดสอบย่อยว่า กจิ กรรมแบบสอบย่อย จงึ ประกอบด้วยกิจกรรม 3 กจิ กรรม เนน้ การวาดภาพใหแ้ ปลกใหม่ น่าตนื่ เต้น นา่ สนใจและวาดภาพจากความคิดเด็กเองหรอื แสดงเอกลกั ษณข์ องภาพ กจิ กรรมทั้ง 3 ชดุ ใช้เวลาชดุ ละ 10 นาที เมอื่ หมดเวลากจิ กรรมหนงึ่ กต็ ้อง เรมิ่ ทำกจิ กรรมชุดถัดไปทนั ที กจิ กรรมทัง้ 3 ชุด ใชใ้ หเ้ วลา 30 นาที ดังน้ี กิจกรรมชดุ ที่ 1 การวาดภาพ โดยใหต้ ่อเตมิ ภาพจากส่ิงเรา้ ท่กี ำหนดเป็นรูปวงรี ใหต้ อ่ เติมให้แปลกใหม่ นา่ ตน่ื เตน้ และน่าสนใจท่สี ุดเทา่ ที่จะเป็นไปได้ แลว้ ให้ต้ังชือ่ ภาพทตี่ อ่ เตมิ เสรจ็ แล้ว ให้แปลกและนา่ สนใจ กิจกรรมชุดที่ 2 การตอ่ เตมิ ภาพใหส้ มบูรณ์ โดยให้ตอ่ เตมิ ภาพจากสิ่งเรา้ ทกี่ ำหนดรูปเส้นในลักษณะต่าง ๆ จำนวน 10 ภาพ เปน็ การตอ่ เติมภาพให้แปลก นา่ สนใจ และน่าตน่ื เต้นท่สี ดุ เท่าทีจ่ ะ เป็นไปได้ แลว้ ตั้งช่ือภาพท่ตี อ่ เตมิ เสรจ็ แลว้ ใหแ้ ปลกและน่าสนใจ กิจกรรมชดุ ท่ี 3 การใช้เสน้ คู่ขนาน โดยใหเ้ ด็กตอ่ เตมิ ภาพจากเสน้ คขู่ นาน จำนวน 30 คู่ เน้นการประกอบ ภาพโดยใช้เสน้ คู่ขนานเป็นส่วนสำคญั ของภาพ และตอ่ เตมิ ภาพให้แปลกแตกตา่ ง ไมซ่ ำ้ กัน แล้วตัง้ ชือ่ ภาพที่ต่อเตมิ เสร็จแล้วใหแ้ ปลกและนา่ สนใจ
กจิ กรรมชดุ ที่ 1 การวาดภาพ คำชแี้ จง ใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบลองคิดและสรา้ งสรรค์ภาพโดยใช้รูปทรงรีน้ี เป็นสว่ นหนง่ึ ของภาพ หรือ วัตถใุ ดกไ็ ด้ พยายามคดิ ภาพทไ่ี ม่เคยมีใครคิดมาก่อน จากรปู ภาพที่เปน็ ความคิดแรก ใหเ้ ตมิ ความคิดใหม่ๆ ต่อไปเรือ่ ย ๆ เพ่อื ให้เปน็ ภาพที่น่าสนใจและตน่ื เต้นที่สุดเท่าท่ีจะทำได้ เมื่อทำเสรจ็ ให้ต้ังช่ือภาพในช่องว่าง ที่กำหนดใหข้ ้างลา่ งรปู ภาพ (10 นาที) ชื่อภาพ .................................................................. ชอื่ ..........................................................................................ชน้ั .............เลขท.ี่ ............
กิจกรรมชดุ ท่ี 2 การเตมิ ภาพใหส้ มบรู ณ์ คำชี้แจง รูปภาพในกรอบที่ 1 – 10 เป็นรูปที่ไม่สมบูรณ์ ให้นักเรียนต่อเติมเส้นที่ไม่สมบูรณ์ ให้กลายเป็น วัตถุหรือภาพที่น่าสนใจ พยายามคิดถึงภาพหรือวัตถุที่ไม่เคยมีใครคิดมาก่อน จากความคิดแรกให้เพ่ิมหรือ ตอ่ เตมิ ไปเรอ่ื ย ๆ เพ่ือใหภ้ าพที่สมบรู ณแ์ ละน่าสนใจ เมือ่ ทำเสรจ็ ใหต้ ั้งชื่อภาพแตล่ ะรูป (10 นาที) ชอื่ ..........................................................................................ช้นั .............เลขท.ี่ ............
กจิ กรรมชุดที่ 3 เสน้ ตรง คำชี้แจง ให้นักเรียนทำแบบวัดความคิดสร้างสรรค์วาดภาพ หรือสิ่งของต่าง ๆ ที่แปลกใหม่ๆ น่าสนใจ จากเสน้ ตรงค่ขู นาน โดยใหเ้ ส้นตรงคูข่ นานเป็นสว่ นสำคญั ของภาพ แลว้ คิดชือ่ ของแตล่ ะภาพ (10 นาที) 1. ชือ่ ภาพ ............................ 2. ชอื่ ภาพ ............................ 3. ชอื่ ภาพ ............................ 4. ช่อื ภาพ ............................ 5. ชอ่ื ภาพ ............................ 6. ช่ือภาพ ............................ 7. ช่อื ภาพ ............................ 8. ชอื่ ภาพ ............................ 9. ช่อื ภาพ ............................ 10. ชื่อภาพ ............................ 11. ชื่อภาพ ............................ 12. ช่ือภาพ ............................ 13. ชอ่ื ภาพ ............................ 14. ชือ่ ภาพ ............................ 15. ช่ือภาพ ............................ 16. ชอ่ื ภาพ ............................ ชอ่ื ................................................................................ชน้ั .............เลขที่.............
17. ช่ือภาพ ............................ 18. ชอื่ ภาพ ............................ 19. ชือ่ ภาพ ............................ 20. ชื่อภาพ ............................ 21. ชือ่ ภาพ ............................ 22. ชอ่ื ภาพ ............................ 23. ชื่อภาพ ............................ 24. ชือ่ ภาพ ............................ 25. ช่อื ภาพ ............................ 26. ช่อื ภาพ ............................ 27. ชอื่ ภาพ ............................ 28. ชอ่ื ภาพ ............................ 29. ช่อื ภาพ ............................ 30. ช่อื ภาพ ............................ ชื่อ................................................................................ชนั้ .............เลขท.ี่ ............
แบบฟอรม์ สำหรบั กรอกคะแนน แบบทดสอบความคดิ สรา้ งสรรค์ แบบ ก ของทอแรนซ์ ชือ่ ......................................................................................ชนั้ .............เลขท่.ี ......... 1. ความคิดคลอ่ ง กิจกรรมชุดท่ี 2......... + กจิ กรรมชดุ ที่ 3 = …………….. 2. ความคดิ รเิ รมิ่ กจิ กรรมชุดที่ 1......... + กจิ กรรมชดุ ที่ 2 = …………….. + กจิ กรรมชดุ ที่ 3 ........=………………….. 3. ชือ่ ภาพ กิจกรรมชุดที่ 1......... + กจิ กรรมชดุ ท่ี 2 = …………….. 4. ความละเอียดลออ(วงกลมตวั เลขท่เี หมาะสม) กิจกรรมชดุ ท่ี 1 1. (0 - 5) 2. (6 - 12) 3. (13 - 19) 4. (20 - 26) 5. (27.......) กิจกรรมชดุ ที่ 2 1. (0 - 8) 2. (9 - 17) 3. (18 - 28) 4. (29 - 39) 5. (40.......) กจิ กรรมชดุ ที่ 3 1. (0 - 7) 2. (8 - 16) 3. (17 - 27) 4. (28 - 37) 5. (38.......) รวมทั้งหมด ........................คะแนน
เกณฑก์ ารให้คะแนน
ชดุ กิจกรรมตามทฤษฎโี ครงสรา้ งทางสมองของ Guilford เรอ่ื ง ทฤษฎสี ี จัดทำโดย นางสาวสายยม สวนเข่อื น ตำแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านหนองซำ้ ซาก สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาชลบรุ ี เขต 1
Search