Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Cสค32034ประวัติศาสตร์ชาติไทย

Cสค32034ประวัติศาสตร์ชาติไทย

Published by sunanta.ging, 2020-06-16 03:07:26

Description: Cสค32034ประวัติศาสตร์ชาติไทย

Search

Read the Text Version

141 รฐั นิยมฉบบั ท่ี 2 : เร่อื ง การปองกนั ภัยท่ีจะบังเกิดแกช าติ ดวยรัฐบาลพิจารณาเห็นวา ชาติไทยตองเปนที่เทิดทูนของชาวไทยอยางสูงสุด เหนอื ส่งิ ใด ๆ การปอ งกนั รกั ษาชาติยอมเปน หนา ทีข่ องประชาชนทุกคนที่รวมชาติ จักตองปองกัน อันตรายหรือความเสื่อมโทรมของชาติท่ีอาจมีมาดวยประการตาง ๆ จ่ึงประกาศเปนรัฐนิยมไว ดังตอ ไปน้ี 1) ชนชาติไทยตอ งไมป ระกอบกิจการใด ๆ โดยไมคํานึงถึงผลประโยชนและความปลอดภัย ของชาติ 2) ชนชาติไทยตองไมเปดเผยสิ่งซึ่งอาจเปนผลเสียหายแกชาติใหชนตางชาติลวงรู เลยเปน อันขาด การกระทําเชน นนั้ เปนการทรยศตอชาติ 3) ชนชาติไทยตอ งไมทาํ ตนเปนตัวแทนหรือเปน ปากเสียงของตา งชาติ โดยไมคํานึงถึง ผลประโยชนแหงชาติไทย ตองไมออกเสียงหรือแสดงตนเขาขางตางชาติในกรณีท่ีเปนปญหา ระหวางชาติ การกระทําเชนนัน้ เปนการทรยศตอ ชาติ 4) ชนชาตไิ ทยตอ งไมแ อบอาง ซื้อขายที่ดินแทนชนตา งชาติ ในทางทเ่ี ปนภัยแกชาติ การกระทาํ เชนนนั้ เปนการทรยศตอ ชาติ 5) เมื่อปรากฏวา มีผูหนึ่งผูใดทรยศตอชาติ เปนหนาที่ของชาวไทยตองเอาใจใส รบี ระงับเหตุน้ัน ประกาศมา ณ วนั ที่ 3 กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช 2482 รฐั นิยมฉบบั ที่ 3 : เร่ือง การเรยี กชื่อชาวไทย ดว ยรฐั บาลเหน็ วา การเรยี กชาวไทยบางสวนไมตองตามชื่อเช้ือชาติและความนิยม ของผถู กู เรยี กกด็ ี การเรียกช่ือแบงแยกคนไทยออกเปนหลายพวกหลายเหลา เชน ไทยเหนือ ไทยอสิ าน ไทยใต ไทยอิสลามกด็ ี ก็ไมส มควรแกส ภาพของประเทศไทย ซ่ึงเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน จะแบงแยกมิได จงึ ประกาศเปนรัฐนยิ มไว ดง่ั ตอไปน้ี ผถู ูกเรียก 1) ใหเลิกการเรียกชาวไทย โดยใชชื่อท่ีไมตองตามช่ือเช้ือชาติและความนิยมของ 2) ใหใชคาํ วา “ไทย” แกช าวไทยท้งั มวลไมแบงแยก ประกาศมา ณ วันท่ี 2 สงิ หาคม พุทธศักราช 2482

142 รฐั นยิ มฉบบั ที่ 4 : เร่อื ง การเคารพธงชาติ เพลงชาติ และเพลงสรรเสรญิ พระบารมี ดวยรัฐบาลไดพิจารณาเห็นวา ธงชาติ เพลงชาติ และเพลงสรรเสริญพระบารมี เปนส่ิงสําคัญประจําชาติ พึงไดรับความเชิดชูเคารพของชาวไทยท้ังมวล จ่ึงประกาศเปนรัฐนิยมไว ดังตอไปนี้ 1) เมื่อไดเหน็ การชกั ธงชาติขึ้น หรอื ลง จากเสาประจําสถานทร่ี าชการตามเวลาปกติ หรอื ไดยนิ เสยี งแตรเดยี่ วหรอื นกหวดี เปาคาํ นบั หรอื ใหอาณัตสิ ัญญาณการชกั ธงชาติขนึ้ หรอื ลดธงลง ใหแสดงความเคารพ โดยปฏิบตั ติ ามระเบยี บเคร่อื งแบบหรือตามประเพณนี ิยม 2) เมื่อไดเ หน็ ธงชยั เฉลมิ พล ธงเรอื รบ ธงประจํากองยุวชนทหาร หรือธงประจํากอง ลกู เสอื ซงึ่ ทางราชการเชิญผานมา หรืออยูกับท่ีประจําแถวทหารหรือหนว ยยุวชนหรือลูกเสือ ให แสดงความเคารพ โดยปฏบิ ตั ิตามระเบยี บเคร่ืองแบบหรอื ตามประเพณนี ยิ ม 3) เม่ือไดย นิ เพลงชาติ ซึง่ ทางราชการบรรเลงในราชการกด็ ี ซง่ึ บุคคลบรรเลงในงาน พธิ ีอยา งหนง่ึ อยางใดก็ดี ใหผูท่ีรวมงาน หรือที่อยูในวงงานนั้น แสดงความเคารพ โดยปฏิบัติตาม ระเบียบเครอื่ งแบบหรอื ตามประเพณนี ยิ ม 4) เมอ่ื ไดย ินเพลงสรรเสริญพระบารมี ซึง่ ทางราชการบรรเลงในราชการก็ดี ซง่ึ บคุ คล บรรเลงในโรงมหรสพ หรือในงานสโมสรใด ๆ ก็ดี ใหผูท่ีรวมงานหรือที่อยูในวงงานหรือ ในโรงมหรสพนน้ั แสดงความเคารพ โดยปฏิบัตติ ามระเบยี บเครือ่ งแบบหรือตามประเพณนี ิยม 5) เมือ่ ไดเหน็ ผใู ดไมแ สดงความเคารพดังกลาวในขอ 1 - 2 - 3 และ 4 น้ัน พงึ ชว ยกนั ตักเตือนชแ้ี จงใหเ ห็นความสําคญั แหงการเคารพธงชาติ เพลงชาติ และเพลงสรรเสรญิ พระบารมี ประกาศมา ณ วันที่ 8 กันยายน พุทธศักราช 2482 รฐั นยิ มฉบบั ที่ 5 : เร่ืองใหชาวไทยพยายามใชเครอื่ งอปุ โภคบริโภคที่มกี าํ เนิดหรอื ทําขึ้นในประเทศไทย เน่ืองดวยสถานการณของโลกอยูในสภาพสงคราม ทุกประเทศทั้งที่เปนคูสงคราม และเปนกลาง จําตองสนับสนุนการเกษตร พาณิชยและอุตสาหกรรมของชาติเปนพิเศษ คณะรฐั มนตรีไดพจิ ารณาเหน็ วาถึงเวลาจําเปน ทีจ่ ะตอ งชกั ชวนชาวไทยใหก ระทําเชนนน้ั จ่ึงไดลงมติ เปนเอกฉันทใ หประกาศเปนรัฐนยิ มไวด งั ตอ ไปน้ี 1) ชาวไทยพึงพยายามบริโภคแตอ าหารอนั ปรุงจากส่ิงซึ่งมีกําเนิดหรือทําขึน้ ในประเทศไทย 2) ชาวไทยพงึ พยายามใชเครื่องแตงกายดวยวัตถทุ ่ีมีกําเนดิ หรอื ทาํ ข้นึ ในประเทศไทย 3) ชาวไทยพึงชวยกนั สนับสนนุ งานอาชีพ การเกษตร พาณิชย อุตสาหกรรมและวิชาชีพ ของชาวไทยดว ยกนั

143 4) กจิ การสาธารณูปโภคอันใดทรี่ ฐั บาลหรือชาวไทยจดั ใหมขี ึน้ แลว ชาวไทยพงึ พยายามใช และสนับสนุน 5) ชาวไทยผปู ระกอบการเกษตร พาณิชย อตุ สาหกรรม งานอาชพี หรอื วชิ าชีพ อันไดรับ การสนับสนุนโดยรัฐนิยมฉบับนี้ ตองพยายามรักษามาตรฐานปรับปรุงคุณภาพใหดียิ่งขึ้น และ ดําเนินกิจการนน้ั ๆ ดวยความซ่อื สัตยส จุ ริตทุกประการ ประกาศมา ณ วันท่ี 1 พฤศจิกายน พุทธศกั ราช 2482 รัฐนิยมฉบบั ท่ี 6 : เรือ่ ง ทํานองและเน้อื รอ งเพลงชาติ ดวยรัฐบาลไดพิจารณาเห็นวา ทํานองและเนื้อรองเพลงชาติ ซ่ึงไดประกาศไว ณ วันท่ี 20 สิงหาคม พุทธศักราช 2477 นั้น ทํานองเพลงเปนท่ีนิยมแพรหลายตามสมควรแลว แตเนอ้ื รอ งจะตองมีใหม เพราะช่ือประกาศไดเ รียกวาประเทศไทยแลว จึงไดประกาศใหประชาชน เขาประกวดแตงมาใหม บัดน้ี คณะกรรมการไดพิจารณาคัดเลือกเนื้อรองบางบทเสนอให คณะรฐั มนตรวี ินจิ ฉัย คณะรัฐมนตรีไดประชุมปรึกษาพิจารณาแลว ลงมติพรอมกันตกลงตามบท เพลงของกองทัพบกโดยแกไขเล็กนอย จึงประกาศเปนรัฐนิยมไว ดังตอ ไปน้ี 1)ทาํ นองเพลงชาติ ใหใ ชทาํ นองเพลงของพระเจนดรุ ยิ างค ตามแบบทีม่ ีอยู ณ กรมศิลปากร 2) เน้อื รอ งเพลงชาติ ใหใ ชบทเพลงของกองทพั บก ดงั ตอ ไปน้ี ประเทศไทยรวมเลือดเน้ือชาตเิ ช้อื ไทย เปนประชารัฐไผทของไทยทกุ สวน อยูด ํารงคงไวไ ดท้งั มวล ดวยไทยลว นหมายรกั สามัคคี ไทยนรี้ ักสงบแตถึงรบไมข ลาด เอกราชจะไมใหใครขมข่ี สละเลือดทกุ หยาดเปน ชาตพิ ลี เถลิงประเทศชาติไทยทวมี ชี ัย ชโย ประกาศมา ณ วันท่ี 10 ธนั วาคม พุทธศกั ราช 2482

144 รฐั นยิ มฉบบั ที่ 7 : เรือ่ ง ชักชวนใหช าวไทยรวมกันสรางชาติ โดยทรี่ ัฐบาลพจิ ารณาเหน็ วาการทชี่ าตขิ องเราจะเจริญกาวหนาสมความปรารถนา อนั ดไี ดย อ มอยูท ่ขี า ราชการจะตอ งชวยกันทํางานตามหนาท่ีอยางเขมแข็งและใฝใจทุกวิถีทางที่จะ ชว ยสนับสนุนพีน่ องชาวไทยใหมีทางประกอบอาชพี โดยหวังใหฐานะของคนทกุ คนดขี ้นึ เปน ลาํ ดบั อนึ่ง งานสรางชาติ เปนงานท่ีใหญย่ิงตองชวยกันอยางพรอมเพรียง ถาพี่นอง ชาวไทยทุกคนพยายามแสวงหาอาชีพอันสุจริตสําหรับตนเองและครอบครัวโดยไมเลือกงาน ประกอบการงานของตนใหม ีรายไดพ อที่จะทํานบุ ํารงุ ครอบครัวของตนใหรุงเรืองยิง่ ข้ึน กย็ อมจะทํา ใหช าตขิ องเราเจริญรวดเรว็ โดยมิตองสงสัย การท่พี ่ีนอ งชาวไทยชวยกันทํางานเชนน้ี ยอมไดชื่อวา รว มกันสรางชาติ คณะรัฐมนตรีจึงลงมตเิ ปนเอกฉันท ใหป ระกาศเปน รฐั นยิ มไว ดังตอ ไปน้ี “ชาวไทยทุกคนตอ งรว มกนั สรา งชาติโดยทุกคนซึ่งมกี ําลงั กายดตี อ งทํางานประกอบ อาชีพเปนหลักแหลง ผูไมป ระกอบอาชีพเปนหลักฐานนับวาเปนผไู มช วยชาตแิ ละไมควรไดรบั ความ นบั ถือของชาวไทยท่วั ไป” ประกาศมา ณ วนั ที่ 21 มนี าคม พทุ ธศกั ราช 2482 รฐั นยิ มฉบับท่ี 8 : เรอ่ื ง เพลงสรรเสรญิ พระบารมี โดยเหตุทไี่ ดบญั ญตั ใิ หเ รยี กชอื่ ประเทศวา “ประเทศไทย” รฐั บาลจงึ เหน็ สมควรแกไ ข บทเพลงสรรเสริญพระบารมี มิใหมีคําวา สยาม และตัดทอนขอความและทํานองใหกระทัดรัด เหมาะสมย่งิ ขึ้น คณะรฐั มนตรจี งึ ลงมตเิ ปน เอกฉันทใหป ระกาศเปน รัฐนิยม แกไ ขบทเพลงสรรเสรญิ พระบารมีแบบพศิ ดาร ใหมีขอความดังตอไปน้ี ขา วรพทุ ธเจา เอามโนและศิระกราน นบพระภมู บิ าลบรมกษตั รยิ ไ ทย ขอบันดาล ธประสงคใ ด จงสทิ ธิดั่ง หวงั วรหฤทัย ดจุ ถวายไชย ชโย สวนทาํ นองเพลงแบบสังเขปน้ันใหค งไวต ามเดมิ ประกาศมา ณ วนั ที่ 26 เมษายน พุทธศกั ราช 2483 รฐั นิยมฉบบั ท่ี 9 : เรอ่ื ง ภาษาและหนงั สอื ไทยกับหนา ที่พลเมอื งดี ดวยรัฐบาลพิจารณาเหน็ วา การทีช่ าติไทยจะดํารงถาวรและเจรญิ กา วหนายง่ิ ขึ้นไปน้ัน ยอ มตอ งใชภ าษาและหนังสอื ของชาตเิ ปนสวนประกอบอันสําคญั คณะรัฐมนตรีจึงไดลงมตเิ ปน เอกฉันท ใหประกาศรฐั นยิ มไวด ังตอไปน้ี 1) ชนชาตไิ ทย จะตอ งยกยอ ง เคารพ และนบั ถอื ภาษาไทย และตองรูสกึ เปน เกยี รติยศ ในการพดู หรือใชภาษาไทย

145 2) ชนชาตไิ ทย จะตอ งถือวา หนาที่ของพลเมอื งไทยท่ดี ปี ระการทีห่ นึ่ง คอื ศกึ ษาใหร ู หนงั สอื ไทยอนั เปนภาษาของชาติ อยางนอยตองใหอา นออกเขยี นได ประการทสี่ องชนชาตไิ ทยจะตอง ถือเปนหนาที่อนั สําคญั ในการชวยเหลอื สนับสนุนแนะนาํ ชักจงู ใหพลเมืองทยี่ ังไมรูภาษาไทย หรือยัง ไมร หู นงั สือไทย ใหไ ดรภู าษาไทย หรือใหร หู นงั สอื ไทยจนอานออกเขียนได 3) ชนชาตไิ ทย จะตองไมถอื เอาสถานทีก่ ําเนิด ภูมลิ ําเนาทอ่ี ยหู รอื สําเนยี งแหงภาษา พดู ที่แปรงไปตามทองถิน่ เปนเครอื่ งแสดงความแตกแยกกัน ทกุ คนตองถือวา เมื่อเกิดมาเปนชนชาตไิ ทย กม็ ีเลอื ดไทยและพดู ภาษาไทยอยา งเดยี วกนั ไมม ีความแตกตางกนั ในการกําเนิดตางทองท่ีหรือพูด ภาษาไทยดวยสําเนียงตา ง ๆ กนั 4) ชนชาติไทย จะตองถือเปน หนาทใี่ นการปฏบิ ตั ติ นเปน พลเมืองดีแหงชาติ ชวยแนะนํา ชักชวนกันส่ังสอนผูท่ียังไมรูไมเขาใจหนาท่ีพลเมืองดีของชาติ ใหไดรูไดเขาใจในหนาท่ีพลเมืองดี แหงชาติไทย ประกาศมา ณ วันที่ 24 มถิ นุ ายน พุทธศกั ราช 2483 รัฐนยิ มฉบบั ที่ 10 : เรื่องการแตงกายของประชาชนชาวไทย ดวยรัฐบาลไดสังเกตเห็นวา การแตงกายของประชาชนชาวไทยในสาธารณสถาน หรือท่ีชมุ นุมชน ยังไมส ภุ าพเรียบรอยสมกบั วัฒนธรรมของชาติไทย คณะรัฐมนตรีจึงไดล งมตเิ ปน เอกฉนั ทใ หประกาศเปนรัฐนยิ มไวดังตอ ไปน้ี 1) ชนชาติไทยไมพ งึ ปรากฏตวั ในท่ีชมุ นุมชน หรือสาธารณสถาน ในเขตเทศบาลโดย ไมแตงกายใหเ รียบรอ ย เชน นงุ แตก างเกงชัน้ ใน หรือไมสวมเส้อื หรอื นุงผาลอยชาย เปนตน 2) การแตง กายทถ่ี ือวาเรียบรอ ยสําหรับประชาชนชาวไทย มดี ังตอไปนี้ ก. แตง เครอ่ื งแบบตามสทิ ธแิ ละโอกาสทจ่ี ะแตง ได ข. แตง ตามแบบสากลนิยมในทาํ นองท่ีสภุ าพ ค. แตงตามประเพณนี ิยมในทํานองที่สุภาพ ประกาศมา ณ วันที่ 15 มกราคม พุทธศักราช 2484 รัฐนิยมฉบับท่ี 11 : เรื่อง กจิ ประจําวันของคนไทย ดวยรัฐบาลไดพจิ ารณาเห็นวา การรจู กั ปฏิบัติกิจประจําวันเปนขอสําคัญอยางหน่ึง ซ่ึงเกี่ยวแกการผดุง สงเสริมวัฒนธรรมของชาติ อันจะเปนผลใหประชาชนพลเมืองไทยท่ัวไป มีสขุ ภาพแขง็ แรงมนั่ คง เปน กาํ ลงั ของชาติสืบไป คณะรัฐมนตรจี ึงไดลงมติเปนเอกฉันทใหประกาศ เปน รัฐนิยมไวดังตอไปน้ี

146 1) ชนชาติไทยพึงแบงเวลาในวันหนึ่งออกเปน 3 สวน คือ ปฏิบัติงานท่ีเปนอาชีพ สวนหนึ่ง ปฏิบัติกิจสวนตัวสวนหนึ่ง และพักผอนหลับนอนอีกสวนหน่ึง ใหเปนระเบียบและมี กาํ หนดเวลาอันเหมาะสมจนเกดิ เปนนิสัย 2) ชนชาตไิ ทยพงึ ปฏิบัตกิ จิ ประจาํ วันตามปกติดังตอไปนี้ ก. บรโิ ภคอาหารใหต รงตามเวลาไมเ กิน 4 มื้อ ข. นอนประมาณระหวา ง 6 ถึง 8 ช่ัวโมง ชนชาติไทยพึงตั้งใจปฏบิ ตั ิหนาทป่ี ระกอบกิจการงานของตนโดยไมทอถอย และ หลีกเลย่ี ง กับควรหยดุ เพอ่ื รับประทานอาหารและพกั กลางวนั ไมเ กิน 1 ชว่ั โมง เมอื่ พน กําหนดเวลาทาํ งาน เวลาเย็น ควรออกกาํ ลังกายโดยเลนกีฬากลางแจงวันหนึ่งอยางนอย 1 ช่ัวโมง หรือประกอบงานอ่ืน เชน ทําสวนครวั เลย้ี งสตั ว หรอื ปลกู ตนไม เปนตน และเม่ือชําระลางรางกายแลว จึงรับประทาน อาหาร 3) ชนชาตไิ ทยพงึ ใชเวลาวา งเวลากลางคืน ทาํ การงานอนั จําเปนท่คี ่งั คางอยูใหเสร็จ หรือสนทนาปราศัยกับบุคคลในครอบครัว มิตรสหาย ศึกษาหาความรูโดยการฟงขาวทางวิทยุ กระจายเสียง อา นหนังสือ หรอื ในการชมมหรสพ หรอื ศิลปกรรม แลวแตโ อกาส 4) ชนชาติไทยพึงใชเวลาในวันหยุดงาน ใหเปน ประโยชนแกรางกายและจิตใจ เชน ประกอบกิจในทางศาสนา ฟงเทศน ทําบุญ ศึกษาหาความรู ทองเท่ียว เลนกีฬา หรือพักผอน เปน ตน ประกาศมา ณ วันที่ 8 กนั ยายน พทุ ธศักราช 2484 รฐั นยิ ม ฉบับท่ี 12 : เรอื่ ง การชว ยเหลือคุมครองเดก็ คนชราหรือคนทุพพลภาพ ดวยรัฐบาลไดพิจารณาเหน็ วา ในการอยรู วมกันแหงชุมนมุ ชนนั้น ความมีใจเผ่ือแผ ชว ยเหลอื ผทู อี่ ยใู นเยาววยั คนชราหรือคนทุพพลภาพ เปน วัฒนธรรมอนั หนงึ่ ซึ่งบุคคลจักตองปฏบิ ตั ิ คณะรฐั มนตรีจึงไดล งมติเปนเอกฉันท ใหป ระกาศเปนรฐั นิยมไวดงั ตอไปน้ี 1) ในทีส่ าธารณสถานหรือในถนนหลวง ใหบ ุคคลทําการชวยเหลือคมุ ครองโดยลกั ษณะ ทีจ่ ะยังความปลอดภัยใหแ กเ ดก็ คนชราหรือคนทพุ พลภาพในการสัญจรไปมา หรือในการหลบหลกี ภยนั ตราย 2) ผูใดสามารถกระทําการชวยเหลือคุมครองดังกลาวในขอ 1 ถือวาผูน้ันเปนผูมี วัฒนธรรม ควรไดรับความนบั ถอื ของชาวไทย ประกาศมา ณ วันท่ี 28 มกราคม พทุ ธศักราช 2485

147 รฐั บาลจอมพล ป. พิบลู สงคราม ไดเปล่ียนแปลงประเพณแี ละมีการสรา งวฒั นธรรมใหม เม่ือ พ.ศ. 2485 ไดจัดตั้งสภาวัฒนธรรมแหงชาติขึ้นเพ่ือจัดระเบียบการดําเนินชีวิตของคนไทย ใหเปน แบบอารยประเทศ โดยประกาศรัฐนิยมฉบับตาง ๆ เพ่ือใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง การปกครองและใหเกดิ ความทันสมัย อาทิ 1) สั่งหามประชาชนกินหมากโดยเด็ดขาด 2) ไมส ง เสริมศิลปะและดนตรไี ทยเดมิ แตส งเสริมดนตรสี ากล ฯลฯ 3) มคี าํ ขวัญในสมัยนนั้ วา “มาลานําไทยสมู หาอาํ นาจ” หากผูหญิงคนใดไมใ สห มวกจะ ถูกตํารวจจับและปรับ 4) วางระเบยี บการใชค ําแทนช่อื เปนมาตรฐาน เชน ฉนั ทาน เรา 5) มคี ําส่งั ใหข า ราชการกลา วคาํ วา “สวสั ดี” ในโอกาสแรกทพ่ี บกัน กอ นสงครามโลกครั้งท่ีสอง เกิดสงครามอินโดจีนระหวางประเทศไทยกับประเทศ ฝรั่งเศส จากปญหาเร่ืองการใชแมน้ําโขงเปนเสนแบงพรมแดน ระหวางประเทศไทยกับอินโดจีน ซง่ึ อยูในครอบครองประเทศฝรง่ั เศสมาตงั้ แตส มัยรชั กาลที่ 5 โดยประเทศฝร่ังเศสไมยอมตกลงเร่ือง การใชรอ งนํ้าลึกเปน เสน เขตแดน ในเดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2483 ประเทศฝรั่งเศสสงเครอื่ งบินมาทงิ้ ระเบิดเมืองนครพนม การรบระหวางประเทศฝรั่งเศสกับประเทศไทยจึงเร่ิมข้ึน ประเทศฝรั่งเศสโจมตีประเทศไทยทาง อรญั ประเทศ รัฐบาล จอมพล ป. พิบลู สงคราม สง ทหารไทยเขาไปในอินโดจีนทางดา นเขมร แตใ นที่สุด ญ่ีปนุ เสนอตวั เขาไกลเกลี่ย จนมีการสงผูแทนไปลงนามอนุสัญญาโตเกียว เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 ในคร้งั นั้นไทยไดดนิ แดนฝง ขวาแมน ้าํ โขงคนื รวมทง้ั ทางใตของแมน าํ้ โขงตรงขา มปากเซ คอื แขวงจาํ ปาศักดิ์ และดนิ แดนในเขมรที่เสียใหฝ ร่ังเศสไปเมือ่ ป พ.ศ. 2450 กลับคนื มาดว ย ในวนั ท่ี 24 มิถนุ ายน พ.ศ. 2484 พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ไดเปนผูวางศิลาฤกษ กอสราง “อนสุ าวรยี ช ัยสมรภมู ิ” เพื่อเปน อนสุ รณส ถานระลกึ ถึงชัยชนะของไทยตอ ประเทศฝรั่งเศส และหนงึ่ ปต อมา จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม เปน ผูกระทําพธิ ีเปดเมื่อวันที่ 24 มถิ ุนายน พ.ศ. 2485 ในชวงสงครามโลกคร้ังท่ีสอง จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในฐานะนายกรัฐมนตรีไทย ตองใชความพยายามอยางมากในการประคับประคองประเทศชาติ ใหผานพนวิกฤตไปไดหลาย ประการ ทง้ั น้ีมกี ารบอกเลา กนั วา ทานขอพระราชทานยศจอมพลใหกับตนเองเพราะทานตองการ ทาํ สงครามจติ วิทยากบั ทางกองทัพญี่ปุน หลังสงครามโลกสงบแลว ทานตองติดคกุ ระหวางการถูกไตสวน ในฐานะอาชญากรสงครามอยูระยะหน่ึงตามพระราชบัญญัติอาชญากรรมสงครามที่รัฐบาลไทย ประกาศใชเปน กฎหมายหลงั สงครามโลก อยางไรก็ดี ศาลไทยไดพ จิ ารณาเหน็ วา “กฎหมายยอ มไมม ี ผลยอ นหลัง” จึงปลอยตัวทา นเปน อิสระ หลงั จากนนั้ ทานก็ไดประกาศยุติบทบาททางการเมืองทั้งหมด กลบั ไปใชช วี ิตเรียบงายอยูบา นที่ อาํ เภอลําลูกกา จงั หวัดปทมุ ธานี โดยปลกู ผกั ตาง ๆ เพ่อื เลยี้ งชีพ กิจกรรมทายเรื่องท่ี 1 เหตุการณส ําคญั ทางประวตั ศิ าสตรทม่ี ผี ลตอ การพฒั นาชาตไิ ทย (ใหผูเ รยี นไปทํากจิ กรรมทา ยเรือ่ งที่ 1 ท่ีสมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรูป ระกอบชดุ วิชา)

148 เรื่องที่ 2 ตวั อยา งการวเิ คราะหแ ละอภปิ รายเหตุการณส ําคัญทางประวัติศาสตร ที่มผี ลตอการพัฒนาชาตไิ ทย การวเิ คราะหขอมูลทางประวตั ิศาสตร คือ การวเิ คราะหและการตีความขอมูลทาง ประวัติศาสตรโดยการนําขอมูลท่ีไดสืบคน รวบรวม คัดเลือก และประเมินไว นํามาพิจารณาใน รายละเอยี ดทุกดาน นักประวตั ศิ าสตรต องใชเหตผุ ล เปน แนวทางในการตีความเพอ่ื นาํ ไปสูการคนพบ ขอเทจ็ จริงทางประวัตศิ าสตรที่ถูกตอ ง ความสําคัญท่ีใชเปน แนวทางทผี่ ูว เิ คราะหจะนําไปใชในการวิเคราะหโดยระมดั ระวัง ไมลาํ เอยี ง จะใหเ กิดความนาเชือ่ ถือไดมากท่สี ุด 1. หลักฐานท่ีจําแนกความสําคญั ตาง ๆ 2. หลกั ฐานทใ่ี ชอกั ษรเปน ตวั กาํ หนด 3. หลกั ฐานทก่ี าํ หนดตามจดุ หมายของการผลติ 3.1 หลกั ฐานที่มนุษยสรางขน้ึ 3.2 หลักฐานที่ไมไดเปน ผลผลิตจากสง่ิ ทม่ี นุษยส รางขน้ึ ตัวอยางแนวทางการวิเคราะหและอภปิ ราย 1. การทําสนธสิ ัญญาเบาวร ิง ในรชั กาลท่ี 4 ผลกระทบท่ีเกดิ กับประเทศไทย ขอดี 1. ไดรบั วทิ ยาการจากประเทศชาตติ ะวันตกสมยั ใหม 2. มีเสนทางการคมนาคมสะดวก เชน การสรางถนน ขุดคลองใชเปนเสนทางใน การเดินทางทาํ ใหเ กดิ ประโยชนด านการคาขาย 3. การคา ขาย ประชาชนสามารถคาขายไดอยางอสิ ระมากข้นึ 4. ขา ว เปนสินคา สง ออกท่ีสําคัญท่ีสุดของไทย สง ผลถึงปจจบุ นั ขอ เสียเปรียบ 1. การยินยอมใหอังกฤษเขามาตั้งกงสุล ทําใหอํานาจพิจารณาคดีท่ีมีชาวอังกฤษ รวมดว ยกงสลุ ตองมสี ว นรวมพจิ ารณา 2. ชาวตางประเทศมีสิทธิเสรีภาพในการเชาและสามารถถือครองท่ีดินไดหากทํา การเชา มาไมนอ ยกวา 10 ป ในประเทศไทย กจิ กรรมทา ยเรื่องที่ 2 ตวั อยา งการวเิ คราะหแ ละอภปิ รายเหตกุ ารณสําคัญทางประวตั ิศาสตร ที่มผี ลตอการพัฒนาชาติไทย (ใหผ เู รียนไปทาํ กิจกรรมทายเรื่องที่ 2 ท่สี มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรูประกอบชุดวชิ า)

149 บรรณานกุ รม กรมทางหลวงชนบท. พระราชกรณยี กิจ รัชกาลที่ 10. [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก : http://deac.drr.go.th/th/node/215. (วนั ทีค่ นขอ มูล : 28 มีนาคม 2561). กรมศลิ ปากร. พระมหากษตั ริยของไทย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.finearts.go.th/parameters/search/หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส/ book/154.html. (วนั ทค่ี นขอ มลู : 28 มีนาคม 2561). กระทรวงวฒั นธรรม, กรมศลิ ปากร. พระมหากษตั รยิ ข องไทย. กรุงเทพฯ : อมรินทร พรนิ้ ติ้งแอนดพ ับลซิ ซงิ่ จํากดั , 2560. กอบแกว นาจพนิ ิจ. อาหารไทย กรุงเทพฯ : โปรแกรมวชิ าคหกรรมศาสตรทัว่ ไป คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยสี ถาบันราชภัฏสวนดุสติ , 2542. กอบแกว นาคพนิ ิจ. เร่อื งประวตั ิอาหารไทย สืบคน วนั ท่ี 23 พฤศจกิ ายน 2556. [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : http://khaocookingschool.blogspot.com/2010/01/by-prof- kobkaew-najpinij.html. (วันท่ีคน ขอมูล : 29 มนี าคม 2561). ชัยสทิ ธ์ิ ปะนันวงค. “สมัยสโุ ขทยั ” ประวตั ิศาสตรช าตไิ ทย. กรมศิลปกร, กระทรวงวฒั นธรรม; พ.ศ. 2558. [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก : http://thainationhistory.blogspot.com/ p/18-1800-1.html. (วนั ท่ีคน ขอ มลู : 27 มีนาคม 2561). ดนัย ไชยโยธา. พัฒนาการของมนษุ ยก ับอารยธรรมในราชอาณาจกั รไทย เลม 1. กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร, 2543. ดนยั ไชยโยธา. ประวตั ศิ าสตรไทย : ยคุ กรุงธนบรุ ถี ึงกรุงรตั นโกสนิ ทร. พิมพค ร้ังที่ 2. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร, 2550. ดวงมน จติ จาํ นง. คณุ คา และลกั ษณะเดนของวรรณคดไี ทย สมัยรัตนโกสนิ ทรต อนตน . กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร, 2540. ดํารงราชานุภาพ, สมเดจ็ ฯ กรมพระยา. ตาํ นานหนังสอื พระราชพงศาวดาร ฉบบั พระราชหตั ถเลขา ภาคตน , 2505. ดาํ รงราชานุภาพ, สมเดจ็ กรมพระยา. ความทรงจาํ พระนคร. 2518. ทรงสรรค นิลกาํ แหง. เอกสารบรรณรกั ษศาสตร. 2514. ธีระ แกว ประจนั ทร. “สมัยอยุธยา” ประวัติศาสตรช าตไิ ทย ; กรมศิลปกร, กระทรวงวัฒนธรรม ; พ.ศ. 2558 และพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และ เอกสารอื่น - นนทบุรี : ศรีปญญา 2559) [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://patlabua.wordpress.com/, (วนั ที่คน ขอ มูล 27 มนี าคม 2561)

150 นามานกุ รมพระมหากษตั รยิ ไทย. มลู นธิ สิ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า. นามานกุ รม พระมหากษตั รยิ ไ ทย. กรงุ เทพฯ : นานมบี คุ สพับลเิ คชนั่ , 2554. นายประสาร ธาราพรรค. ผูเรียบเรยี ง. [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจ าก : https://www.technicchan.ac.th/UserFiles/File/พลเรือเอก%20พระเจาบรมวงศ เธอ.pdf. (วันท่คี น ขอมลู 28 : มีนาคม 2561). บณั ฑติ ลิว่ ชยั ชาญ และสรุ ยิ า สดุ สวาท. “แผน ดนิ ผคู น และพัฒนาการบา นเมืองในดินแดน ประเทศไทย” ประวตั ศิ าสตรช าติไทย. ม.ป.ม. : กรมศิลปกร, กระทรวงวัฒนธรรม; 2558. บญุ สม ยอดมาลี. การสรา งจติ สาํ นกึ ในการอนรุ กั ษป รบั ปรนและเหน็ คณุ คา มรดกทาง วฒั นธรรม. (รายงานการวจิ ยั ). มหาสารคาม : สถาบนั วิจยั ศลิ ปะและวฒั นธรรมอสี าน มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2544. ปารวี ไพบลู ยย งิ่ . ภูมิแผน ดนิ ไทย 6 อาหารไทย. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท ไทยประกนั ชวี ติ จํากดั , 2545. พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน. หนา 563. พระอจั ฉรยิ ภาพดา นภาษาและวรรณกรรมท่แี ฝงดว ยปรชั ญา จากในหลวง รัชกาลที่ 9. [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก : https://www.drivemate.asia/blog/. (วนั ท่ีคนขอมลู : 29 มีนาคม 2561). มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช. เอกสารการสอนชดุ ประวัตศิ าสตรสงั คมและการเมอื งไทย. ม.ป.ม. : สาํ นักพมิ พมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช, 2547. มลู นธิ ิสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า. นามานกุ รมพระมหากษัตรยิ ไ ทย. กรงุ เทพฯ : มูลนิธิสมเด็จ พระเทพรตั นราชสดุ า, 2554. รงรอง วงศโอบออ ม. ประวตั ศิ าสตรไทย. กรุงเทพฯ : ทอรช , 2560. รชพร จันทรส วา ง. ความรูพน้ื ฐานของมัคคุเทศกแ ละการทอ งเท่ียวอาเซียน. หนว ยท่ี 7 อาหาร ขนม และผลไมไทยกับการทองเท่ียว. นนทบุรี : มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช, 2557. เรอ่ื งมรดกไทย. [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก : http://ich.culture.go.th/index.php/th/ ich/meaning. (วนั ที่คน ขอ มลู : 28 มีนาคม 2561). วรรณภิ า ณ สงขลา. จิตรกรรมสมัยรัตนโกสินทร รชั กาลที่ 1. กรงุ เทพฯ : ฝายอนรุ ักษจ ติ รกรรมฝาผนังและประติมากรรมตดิ ท่ี กองโบราณคดี สํานกั พมิ พกรมศลิ ปากร, 2537

151 สถาบันพระปกเกลา . ความรูเบอ้ื งตน เกย่ี วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริย. [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก : http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title สถาบนั พระปกเกลา. ฐานขอมูลการเมอื งการปกครอง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.hindumeeting.com/forum/index.php?topic=2020.0. https://www.thairath.co.th/content/799687 (วันทค่ี นขอมลู : 28 มีนาคม 2561). สถาบนั พระมหากษตั รยิ ใ นระบบการเมืองการปกครองไทย. [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจ าก : www.mwit.ac.th/~keng/lesson05/7.doc สมพร เทพสิทธา. ดวงประทปี จากพระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั . กรงุ เทพฯ: พิมพส วย, 2549. [ออนไลน]. เขา ถึงไดจาก : http://dharma.thaiware.com/mobile/ article_mobile_detail.php?article_id=270, (วันทคี่ น ขอ มลู : 26 มนี าคม 2561). สันติ เลก็ สขุ ุม. จติ รกรรมสมัยรัชกาลท่ี 3 : ความคิดเปลย่ี นการแสดงออกก็เปล่ียนตาม. กรุงเทพฯ : เมอื งโบราณ, 2548 สารานุกรมไทยสาํ หรบั เยาวชน โดยพระราชประสงคพ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั เลมที่ 24 เรอื่ งที่ 1 วรรณคดีมรดก สมัยรตั นโกสนิ ทร (พ.ศ. 2325 - ปจ จบุ นั ). [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก : http://oknation.nationtv.tv/blog/pakthada/ 2010/03/16/entry-6. (วันที่คน ขอมูล : 29 มีนาคม 2561). สารานุกรมไทยสําหรบั เยาวชน. [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=21&chap=2&p age=t21-2-infodetail03.html. (วนั ท่ีคน ขอ มลู : 28 มนี าคม 2561). สาํ นกั งาน กศน. ประวัตศิ าสตรชาติไทยและบญุ คณุ ของพระมหากษตั รยิ ไ ทย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.nfe.go.th/onie/attachments/article/283/11.pdf สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. 9 แผน ดนิ ของการปฏริ ปู ระบบราชการ (พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช). พิมพครงั้ ที่ 2. ม.ปม. : วิชั่นพรนิ้ แอนด มเี ดีย จาํ กดั , 2550. “ ”. 9 แผน ดินของการปฏริ ปู ระบบราชการ (พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา นภาลยั ). พิมพค รง้ั ท่ี 2. ม.ปม. : วิชน่ั พรน้ิ แอนด มเี ดยี จาํ กดั , 2550. “ ”. 9 แผน ดินของการปฏริ ูประบบราชการ (พระบาทสมเด็จพระน่งั เกลา เจาอยูห ัว). พมิ พค รัง้ ท่ี 2. ม.ปม. : วิชน่ั พร้ินแอนด มเี ดยี จํากดั , 2550. “ ”. 9 แผน ดนิ ของการปฏริ ปู ระบบราชการ (พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยูหวั ). พมิ พค ร้งั ท่ี 2. ม.ปม. : วชิ น่ั พรน้ิ แอนด มีเดีย จํากดั , 2550.

152 “ ”. 9 แผน ดินของการปฏริ ูประบบราชการ (พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจา อยหู วั ). พมิ พครงั้ ที่ 2. ม.ปม. : วชิ ัน่ พริน้ แอนด มีเดยี จาํ กดั , 2550. “ ”. 9 แผน ดนิ ของการปฏริ ปู ระบบราชการ (พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยหู วั ). พิมพคร้ังที่ 2. ม.ปม. : วชิ ัน่ พริน้ แอนด มเี ดีย จํากดั , 2550. “ ”. 9 แผนดนิ ของการปฏริ ปู ระบบราชการ (พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ท มหิดล). พิมพครั้งที่ 2. ม.ปม. : วิช่นั พรน้ิ แอนด มเี ดยี จํากัด, 2550. “ ”. 9 แผนดินของการปฏริ ปู ระบบราชการ (พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัวภมู ิพลอดลุ ย เดช). พมิ พค รง้ั ท่ี 2. ม.ปม. : วิชนั่ พริ้นแอนด มเี ดีย จํากัด, 2550. “ ”. 9 แผน ดนิ ของการปฏริ ูประบบราชการ (พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยหู วั ). พมิ พค ร้ังที่ 2. ม.ปม. : วิชัน่ พรน้ิ แอนด มีเดยี จํากดั , 2550. สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย. พระประวตั ิสมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ กรมพระยาดํารงรา ชานภุ าพ. [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจ าก : http://jurarat21.blogspot.com/. (วันทคี่ นขอ มลู 28 : มนี าคม 2561). สาํ นักงานสภาความมัน่ คงแหงชาติ สาํ นกั นายกรฐั มนตร.ี แนวทางการรกั ษาความมนั่ คงสถาบนั หลักของชาติภายใตก ารปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปน ประมุข. กรุงเทพฯ : คณะรัฐมนตรแี ละราชกจิ จานุเบกษา, 2558. สจุ ติ ต วงษเทศ และคณะ ..หนังสือคูมือครูสงั คมศกึ ษารายวชิ า ส 021 หลกั ฐานประวตั ศิ าสตร ในประเทศไทย. ม.ป.ม. : ม.ป.ท., 2537. เสถียร พนั ธรงั สี. ศาสนาเปรียบเทยี บ. พิมพค รงั้ ท่ี 8. กรงุ เทพฯ : สขุ ทางใจ, 2542. เสาวภา ไพทยวฒั น. ประวัตศิ าสตรแ ละวฒั นธรรมไทย. ม.ป.ม : หนว ยศกึ ษานิเทศก, กรมการ ฝก หดั ครู, 2535. เสาวภา ไพทยวัฒน. ประวัตศิ าสตรและวฒั นธรรมไทย. หนวยศกึ ษานิเทศก, กรมการฝกหดั คร,ู 2535. อจั ฉรา สโรบล. ประวตั ิเครือ่ งแตง กาย. [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจาก : www.human.cmu.ac.th/ home/hc/ebook/006216/006216-03.pdf. (วันท่ีคนขอมลู : 30 มนี าคม 2561). อาํ นาจ เจรญิ ศลิ ป. โลกและการอนรุ ักษ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, 2528. อารักษ สังหติ กลุ . กรมศลิ ปากรกบั การบรหิ ารจดั การทรพั ยส นิ ทางศลิ ปวัฒนธรรม อดตี ปจจบุ ัน และ อนาคต. กรุงเทพฯ : กรมศลิ ปากร, 2545 เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ า ส30109 ประวตั ศิ าสตรไ ทย 2. [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจาก : https://social.mwit.ac.th/files/55_1_doc_30109_3.pdf. (วนั ท่ีคนขอ มลู : 20 เมษายน 2561). 2561.

153 โอเดยี นสโตร. 53. พระมหากษัตริยไ ทย : ธ ทรงครองใจไทยทง้ั ชาต.ิ กรงุ เทพฯ : โอ.เอส.พร้ินติ้ง, 2543. [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก : http://haab.catholic.or.th/bangkok1/bangkokl.html. (วันทีค่ นขอ มลู : 20 เมษายน 2561). [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจ าก : http://hilight.kapook.com/view/47473. (วันท่ีคน ขอมลู : 29 มีนาคม 2561 [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก : http://hq.prd.go.th/พระราชประเพณสี บิ สองเดอื น : หน่ึงในวรรณคดเี อกของสยาม. (วนั ท่ีคน ขอ มลู : 28 มนี าคม 2561). [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก : http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book= 14&chap=3&page=t14-3-infodetail09.html (ประติมากรรมสมัยรตั นโกสินทร). (วนั ที่คนขอ มลู : 20 เมษายน 2561). [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก : http://medium.com/pasubox/5/ ผลงานทัศนศลิ ปสมัย รตั นโกสินทร (วนั ทคี่ น ขอ มลู : 28 มนี าคม 2561). [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : http://poetthai.com/วรรณคดสี มัยรตั นโกสินทรต อนตน . (วนั ที่คนขอ มูล : 28 เมษายน 2561). [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : http://thammapedia.com/ceremonial/ buddhismorg_center.php. (วนั ท่คี นขอมลู : 28 มีนาคม 2561). [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก : http://www.brh.thaigov.net/webboard/ index.php?topic=55.0 (วันทคี่ นขอ มลู : 20 เมษายน 2561). [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก : http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/ executive_journal/oct_dec_12/pdf/aw019.pdf. (วันทค่ี น ขอ มูล : 28 มีนาคม 2561). [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจ าก : http://www.era.su.ac.th/Mural/rusrama1/index.html. (วันท่ีคนขอ มูล : 20 เมษายน 2561). [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : http://www.finearts.go.th/performing/parameters/km/item/ โขนสมัยรัตนโกสนิ ทร.html. (วันทคี่ น ขอ มลู : 27 มนี าคม 2561). [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก : http://www.ku.ac.th/e-magazine/may48/know/home.html. (วันที่คนขอ มูล : 28 มีนาคม 2561). [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก : http://www.moi.go.th/portal/page?_pageid= 235,804615,235_804637&_dad=portal&_schema=PORTAL. (วนั ทคี่ นขอ มลู 28 มนี าคม 2561).

154 [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : http://www.moi.go.th/portal/page?_pageid= 235,804615,235_804637&_dad=portal&_schema=PORTAL. (วันที่คน ขอ มลู : 20 เมษายน 2561). [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : http://www.our-longtime.com/.ศลิ ปะของไทย : การแตง กาย (วนั ทคี่ น ขอ มลู : 29 มนี าคม 2561). [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก : http://www.sms-stou.org/archives/1782?lang=th. (วันทีค่ น ขอมลู : 29 มนี าคม 2561). [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจ าก : http://www.sunti-apairach.com/letter/index.php? topic=953.0;wap2. (วันท่คี นขอมลู : 28 มนี าคม 2561). [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก : http://www.sunti-apairach.com/letter/index.php?topic= 1243.0. (วนั ที่คนขอมลู : 28 มนี าคม 2561). [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : https://krujiraporn.wordpress.com/. (วนั ที่คนขอมลู : 28 เมษายน 2561). [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก : https://krujiraporn.wordpress.com/2011/07/21. (วนั ทคี่ น ขอ มลู : 20 เมษายน 2561). [ออนไลน] . เขา ถึงไดจ าก : https://namjiraporn151.wordpress.com/เกรด็ ความร/ู วชิ านาฏศลิ ป/ . (วันที่คนขอมูล : 29 มีนาคม 2561). [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก : https://sites.google.com/site/kanda4749/haelng-xarythrrm- khxng-lok, (วนั ท่ีคน ขอมลู : 26 มีนาคม 2561). [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจ าก : https://sites.google.com/site/prawatistrsakl05/khwam-hmay- khwam-sakhay-laea-prayochn-khxng-withi-kar-thang-prawatisastr. (วนั ท่คี น ขอ มูล : 29 มนี าคม 2561). [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : https://sites.google.com/site/sichaphathistory6/khan-txn- khxng-withi-kar-thang-prawatisastr. (วนั ทค่ี น ขอ มูล : 29 มนี าคม 2561). [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจ าก : https://sites.google.com/site/sittipanareerat422/bth-thi3- lakhr-thiy/khwam-pen-ma-khxng-lakhr-thiy (วันทคี่ น ขอ มลู : 27 มนี าคม 2561). [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : https://th.wikipedia.org/wiki/พระเจาตะเบง็ ชะเวต.ี้ (วันทค่ี นขอมลู : 28 มนี าคม 2561). [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก : https://th.wikipedia.org/wiki/ศาสนาอสิ ลามในประเทศไทย. (วนั ทีค่ นขอ มลู : 28 มีนาคม 2561).

155 [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก : https://th.wikipedia.org/wiki/สถาปต ยกรรมสมัยรตั นโกสินทร# รูปแบบ. (วันท่ีคน ขอมูล : 20 เมษายน 2561). [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : https://www.technicchan.ac.th/UserFiles/File/พลเรือเอก%20 พระเจา บรมวงศเ ธอ.pdfhttps://th.wikipedia.org/wiki/แปลก_พิบลู สงคราม. (วนั ทคี่ น ขอมูล : 20 เมษายน 2561). [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : https://www.thairath.co.th/content/1111012 (วนั ท่คี น ขอมลู : 20 เมษายน 2561). [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : https://www.thairath.co.th/content/799687, [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : www.dhammathai.org/thailand/thailand.php/ศาสนาพทุ ธ ในประเทศไทย. (วนั ที่คนขอ มลู : 27 มนี าคม 2561). [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก : https://www.drivemate.asia/blog/. (วนั ที่คน ขอ มลู : 27 มนี าคม 2561).

156 คณะท่ปี รกึ ษา คณะผจู ัดทาํ นายกฤตชยั อรุณรตั น เลขาธกิ าร กศน. นางสาววิเลขา ลสี ุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. นางรุงอรณุ ไสยโสภณ ผอู ํานวยการกลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั คณะทํางาน ขาราชการบาํ นาญ นางกมลวรรณ มโนวงศ โรงเรยี นฤทธณิ รงคร อน กทม. นายปวติ ร พุทธริ านนท ผอู ํานวยการ กศน.อําเภอสวรรคโลก จงั หวดั สุโขทัย นายจริ พงศ ผลนาค ผอู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอบา นผอื จงั หวัดอดุ รธานี นางสารอรพร อินทรนฎั ผอู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอเมอื งแมฮอ งสอน นางมัณฑนา กาศสนุก จังหวดั แมฮอ งสอน ศนู ยวงเดอื นอาคมสรุ ทณั ฑ จังหวดั อุทยั ธานี นางสาวอนงค ชชู ัยมงคล กศน.อาํ เภอเมอื งกาํ แพงเพชร จงั หวดั กาํ แพงเพชร นางสาวพจนีย สวสั ดร์ิ ัตน กศน.อําเภอสนั ปา ตอง จงั หวดั เชียงใหม นายโยฑิน สมโณนนท กศน.อําเภอเมอื งอาํ นาจเจริญ จงั หวดั อาํ นาจเจรญิ นางมยรุ ี ชอนทอง กศน.อาํ เภอเมอื งอํานาจเจริญ จงั หวดั อาํ นาจเจริญ นางสาวหทัยรตั น ศริ แิ กว กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย นายศภุ โชค ศรีรตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั นางเยาวรตั น ปนมณีวงศ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย นางกมลทิพย ชว ยแกว กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย นางสุกัญญา กลุ เลิศพิทยา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รือน กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย นางสาววยิ ะดา ทองดี กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น กลุม พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสาวชมพนู ท สงั ขพ ิชยั

157 คณะบรรณาธกิ าร ขา ราชการบาํ นาญ ขาราชการบาํ นาญ นางสาวพิมพาพร อนิ ทจักร นางสาวชนติ า จติ ตธรรม ขาราชการบาํ นาญ นางนพรัตน เวโรจนเ สรวี งศ นางสาวประภารัสม์ิ พจนพมิ ล ขาราชการบํานาญ นางสาวสุภรณ ปรชี าอนนั ต ขาราชการบาํ นาญ นางพรทพิ ย เขม็ ทอง ขา ราชการบํานาญ นางดษุ ฎี ศรีวฒั นาโรทัย นายวิวัฒนไชย จนั ทนสคุ นธ ขาราชการบาํ นาญ นางสาวชนดิ า ดยี ง่ิ นายสมชาย เดือนเพ็ญ ขาราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ นางสาวจริ าภรณ ตนั ติถาวร ผูทรงคณุ วฒุ ิกลมุ จงั หวัดมรดกโลกทางวฒั นธรรม นายจริ พงศ ผลนาค นางสาวอนงค ชชู ัยมงคล รางวัลวฒั นคณุ าธร กระทรวงวัฒนธรรม 2557 นางสาวพจนยี  สวัสดร์ิ ตั น ผอู าํ นวยการ กศน.เขตบางกอกใหญ นายโยฑิน สมโณนนท นางพรทิพย เอ้อื ประเสรฐิ ผูอาํ นวยการ กศน.อําเภอสวรรคโลก จังหวดั สุโขทยั นางสาวอนงค เชื้อนนท ศนู ยวงเดอื นอาคมสรุ ทณั ฑ จังหวดั อุทยั ธานี กศน.อาํ เภอเมอื งกําแพงเพชร จงั หวดั กาํ แพงเพชร กศน.อาํ เภอสนั ปาตอง จังหวดั เชียงใหม กศน.อําเภอบางแพ จงั หวดั ราชบรุ ี กศน.เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร ผูออกแบบปก กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย นายศภุ โชค ศรีรตั นศลิ ป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook