วัดกาญจนบุรเี กา่ (วัดนางพมิ ) โบราณสถานในเขตเมอื งเก่า เมืองกาญจนบรุ เี กา่ ต้งั อยรู่ ิมฝั่งตะวนั ออกของแมน่ ้าแควใหญ่ ตวั เมอื งดา้ นทศิ เหนือตดิ ทางหลวงหมายเลข 3199 และเขาชนไก่ ทิศใตจ้ ด แควใหญ่ ทศิ ตะวนั ตกจดลา้ ตะเพิน ทิศตะวันออกจดทางหลวงหมายเลข 3199 ท่ตี ั้งเมืองนบั ว่าเหมาะสมอยา่ งยิ่งในทางยุทธศาสตรแ์ ละ การต้งั ถ่ินฐาน เน่ืองจากมภี เู ขาและล้าน้าเปน็ ปราการธรรมชาติ และมีท่รี าบส้าหรบั การเพาะปลูกอยโู่ ดยรอบ ปจั จุบันโบราณสถานภายใน เขตเมืองกาญจนบุรีเก่าไดร้ บั การขดุ แต่งและดแู ลโดยอทุ ยานประวตั ิศาสตร์เมืองสิงห์จากส่แี ยกแกง่ เส้ยี ม ใช้ทางหลวงหมายเลข 3199 จนถึงสีแ่ ยกลาดหญา้ ให้ตรงไปอีกประมาณ 2 กม. พบป้ายทางเข้าวดั นางพิมทางซา้ ย ให้เลีย้ วเข้าไปประมาณ 400 ม. ใกล้กนั เป็นทางเข้า วดั ปา่ เลไลยก์
ประวตั ิ ในสมยั อยธุ ยา เมืองกาญจนบุรีเกา่ เป็นเมืองหน้าด่านส้าคญั ในการตัง้ รบั ทัพพมา่ ท่ยี กเข้ามาทางด่านเจดยี ส์ ามองค์ และร้างไปตัง้ แต่ต้น สมยั รัตนโกสินทร์ เน่ืองจากมีการย้ายเมืองลงมาตั้งตามล้าน้าแควใหญ่และล้าตะเพนิ บริเวณ ต. ปากแพรก ในบรเิ วณใกล้เคียงกบั ทตี่ ั้ง เมือง มีการคน้ พบโบราณวัตถุมากมายท้ังสมัยก่อนประวตั ิศาสตรแ์ ละสมยั ประวัติศาสตร์ แสดงใหเ้ ห็นถงึ การเปน็ เสน้ ทางผ่านของอารย ธรรมอินเดยี ทม่ี าขึ้นบกทีอ่ ่าวเมาะตะมะแลว้ ผ่านด่านเจดยี ส์ ามองค์เขา้ สู่ไทย นอกจากนย้ี ังพบหลักฐานแสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งเมือง กาญจนบุรกี บั หัวเมืองใกลเ้ คียง เช่น สพุ รรณบรุ ี ราชบุรี อยธุ ยา ท้งั เปน็ เส้นทางเดนิ ทัพของไทยและพม่าท่สี า้ คญั อีกด้วย พ.ศ. 2467 พระ ครูจวยจากวัดหนองบวั (หรอื วัดศรีอุปลารามใน อ. เมืองกาญจนบรุ ี) เดินทางมาจา้ พรรษาทวี่ ดั ขนุ แผนและน้าชาวบา้ นออกส้ารวจ พบวัด ร้างถงึ เจด็ แหง่ ท่านจงึ ต้ังช่อื วัดใหส้ อดคล้องกับวรรณคดีพ้ืนบา้ นเรื่องขนุ ช้างขนุ แผน เช่น วัดขุนแผน วัดขุนไกร วัดนางพมิ พ์ เปน็ ต้น ต่อมา ปี พ.ศ. 2472 พระครจู วนนา้ ชาวบา้ นแผ้วถาง ปฏสิ งั ขรณ์วดั นางพิมพ์ขนึ้ ใหม่และตั้งชื่อว่าวดั กาญจนบุรีเก่าส่วนโบราณสถานอ่ืนๆ ทางวัดและชาวบา้ นต่างเข้าไปขดุ หาของโบราณและพบกรพุ ระเคร่ืองจา้ นวนมาก โดยเฉพาะบริเวณวดั ขดุ แผน
วดั ขนุ แผน วดั ขุนแผน ปัจจบุ นั เป็นวดั รา้ ง เปน็ วดั ขนาดใหญ่ อยหู่ ่างจากวัดปา่ เลไลยก์มาทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใตร้ าว 500 ม. เม่อื พ.ศ. 2532 กรมศิลปากรเขา้ มาขุดแต่งและบูรณะหลังจากโบราณสถานท้ังหมดถูกขุดทา้ ลายจนทรดุ โทรม พบโบราณสถานที่สา้ คัญ ได้แก่ - ปรางค์ เปน็ ปรางค์เดยี่ ว สงู ราว 15 ม. อาจเปน็ พระมหาธาตุประจ้าเมืองกาญจนบุรีเก่า ลักษณะเปน็ ปรางค์สมัยอยธุ ยา คลา้ ยปรางค์ที่ ต. ศาลาขาว อ. เมอื ง จ.สุพรรณบุรี แตข่ นาดเล็กกว่าก่อดว้ ยอฐิ สอดินฉาบปนู ไม่มลี วดลายใดๆ ฐานหนา้ กระดานรูปส่ีเหลย่ี มจัตุรสั กว้าง ดา้ นละ 9 ม. สูง 65 ซม. ถดั ขึ้นไปเป็นฐานหน้ากระดานชดุ ลายบวั ยอ่ มมุ ไมส้ ิบสองเพิม่ มุม เหนือขน้ึ ไปอีกเปน็ เรือนธาตุ มีซุม้ จระนา้ กลีบ ขนนุ เรียงตวั อย่างมรี ะเบียบ ส่วนนอกคลา้ ยฝักขา้ วโพดทว่ายอดนพศลู หักพงั ลงมาหมดแลว้ - โบสถ์ พบฐานโบสถก์ ่ออฐิ สอดินฉาบปูน กวา้ ง 17.2 ม. ยาว 7.8 ม. สงู 2.5 ม. มปี ระตูทางเขา้ ด้านทศิ ตะวนั ออก ภายในอาคารแบบ อยธุ ยาตอนปลาย - เจดยี ์ประจา้ ทิศและเจดยี ร์ าย มี 12 องค์ กอ่ ด้วยอฐิ สอดินฉาบปูน ส่วนมากยอดหกั พังหมดแลว้
วัดแมห่ มา้ ย • วัดแม่หมา้ ย ปจั จบุ ันเป็นวัดรา้ ง สรา้ งข้ึนสมยั อยธุ ยา อยูห่ า่ งจากวดั ขุนแผนไปทางตะวนั ออกราว 300 ม. พบโบราณสถานสองกลุ่ม โดยมีสระน้าขนาดใหญ่เรยี กว่าสระล้างกระดูกอย่รู ะหวา่ งกลาง - วัดแมห่ ม้ายเหนอื มฐี านเจดีย์ทรงกลมขนาดใหญ่ ฐานประทกั ษิณก่อดว้ ยอฐิ สอดนิ สว่ นยอดหกั พังลงมา มีบนั ไดขึน้ ด้านทศิ ตะวนั ตก และฐานวิหารรปู สเ่ี หล่ยี มผนื ผา้ หนั หน้าไปทางทิศตะวนั ตก - วดั แมห่ ม้ายใต้ พบฐานวิหารขนาดกลางรปู สเ่ี หลยี่ มผืนผ้า หันหนา้ ไปทางทิศตะวันออก มฐี านเจดีย์รายและก้าแพงแก้วล้อมรอบ
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: