Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อิเหนาตอนศึกกระหมังกุหนิง-2

อิเหนาตอนศึกกระหมังกุหนิง-2

Published by rawitsada1310, 2021-02-19 01:59:23

Description: อิเหนาตอนศึกกระหมังกุหนิง-2

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมงั กุหนงิ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เลม่ ๑ เรยี นรทู้ มี่ า นางสาวรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรยี าภยั สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑๑ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมงั กุหนงิ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เลม่ ๑ เรยี นรทู้ มี่ า นางสาวรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรยี าภยั สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑๑ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๑) เรอ่ื ง อิเหนา ตอน ศกึ กะหมังกุหนงิ ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ เลม่ ๑ เรยี นร้ทู ีม่ า คำนำ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรื่อง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง จัดทาขึ้นเพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในรายวิชา ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหาของวรรณคดี เรื่องอิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง ในด้านประวัติความเป็นมา รูปแบบคาประพันธ์ เนื้อเรื่อง ตัวละคร คุณค่าด้านวรรณศิลป์ และคุณค่าของวรรณคดีในด้านอื่น ๆ เพ่ือให้ผู้เรียนได้เกิด ความเข้าใจ ซาบซึ้ง ในเน้ือหา และเห็นคุณค่าของวรรณคดีอันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมท่ีสาคัญของชาติ ได้มีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์ความเป็นไทย และนาความรู้ท่ีได้จากการเรียนไปใช้ เพื่อพัฒนาความสามารถทางการใช้ภาษา ของตนเองตอ่ ไป เอกสารประกอบการเรยี นชดุ น้มี ีทั้งหมด ๕ เลม่ คอื เลม่ ที่ ๑ เรอื่ ง เรียนรู้ท่ีมา เล่มท่ี ๒ เรื่อง ศึกษาคากลอน เลม่ ท่ี ๓ เรอ่ื ง ตวั ละครสะท้อนข้อคิด เลม่ ท่ี ๔ เรอ่ื ง พินิจคณุ คา่ วรรณคดี เล่มท่ี ๕ เร่ือง กวโี วหาร เอกสารเล่มนี้เป็น เล่มที่ ๑ เร่ือง เรียนรู้ท่ีมา ซ่ึงได้เรียบเรียงเน้ือหาเก่ียวกับประวัติ ความเป็นมาของเร่ืองอิเหนา ท้ังในส่วนที่เป็นเร่ืองราวของวรรณคดีชวา และเรื่องราวที่มาของวรรณคดี อิเหนาในประเทศไทย รวมถึงความรู้เก่ียวกับ ละครราของไทย เพลงหน้าพาทย์ ตลอดจน พระราชประวัติ ของผู้แต่งคือพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ผู้ทรงพระราชนิพนธ์บทละครราเรื่องอิเหนาใน แบบเรียนเพ่ือให้นักเรียนได้ศึกษาเป็นความรู้ประกอบการเรียนด้วย วัตถุประสงค์หลักของเนื้อหาในเล่มนี้คือ ต้องการให้นักเรียนได้ศึกษาถึงท่ีมาของวรรณคดีอิเหนา ว่ามีความเป็นมาและมีความสาคัญอย่างไรสาหรับ นกั เรยี นซึ่งได้ชือ่ ว่าเปน็ ผสู้ บื ทอดมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ ผู้จัดทาหวังว่าเอกสารประกอบการเรียนชุดน้ีจะเป็นประโยชน์แก่นักเรียนสาหรับใช้ใน การศึกษาหาความรู้และทบทวนบทเรียน เป็นประโยชน์แก่ครูผู้สอนสาหรับหรือนาไปใช้เพ่ือเป็นการ ประหยดั เวลาในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนและแก้ไขปัญหาการขาดแคลนกาลังครไู ด้ตามสมควร ขอขอบคุณคณะผู้บริหาร บุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนศรียาภัยทุกท่านท่ีมีส่วนร่วมในการ สนับสนุนและส่งเสริมให้การจัดทาเอกสารประกอบการเรียนชุดนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอบคุณคณะ ผู้เชี่ยวชาญทุกท่านท่ีได้ให้คาชี้แนะ ปรับปรุงแก้ไขเอกสารประกอบการเรียน ชุดน้ีจนสาเร็จสมบูรณ์ ขอขอบคุณทุกทา่ นมา ณ โอกาสน้ี รสสุคนธ์ เพชรศร ครรู สสุคนธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรยี าภัย จังหวัดชมุ พร ก

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๑) เรอื่ ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมงั กุหนิง ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เลม่ ๑ เรียนรทู้ ม่ี า สำรบัญ หนา้ คานา ก คาชแี้ จงการใชเ้ อกสารประกอบการเรยี น ค คาชี้แจงสาหรับครู ง คาช้แี จงสาหรับนักเรียน จ บทนา ๑ แบบทดสอบกอ่ นเรียน ๓ ใบความรทู้ ี่ ๑ ๕ ใบงานท่ี ๑ ๖ ใบความรูท้ ี่ ๒ ๗ ใบงานที่ ๒ ๘ ใบความรู้ที่ ๓ ๑๐ ใบงานท่ี ๓ ๑๓ ใบความรู้ท่ี ๔ ๑๖ ใบงานท่ี ๔ ๒๐ ใบความรทู้ ี่ ๕ ๒๒ ใบงานท่ี ๕ ๒๔ ใบความรทู้ ี่ ๖ ๒๕ ใบงานที่ ๖ ๓๐ แบบทดสอบหลังเรียน ๓๑ เฉลยใบงานท่ี ๑ ๓๓ เฉลยใบงานที่ ๒ ๓๔ เฉลยใบงานท่ี ๓ ๓๖ เฉลยใบงานที่ ๔ ๓๙ เฉลยใบงานที่ ๕ ๔๑ เฉลยใบงานท่ี ๖ ๔๒ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น ๔๓ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลงั เรียน ๔๕ บรรณานกุ รม ครรู สสุคนธ์ เพชรศร โรงเรียนศรียาภยั จังหวัดชมุ พร ข

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๑) เรอ่ื ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมังกหุ นิง ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔ เล่ม ๑ เรียนรูท้ ม่ี า คาชีแ้ จงการใช้เอกสารประกอบการเรียน เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชาภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรือ่ ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กุหนิง ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔ สร้างขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในรายวิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในเน้ือหาของ วรรณคดีในด้านต่าง ๆ ท้ัง ประวัติความเป็นมา รูปแบบคาประพันธ์ เนื้อเรื่อง ตัวละคร คุณค่าในด้าน วรรณศิลป์และคุณค่าของวรรณคดีในด้านอื่น ๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิด ความเข้าใจ ความซาบซึ้งในเน้ือหาและ เห็นคุณค่าของวรรณคดี อันเป็นมรดกที่สาคัญของชาติ ได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ความเป็นไทยและนา ความรู้ที่ได้จากการเรียน ไปพัฒนาความสามารถทางการใช้ภาษาของตน เอกสารประกอบการเรียนชุดน้ี มีทั้งหมด ๕ เล่ม คอื เล่มที่ ๑ เรือ่ ง เรียนรูท้ ม่ี า เลม่ ท่ี ๒ เร่อื ง ศึกษาคากลอน เล่มท่ี ๓ เร่ือง ตวั ละครสะท้อนข้อคดิ เล่มท่ี ๔ เร่ือง พินิจคุณคา่ วรรณคดี เล่มท่ี ๕ เร่อื ง กวโี วหาร เอกสารประกอบการเรียนแต่ละเลม่ จะมเี น้ือหาตามลาดบั ดังนี้ ๑. บทนา ๒. แบบทดสอบก่อนเรียน ๓. ใบความรู้ ๔. ใบงาน ๕. แบบทดสอบหลงั เรียน ๖. เฉลยใบงาน ๗. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ๘. เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน ซึ่งผูเ้ รียนจะตอ้ งศึกษาไปตามลาดับขนั้ ตอนทีก่ าหนดไว้ โดยมีครเู ป็นผู้คอยแนะนาให้ คาปรึกษา หรือนักเรียนจะนาไปศึกษาด้วยตนเองก็ไดแ้ ต่ตอ้ งมีวนิ ัยในตนเองปฏิบัตติ ามคาแนะนาอยา่ ง เครง่ ครดั ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรียาภยั จังหวดั ชุมพร ค

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๑) เรอื่ ง อเิ หนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นงิ ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เล่ม ๑ เรียนร้ทู มี่ า คาชี้แจงสาหรบั ครู ๑. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย ท๓๑๑๐๒ เรอื่ ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนงิ ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ สรา้ งขนึ้ โดยมีจุดมุ่งหมายเพอื่ ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ในรายวชิ า ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ ๒. ครูควรศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับเนอ้ื หา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ศึกษาแผนการจดั การ เรยี นรู้ ใบความรู้ ใบงาน จากคูม่ ือการใชเ้ อกสารประกอบการเรยี น ๓. เตรียมการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ตามคู่มอื การใชเ้ อกสารประกอบการเรยี น ๔. ให้นกั เรยี นศกึ ษาเนื้อหาในใบความรู้ ทาแบบฝึกหดั ในใบงาน โดยครูคอยชี้แนะ ใหค้ วามชว่ ยเหลือ ในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ เพ่ือผเู้ รยี นจะได้ขอคาแนะนาได้ทันทเี มื่อมีปัญหา ๕. หลังจากนกั เรยี นทาแบบฝึกหดั ในใบงานเสรจ็ เรยี บร้อยแลว้ ครตู อ้ งตรวจสอบความถูกต้อง ของการ ประเมนิ คะแนนของนักเรียนอีกคร้ังหนง่ึ เพื่อบนั ทึกคะแนนเอาไว้และแจ้งคะแนนให้นักเรยี นไดท้ ราบถงึ ความก้าวหน้าของตนเองดว้ ย ๖. ครูสามารถพจิ ารณายดื หยุ่นเวลาในการจัดกิจกรรมได้ตามความเหมาะสม ๘. เฉลยแบบฝึกทเ่ี ปน็ ขอ้ สอบเขยี นตอบเป็นเพยี งแนวทางในการตอบเท่าน้ันครผู ้สู อนสามารถพิจารณาตรวจ คาตอบไดต้ ามดุลยพินจิ ครรู สสุคนธ์ เพชรศร โรงเรียนศรยี าภยั จงั หวดั ชมุ พร ง

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๑) เรอื่ ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมังกุหนิง ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ เลม่ ๑ เรียนรูท้ มี่ า คาชแี้ จงสาหรบั นักเรียน ๑. เอกสารประกอบการเรยี นที่นักเรยี นกาลงั ศึกษาอยู่นี้ เปน็ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อเิ หนา ตอน ศึกกะหมงั กุหนิง เล่มท่ี ๑ เรยี นรู้ท่ีมา ๒. นกั เรียนอ่านคาแนะนา และคาชีแ้ จงในการใช้เอกสารประกอบการเรยี นใหเ้ ขา้ ใจ ๓. อา่ นจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ใหเ้ ข้าใจ ๔. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน ๑๐ ข้อ ๕. ศกึ ษาใบความรูใ้ นเอกสารประกอบการเรยี น เม่อื จบหนึ่งใบความรกู้ ็ทบทวนความรูโ้ ดยการทา ใบงานท้ายใบความรู้ไปตามลาดับ ไม่ควรข้ามขั้นตอน ๖. ตรวจสอบความถูกต้องจากเฉลยใบงานท้ายบทเรียน ๗. เมอื่ นักเรยี นทาใบงานครบทุกใบงานตามลาดับแลว้ ใหท้ าแบบทดสอบหลงั เรยี นแล้วตรวจสอบ ความถกู ต้องจากเฉลย ๘. ข้อสาคัญคือไม่ควรเปิดคาตอบดูก่อน เพราะจะทาใหก้ ารจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนไม่ บรรลุผลตามวัตถปุ ระสงค์ที่วางไว้ นักเรียนต้องมี ความซื่อสตั ย์ มงุ่ ม่นั และมีความเชือ่ มั่นใน ตนเองทจี่ ะเรียนรู้ ๙. ในกรณที เ่ี อกสารเลม่ นี้ใช้เป็นเอกสารของส่วนรวม ใหน้ กั เรียนทาใบงานลงในสมดุ ของตนเอง อยา่ ขดี เขียนหรือทาเครื่องหมายใด ๆ ลงในเอกสาร ครูรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรยี าภยั จงั หวดั ชุมพร จ

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนงิ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๔ เลม่ ๑ เรยี นรู้ท่ีมา บทนำ ความนา อเิ หนา เปน็ วรรณคดีทส่ี าคัญของไทยอีกเร่ืองหนึ่งซ่งึ ไดร้ ับอทิ ธพิ ลมาจากวรรณคดีของต่างประเทศ ได้รบั ความนิยมและเป็นท่ีรู้จักกนั อยา่ งแพร่หลาย เพราะมีเนอ้ื หาที่สนุกสนาน ใหค้ วามเพลดิ เพลนิ ในขณะ เดียวกันก็สอดแทรกความรูเ้ กี่ยวกบั ขนบธรรมเนยี ม วัฒนธรรม ประเพณี ชวี ิตความเป็นอยขู่ องคนในอดีต ไว้ด้วย นอกจากนย้ี งั มคี ุณค่าท้งั ในดา้ นสงั คม และด้านวรรณศลิ ป์ท่นี กั เรียนควรจะศึกษาใหเ้ ขา้ ใจอย่างถ่องแท้ การจะศึกษาวรรณคดีให้มีความเข้าใจอย่าลึกซึ้ง และแตกฉาน จาเปน็ อย่างย่งิ ทีน่ ักเรียนจะต้องเรยี นรู้ถงึ ท่ีมา และองค์ประกอบอนื่ ๆ ของวรรณคดเี พ่ือใหเ้ กิดความร้คู วามเขา้ ใจ อนั เป็นพนื้ ฐานของการศึกษาถงึ คุณค่าและ ความงามของวรรณคดีเร่ืองต่าง ๆ ตอ่ ไป สาระสาคัญ อิเหนาเป็นวรรณคดีท่ีสาคัญของไทย เป็นบทพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทกลอนบทละคร มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้แสดงละครใน ในสมัยรัชกาล ที่ ๒ เค้าโครงเร่ืองได้มาจากพงศาวดารของชวา เผยแพร่เข้ามาในประเทศในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศโดย นางกานัลชาวมลายูนามาเล่าถวายเจ้าฟ้าหญิงกุณฑล และเจ้าฟ้าหญิงมงกุฎ พระราชธิดาของพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ เจ้าฟ้าหญิงท้ังสองพระองค์จึงได้ทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดีเรื่องอิเหนาขึ้น แต่ต้นฉบับสูญหายไป เม่อื ครง้ั เสียกรุงครัง้ ท่ี ๒ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลยั จึงทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นใหม่โดยใช้เค้าโครง เร่อื งเดิมของเจ้าฟา้ หญงิ มงกฎุ เน้ือหาตอนทน่ี ามาใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นคอื ตอน ศกึ กะหมังกุหนิง ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรยี าภยั จังหวดั ชุมพร ๑

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อเิ หนา ตอน ศึกกะหมงั กุหนงิ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔ เลม่ ๑ เรยี นร้ทู ีม่ า สาระ / มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ัด มาตรฐาน ท๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรูแ้ ละความคิด เพ่ือนาไปใช้ตดั สินใจแก้ปัญหาในการ ดาเนินชวี ติ และมีนิสยั รักการอ่าน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๔ – ๖/๑ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว และ ร้อยกรองไดอ้ ย่างถูกต้อง ไพเราะ และ เหมาะสม กบั เรอื่ งท่ีอา่ น ท ๑.๑ ม.๔ – ๖/๒ ตอบคาถามจากการอา่ นประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาที่กาหนด มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจ และแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรม ไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ ตวั ชี้วัด ท ๕.๑ ม.๔ – ๖/๑ วิเคราะหว์ ิจารณ์วรรณคดีตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น ท ๕.๑ ม.๔ – ๖/๒ วิเคราะหล์ กั ษณะเด่นของวรรณคดีเชอ่ื มโยงกบั การเรยี นร้ทู างประวตั ศิ าสตร์และวถิ ี ชวี ิตของสงั คมในอดีต จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. อธิบายความเปน็ มาของวรรณคดเี ร่ืองอิเหนาได้ ๒. บอกประวัตขิ องผู้แตง่ วรรณคดีเรอื่ งอิเหนาได้ ๓. ตอบคาถามจากเรื่องท่ีอ่านได้ ๔. บอกข้อแตกต่างของละครนอก ละครใน และละครชาตรีได้ ครูรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรียาภยั จงั หวัดชมุ พร ๒

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมงั กุหนงิ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ เล่ม ๑ เรยี นรทู้ ี่มา คาสง่ั แบบทดสอบก่อนเรยี น ใหน้ กั เรียนเลอื กคาตอบท่ีถกู ต้องที่สุดแล้วกาลงในกระดาษคาตอบ ๑. เค้าเรื่องของอเิ หนาได้มาจากไหน ๓ ก. ประวตั ิของชาวมะละกา ข. ประวัตศิ าสตรข์ องชาวชวา ค. ประวัตศิ าสตร์ของชาวลงั กา ง. ประวตั ศิ าสตรข์ องชาวมลายู ๒. ขอ้ ใดคือจุดมุ่งหมายสาคัญในการพระราชนิพนธ์เรือ่ งอิเหนาในรัชกาลท่ี ๒ ก. เพอื่ ใชเ้ ลน่ ละคร ข. เพอ่ื ความเพลิดเพลิน ค. เพือ่ อนรุ ักษว์ รรณคดีของชาติ ง. เพ่อื ปรบั ปรุงพระราชนิพนธอ์ ิเหนาในรัชกาลท่ี ๑ ๓. \"อิเหนา\" บทพระราชนพิ นธ์ในรัชกาลที่ ๒ ดาเนนิ เรอ่ื งตามต้นฉบบั ของใคร ก. รัชกาลที่ ๑ ข. พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ี ค. เจา้ ฟ้าหญิงกุณฑล ง. เจา้ ฟา้ หญิงมงกุฎ ๔. ละครนอก จะไม่แสดงเร่ืองใด ก. คาวี ข. ไกรทอง ค. สงั ข์ทอง ง. รามเกยี รต์ิ ๕. อเิ หนาได้รบั การยกยอ่ งจากวรรณคดสี โมสรตามข้อใด ก. กลอนนทิ าน ข. กลอนบทละครรา ค. กลอนบทละครพดู ง. กลอนบทละครร้อง ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรยี าภยั จังหวัดชมุ พร

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกหุ นงิ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ เลม่ ๑ เรียนรทู้ ่ีมา ๖. เรื่องอเิ หนาเข้ามาประเทศไทยในรชั สมัยใด ก. สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช ข. สมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั บรมโกศ ค. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ง. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัย ๗. “ อนั อเิ หนาเอามาทาเปน็ คาร้อง สาหรบั งานการฉลองกองกุศล ครัง้ กรุงเกา่ เจ้าสตรีเธอนิพนธ์ แตเ่ รอื่ งตน้ ตกหายพลดั พรายไป แตพ่ ระองค์ทรงพิภพปรารภเลน่ ใช้ราเตน้ แต่งละครคิดกลอนใหม่” เจ้าสตรีและพระองค์ ตามคาประพนั ธ์ข้างต้นนี้ หมายถึงใคร ก. เจ้าฟา้ สังวาลกับพระเจ้าอย่หู ัวบรมโกศ ข. เจ้าฟา้ กุณฑล เจา้ ฟา้ มงกฎุ กบั เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร์ ค. เจา้ ฟ้ากุณฑล เจ้าฟ้ามงกุฎกบั พระเจ้าอยหู่ วั บรมโกศ ง. เจ้าฟ้ากณุ ฑล เจ้าฟ้ามงกุฎกับพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ๘. เหตุใดอิเหนาจึงปฏิเสธการแต่งงานกับนางบุษบา ก. คดิ วา่ นางบษุ บาไมส่ วย ข. กลัวท้าวหมันหยาลงโทษ ค. ได้นางจินตะหราเปน็ ชายาแล้ว ง. นางจนิ ตะหราสง่ั ให้ปฏเิ สธการแต่งงาน ๙. ตวั ละครใดต่างวงศ์จากตัวละครอ่นื ๆ ก. ระตปู กั มาหงัน ข. ระตูปนั จาระกัน ค. ระตูบศุ สิหนา ง. ระตหู มนั หยา ๑๐. ขอ้ ใดมใิ ช่ลกั ษณะของละครใน ก. มีระเบยี บแบบแผน ข. ใชผ้ ้หู ญงิ แสดงทัง้ หมด ค. เล่นทัง้ ในวังและนอกวัง ง. เปน็ เรื่องเกยี่ วกับกษัตรยิ ์ ครูรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรียาภัย จังหวัดชมุ พร ๔

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมังกุหนิง ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ เลม่ ๑ เรยี นร้ทู ีม่ า ใบควำมรูท้ ่ี ๑ ประวัตคิ วำมเป็นมำของเรื่องอิเหนำ อิเหนา เป็นวรรณคดีที่มมี าแต่เมอื่ ครัง้ กรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน็ ราชธานี โดยมที ่มี าจากนิทานปันหยีซงึ่ เปน็ คาสามญั ท่ชี าวชวาใชเ้ รียกวรรณคดีที่มีความสาคัญมากเรอ่ื งหนึ่ง คือ อเิ หนาปันหยีกรตั ปาตีซึง่ ชาวชวา ได้แตง่ ขน้ึ เพ่ือเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระมหากษัตรยิ ์ชวาพระองค์หนงึ่ ซึง่ เปน็ นักรบ นักปกครอง และทรงสรา้ ง ความเจรญิ ให้แก่ชาวชวาเป็นอย่างมาก ทรงมีพระนามวา่ ไอรลังคะ ครองราชย์อยทู่ ีเ่ มอื งดาฮา (ดาหา) เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๒ พระองค์ทรงมี พระราชธิดา ๑ พระองค์ และพระราชโอรส ๒ พระองค์ เม่ือพระราชธดิ าของพระองค์ไดท้ รงเสด็จออกผนวชเปน็ ชี จงึ ได้แบง่ ราชอาณาจักรเปน็ ๒ ส่วนคือกเุ รปันและ ดาหา เมอ่ื พระองคส์ ้ินพระชนม์พระราชโอรสพระองค์โตก็ครองเมืองกุเรปนั สว่ นพระราชโอรสพระองค์เล็ก ครองเมอื งดาหา ต่อมาท้าวกเุ รปันได้ทรงมีพระราชโอรสพระองค์หนึ่ง และ ท้าวดาหาทรงมีพระราชธดิ าพระองคห์ นึง่ ซงึ่ ทง้ั สองพระองคม์ ีพระนามว่า อเิ หนา และ บษุ บา ดังทปี่ รากฏอยู่ในวรรณคดี เม่อื ท้ังคู่ทรงเจรญิ พระชนั ษา อดีตพระราชธิดาของกษตั รยิ ไ์ อรลงั คะท่เี สดจ็ ออกผนวชเป็นชี จึงมพี ระดาริให้ อเิ หนา และ บุษบาอภิเษกกัน เพ่อื ให้กเุ รปนั และ ดาหากลับมารวมกนั เปน็ ราชอาณาจกั รเดยี วกันด่ังเดมิ อเิ หนาเปน็ กษัตริยท์ ที่ รงอานภุ าพทรงปราบปรามหัวเมือง นอ้ ยใหญใ่ หอ้ ยู่ในอานาจจนไดช้ อื่ ว่าเปน็ มหาราชพระองค์หนึง่ ในพระราชพงศาวดารชวา อยา่ งไรก็ตาม ราชวงศข์ องอเิ หนา รงุ่ เรอื งอย่เู พยี ง ๒๐๐ ปี จนเมอ่ื ประมาณ พ.ศ. ๑๗๖๔ ก็เสื่อม อานาจเพราะถูกกษัตริยอ์ ังรกะแย่งราชสมบตั ิและยา้ ยราชธานี ไปอย่ทู ่ีเมอื งสิงคสั ซารี (สิงหดั ส่าหร)ี แตใ่ นสมยั ต่อมาไดย้ า้ ยไป ภาพอิเหนา อยู่ท่เี มอื งมชั ปาหิต จนถึง พ.ศ. ๒๐๐๐ ชวากต็ กอยใู่ นอานาจของ ทมี่ า : http://santayakom.blogspot.com. ชาวอินเดียท่นี บั ถือศาสนาอิสลาม ภายหลังก็ตกมาเป็นเมืองขนึ้ ของโปรตเุ กสและฮอลันดา ได้รบั เอกราชและสถาปนาเปน็ ประเทศอนิ โดนเี ซียเม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๒ ชาวชวาถอื วา่ อิเหนาเป็นวรี บุรุษ เป็นผมู้ ีฤทธิ์ เรอ่ื งทเี่ ลา่ สบื ต่อกันมา จนกลายเป็นนทิ านจงึ เต็มไปด้วยอทิ ธฤิ ทธิ์ปาฏิหาริย์ เน่ืองจากนทิ านปันหยี หรือ อเิ หนาเปน็ เรื่องราว ทไี่ ดร้ บั ความนิยมจากชาวชวาเป็นอยา่ งมากเนื้อเร่อื งจงึ ปรากฏเปน็ หลายสานวนหลายฉบับ และเม่ือเขา้ สู่ ประเทศไทยฉบบั ท่ีตรงกับอิเหนาของเรานัน้ คือ ฉบับมาลัต ใชภ้ าษากวีของชวาโบราณ มาจากเกาะบาหลี ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรียาภัย จงั หวัดชุมพร ๕

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมังกหุ นงิ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เล่ม ๑ เรียนรทู้ ี่มา ใบงำนที่ ๑ คาส่งั ให้นักเรยี นทาเครอ่ื งหมาย √ หนา้ ขอ้ ที่ถูก และทาเคร่อื งหมาย X หน้าขอ้ ทผ่ี ิด ( ๑๐ คะแนน) คำตอบ ข้อควำม ๑. วรรณคดีเรือ่ ง อิเหนา มีท่ีมาจากพงศาวดารชวา ๒. ดินแดนชวาในอดีต คือ ประเทศอนิ โดนเี ซีย ในปจั จบุ ัน ๓. ประเทศอนิ โดนีเซียเคยเป็นเมืองขนึ้ ของฝร่ังเศส ๔. ต้นราชวงศ์ของอิเหนาในพงศาวดารชวา คอื ทา้ วกุเรปัน ๕. เรอื่ งอเิ หนา เขา้ มาในประเทศไทยตงั้ แตส่ มัยธนบรุ ี ๖. กษัตริย์ ไอรลงั คะ ไดช้ อ่ื ว่าเป็นมหาราชพระองค์หนึ่งในพงศาวดารของชวา ๗. กษัตริย์ ไอรลงั คะ พ่ายแพต้ อ่ กษตั รยิ ์องั รกะ ๘. ราชวงศ์ของอิเหนาเจรญิ รุ่งเรืองอยเู่ ป็นเวลา ๒๐๐ ปี ๙. ดินแดนชวาไดร้ บั เอกราชและสถาปนาเป็นประเทศอนิ โดนเี ซียเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๙๒ ๑๐. นิทานปนั หยีฉบบั ท่ตี รงกับอเิ หนาของไทยนั้น คือ ฉบับมาลตั ซง่ึ ใช้ภาษากวีของ ชวาโบราณ มาจากเกาะบาหลี ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรียาภัย จงั หวัดชมุ พร ๖

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อเิ หนา ตอน ศึกกะหมงั กุหนิง ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ เลม่ ๑ เรียนรูท้ ่มี า ใบควำมรูท้ ่ี ๒ ประวัตคิ วำมเป็นมำของเร่อื งอิเหนำในประเทศไทย เร่ืองอิเหนาเผยแพร่เข้ามาสูป่ ระเทศไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ในรชั สมยั ของพระเจ้าอยู่หัว บรมโกศ มีคากล่าวสืบเน่ืองกันมาว่าพระราชิดาในสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวบรมโกศกบั เจา้ ฟา้ สังวาล คือ เจา้ ฟ้า กุณฑลและเจ้าฟา้ มงกฎุ ได้ฟงั นิทานอิเหนา จากนางกานัลชาวมลายทู ี่ได้มาจากเมืองปัตตานี พระราชธิดาท้ัง สองพระองคท์ รงโปรดเรื่องนมี้ ากจงึ มีพระราชนพิ นธ์นทิ านเรื่องนี้ขน้ึ เจ้าฟา้ กณุ ฑลทรงนิพนธ์บทละคร เรื่องดา หลัง ส่วนเจ้าฟ้ามงกุฎทรงนิพนธ์เป็นละคร เรื่อง อิเหนา แต่คนท่ัวไปมักเรียกบทพระราชนิพนธ์ของท้ังสอง พระองค์นี้ อิเหนาใหญ่ และอเิ หนาเล็ก นิทานปันหยีของไทยจงึ มี ๒ สานวนแตน่ นั้ มา เมื่อแรกเริ่มสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศโปรดเกล้าฯ ให้นามาเล่นเป็นละครในทั้งสองเรื่อง แต่ เน่อื งจากอิเหนาเล็กมีเน้ือเร่ืองไมส่ ับสนเหมือนกบั อิเหนาใหญ่อีกทั้งช่ือตัวละครก็เรยี กไม่ยาก คนทั่วไปจึงนิยม อเิ หนาเลก็ มากกวา่ เม่ือเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ ๒ ในปี พ.ศ. ๒๓๑๐ ต้นฉบับวรรณคดี เร่ือง อิเหนา ทั้ง ๒ เร่ือง สูญหายไป ในมัยธนบุรีได้มีการรวบรวมวรรณคดีเก่า ๆ ที่ยังหลงเหลืออยู่มาไว้ในราชสานัก และ ได้มีการ แต่งวรรณคดีเพิ่มเติมเพ่ือรักษาเน้ือเรื่องไว้มิให้สูญหาย เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ครั้งดารงตาแหน่งเป็น หลวงสรวิชิต (หน) ได้แต่ง เร่ืองอิเหนาคาฉันท์ข้ึน แต่ไม่ได้แต่งท้ังเรื่องตัดตอนมาเฉพาะบางส่วนเท่านั้นโดย เริ่มต้ังแต่ อิเหนาเผาเมืองดาหาในวันอภิเษกของบุษบากับจรกา แล้วปลอมเป็นจรกาลักพานางบุษบาไปไว้ ในถ้าจนถึง ตอนกลับไปแก้สงสัยที่เมืองดาหา ระหว่างทางได้พบจรกาจึงทาทีคร่าครวญสงสารนางบุษบาเพ่ือ กลบเกลื่อนความผดิ สมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชก็ทรงพระราชนิพนธ์บทละคร อิเหนาข้ึน โดยยังคงเค้าโครงเรื่องเดิม ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้พระราชนิพนธ์ขึ้นมา ใหม่ท้ังหมดโดยใช้เค้าโครงเร่ืองของอิเหนาเล็ก เน่ืองจากทรงเล็งเห็นว่า พระราชนิพนธ์บทละคร อิเหนาใน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชมีเน้ือความเข้ากันไม่สนิทกับบทเม่ือคร้ังกรุงเก่าและนามา เล่นละครได้ไม่เหมาะ จึงทรงพระราชนิพนธ์ใหม่ให้สั้น และ สอดคล้องกับท่าราโดยรักษากระบวนการเดิม แล้วพระราชทานให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฯ กรมหลวงพิทักษ์มนตรีซึ่งเช่ียวชาญในการละคร ได้นาไปประกอบท่าราและฝึกซ้อมจนเห็นสมควรว่าดี แล้วจึงราถวายให้ทอดพระเนตรเพื่อให้มีพระบรมราช วินิจฉัยอีกคร้ัง กลอนบทละครรา เรื่องอิเหนาจึงได้เสร็จสมบูรณ์และได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่า เป็นยอดของกลอนบทละครรา ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรียาภัย จังหวัดชุมพร ๗

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมงั กหุ นิง ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ เลม่ ๑ เรียนรทู้ ่ีมา ใบงำนที่ ๒ คาสง่ั ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี (๑๐ คะแนน) ๑. เร่อื งอิเหนา เขา้ มาในประเทศไทยในรชั สมัยใด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. นทิ านปันหยี หรอื เรือ่ งอิเหนา เผยแพรเ่ ข้ามาสปู่ ระเทศไทยได้อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ใครเปน็ ผู้แต่งเร่ือง อเิ หนาเล็ก เม่ือคร้ังกรุงศรีอยธุ ยา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ใครเป็นผแู้ ต่งกลอนบทละคร เรื่อง ดาหลงั หรอื อิเหนาใหญ่ เมื่อครั้งกรุงศรีอยธุ ยา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. เหตใุ ดบทละครเรอ่ื งดาหลัง หรือ อเิ หนาใหญ่ จึงไมไ่ ดร้ บั ความนิยมเหมือนกบั อิเหนาเล็ก ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรยี าภัย จงั หวดั ชุมพร ๘

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อิเหนา ตอน ศกึ กะหมังกหุ นงิ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๔ เล่ม ๑ เรยี นร้ทู ่ีมา ๖. หลังจากเสยี กรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ ๒ ในปีพ.ศ. ๒๓๑๐ สง่ ผลกระทบต่อกลอนบทละครเร่ืองอิเหนา อย่างไรบ้าง ............................................................................................................................. ................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๗. ใครเปน็ ผู้แต่ง เรื่อง อเิ หนาคาฉนั ท์ ในสมยั ธนบุรี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘. พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัยได้ทรงพระราชนิพนธก์ ลอนบทละครเรื่อง อิเหนา ขึ้นมาใหม่ด้วยสาเหตุใด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ................................... ๙. พระราชนพิ นธ์กลอนบทละครเร่อื ง อเิ หนา ของพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้านภาลัยดาเนินเรอื่ ง ตามเคา้ โครงของอิเหนาสานวนใด ............................................................................................................................. ................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑๐.กลอนบทละครรา เร่ือง อเิ หนาพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัยไดร้ บั การ ยกย่องอยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ครูรสสุคนธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรยี าภัย จงั หวัดชุมพร ๙

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนงิ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๔ เล่ม ๑ เรียนรทู้ มี่ า ใบควำมรทู้ ่ี ๓ เร่อื งย่ออเิ หนำกอ่ นถึง ตอน ศึกกะหมังกหุ นิง ในดินแดนชวาแต่โบราณมีกษัตริย์ราชวงศ์หน่ึง คือ วงศ์อสัญแดหวา หรือ วงศ์เทวา กล่าวกันว่า แต่เดิมก่อนจะมีการก่อต้ังราชวงศ์น้ี เมืองหมันหยา ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่ย่ิงใหญ่และรุ่งเรืองมากเมืองหนึ่ง เจ้าเมืองมีธิดาสี่องค์ซ่ึงมีสิริโฉมงดงามมาก พระองค์คิดจะแต่งการสยุมพรให้กับธิดาท้ังสี่ แต่หากษัตริย์ที่คู่ควร ไม่ได้ ต่อมามีเหตุเกิดข้ึนคือมีพระขรรค์ชัยกับธงผุดข้ึนท่ีหน้าพระลาน ทาให้เกิดข้าวยากหมากแพง ชาวเมือง พากันเดือดรอ้ นโดยถว้ นท่วั เจา้ เมอื งหมนั หยาจึงปา่ วประกาศใหก้ ษตั รยิ เ์ มืองต่างๆ มาถอนพระขรรคก์ บั ธงออก เพ่ือแกอ้ าถรรพ์ ถา้ ผใู้ ดทาไดส้ าเรจ็ จะยกราชธิดาทัง้ สี่และสมบัตใิ ห้กง่ึ หนึง่ กษัตริยเ์ มืองตา่ งๆ พากันมาอาสา ท่ีจะถอนธงกับพระขรรค์แต่ก็ไม่มีใครสามารถทาได้ องค์ปะตาระกาหลา เทวดาที่มาสถิต ณ เขาไกรลาส ได้มอบหมายให้โอรสท้ังส่ี คือ กุเรปัน ดาหา กาหลัง และ สิงหัดส่าหรี ไปช่วยถอนธงกับพระขรรค์ได้ สาเร็จ แต่ เทวราชท้ังส่ีไม่ขอรับราชสมบัติจากท้าวหมันหยา หากขอเพียงแค่ราชธิดาไปเป็นคู่ครองและจะ ไปสร้างเมืองอยเู่ อง เทวาทงั้ สพ่ี ระองคพ์ าราชธิดาของทา้ วดาหาไปสรา้ งเมืองใหม่ในดินแดนที่ทรงพอพระทยั และได้ตง้ั ชอ่ื เมืองตามพระนามของจ้าวผู้ครองนครท้ังสี่ คือ กุเรปัน ดาหา กาหลัง และ สิงหัดส่าหรี ส่ีเมืองน้ี จึงนับเป็นเมืองที่ยิ่งใหญ่ด้วยเกียรติยศและศักด์ิศรี และเรียกวงศ์ตระกูลของตนเองว่าวงศ์อสัญแดหวา หรือ วงศ์เทวัญ เป็นที่ยอมรับและยกย่องของหัวเมืองน้อยใหญ่ และ เฉพาะสี่เมืองนี้เท่าน้ันท่ีสามารถต้ังตาแหน่ง มเหสีได้ ๕ องค์ อันไดแ้ ก่ ประไหมสุหรี มะเดหวี มะโต ลกิ ู และ เหมาหลาหงี ตามลาดับ ส่วนความเกย่ี วพนั ระหวา่ งวงศ์อสัญแดหวา กับเมอื งหมนั หยาน้ัน เรยี กได้วา่ เก่ยี วดองกนั เพราะวงศ์ อสัญแดหวารุ่นต่อๆ มาล้วนได้ธิดาเมืองหมันหยามาเป็นประไหมสุหรี ในสมัยต่อมาท้าวหมันหยามีพระธิดา ท่ีทรงพระสิริโฉมงดงามอีก ๓ พระองค์ คือ นิหลาอรตา ดาหราวาตี และจินดาส่าหรี ท้าวกุเรปันมาขอ นางนิหลาอรตาไปเป็นประไหมสุหรี ส่วนนางดาหราวาตีก็ถูกท้าวดาหาขอไปเป็นประไหมสุหรีเช่นเดียวกัน ท้าวดาหาและท้าวกุเรปันจึงสัญญากันว่า ถ้าหากฝ่ายหนึ่งมีพระโอรสและอีกฝ่ายมีพระราชธิดาก็จะให้หมั้น กันทนั ที สว่ นนางจินดาสา่ หรนี ั้นไดอ้ ภเิ ษกกบั โอรสท้าวมังกันและไดค้ รองเมืองหมนั หยา ท้าวกุเรปันมีโอรสองค์แรกกับมเหสีตาแหน่งลิกูช่ือว่ากะหรัดตะปาตี ต่อมามีโอรสกับประไหมสุหรี เปน็ หนมุ่ รปู งามและเก่งกล้าสามารถชื่ออิเหนาหรือระเดน่ มนตรี มพี ระธิดาช่ือวยิ ะดา สว่ นทา้ วดาหามพี ระธิดา กับประไหมสุหรีช่ือบุษบา และมีพระโอรสช่ือสียะตรา ท้าวกุเรปันหม้ันหมายนางบุษบาไว้ให้กับอิเหนา ส่วน ท้าวดาหา ก็หมั้นหมายวยิ ะดาไว้ใหก้ ับสียะตรา ครูรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรียาภยั จังหวดั ชุมพร ๑๐

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกหุ นงิ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ เลม่ ๑ เรียนรทู้ ี่มา ฝ่ายประไหมสหุ รเี มืองหมันหยา ได้ใหก้ าเนดิ พระธดิ าชือ่ จนิ ตะหราวาตี มอี ายรุ นุ่ ราวคราวเดยี วกนั กบั อิเหนา ทางด้านประไหมสุหรีของเมืองสิงหัดส่าหรีได้ให้กาเนิดพระโอรสช่ือ สุหรานากง และ เมืองกาหลังได้ กาเนิดธดิ ากบั ประไหมสหุ รีชอ่ื สกาหนึ่งหรัด ไดห้ มั้นหมายไวก้ ับสหุ รานากงและได้ให้กาเนิดพระธิดาอกี หนึ่งองค์ กับมเหสใี นตาแหนง่ ลิกูชื่อบุษบารากา เปน็ คหู่ มายของกะหรดั ตะปาตี เมื่ออเิ หนาเจรญิ วยั จนอายุได้ ๑๕ ชันษา กม็ ีความเช่ยี วชาญเกง่ กล้าสมเปน็ โอรสกษัตรยิ ์ ตอ่ มา พระมารดาของประไหมสุหรีเมืองหมันหยา ซ่ึงเป็นพระอัยยิกาของอิเหนา บุษบา และ จินตะหรา ทิวงคต ท้าวหมันหยาจึงมีราชสารแจ้งไปยังเมืองกุเรปัน และ เมืองดาหา ท้าวกุเรปันจึงให้อิเหนานาเคร่ืองเคารพศพ ไปร่วมงาน ครั้นอิเหนาไปถึงเมืองหมันหยา ได้เข้าเฝ้าท้าวหมันหยา และพบกับ จินตะหรา ธิดาเจ้าเมืองจึง นกึ รักคดิ ใครไ่ ด้นางเป็นชายา จนพิธถี วายพระเพลงิ เสรจ็ แล้วกย็ ังไม่ยอมกลบั เมืองกเุ รปนั บทชมโฉมนางจนิ ตะหรา “ งามงอนออ่ นระทวยนวยแน่ง ดาแดงนวลเนือ้ สองสี ผ่องพกั ตร์ผวิ พรรณดงั จนั ทรี นางในธานไี มเ่ ทยี มทนั ” (อิเหนา : พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลัย) ภาพนางจินตะหรา ทีม่ า : http://www.thaigoodview.com/node/68976 ท้าวกุเรปันเห็นว่างานศพก็เสร็จสิ้นแล้วจึงให้คนถือหนังสือไปตามตัวอิเหนากลับ โดยบอกเหตุผลว่า พระมารดาทรงครรภแ์ ก่ใกล้ประสูติ อิเหนาต้องจาใจกลับวงั แต่ได้เขียนเพลงยาวและฝากแหวนสองวง ขอแลก กับสไบของนางจินตะหรา เมื่ออิเหนาถึงเมืองกุเรปัน ก็ทราบว่าประไหมสุหรีให้กาเนิดธิดา ชื่อวิยะดา และ ท้าวดาหาได้สู่ขอตุนาหงันไว้ให้กับสียะตราน้องชายบุษบา เม่ืออิเหนากลับมากุเรปันก็คร่าครวญคิดถึงแต่ จินตะหรา ท้าวกุเรปันจึงมีราชสารเร่งรัดไปยังท้าวดาหาเพื่อจะจัดการวิวาห์ระหว่างอิเหนากับบุษบาให้เป็นท่ี เรียบร้อย ฝ่ายอิเหนาเมอ่ื ทราบวา่ จะต้องแต่งงานกบั บษุ บา จงึ ออกอุบายขออนุญาตท้าวกุเรปนั ออกประพาสป่า แล้วปลอมตัวเป็นนายโจรช่ือ มิสารปันหยีให้พ่ีเลี้ยงและไพร่พลปลอมเป็นชาวบ้านป่าท้ังส้ินเดินทางมุ่งหน้าสู่ ภูเขาปะราปีใกลเ้ มืองหมนั หยา กล่าวถงึ กษัตรยิ ส์ ามพน่ี ้องอีกวงศ์หนึง่ องค์แรกครองเมอื งปนั จะรากัน มธี ิดาช่อื สการะวาตี องค์รอง ครองเมืองปักมาหงัน มีธิดาชื่อ มาหยารัศมี มีโอรสช่ือ สังคามาระตา องค์ท่ีสามครองเมืองบุศสิหนา เพ่ิงไป สูข่ อนางดรสา ธดิ าเมอื งปะตาหรามาเป็นชายา ระหว่างเดนิ ทางกลับจากพธิ ีววิ าห์ พี่น้องทง้ั สามเมืองก็แวะพัก นมัสการฤาษสี ังปะลิเหงะซึ่งบาเพ็ญพรตอยเู่ ชงิ เขาปะราปี ครูรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรยี าภยั จงั หวดั ชมุ พร ๑๑

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกหุ นงิ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๔ เล่ม ๑ เรยี นรูท้ ่มี า ระหว่างทไ่ี พร่พลของอิเหนาพกั อยทู่ เี่ ชงิ เขาปะราปี ประสันตาพ่เี ล้ียงของอเิ หนาได้ล่วงลา้ ไปมีเร่อื ง วิวาทกับไพร่พลของท้าวบุศสิหนา ท้าวบุศสิหนายกทัพมารบกับอิเหนาซึ่งใช้ชื่อว่า มิสารปันหยี ท้าวบุศสิหนา ถูกมิสารปันหยีแทงตกม้าตาย ท้าวปันจะรากันและท้าวปักมาหงันทราบจากฤาษีสังปะลิเหงะว่า มิสารปันหยี คอื อเิ หนา จงึ ยอมอ่อนน้อมไม่สรู้ บด้วย ทั้งยกสการะวาตี มาหยารศั มี และ สงั คามาระตาใหแ้ กอ่ ิเหนาดว้ ย จากน้ันอิเหนาก็เขา้ เมืองหมนั หยา ได้ลกั ลอบเข้าหาจินตะหราได้นางเปน็ ชายา แล้วไดส้ องนางคือ มาหยารัศมี สะการะวาตีเป็นชายา และรับสงั คามาระตาเปน็ นอ้ งชาย ท้าวกเุ รปนั ส่งสารเรยี กอเิ หนากลบั เมืองถงึ สองครั้ง พร้อมท้งั นัดวนั อภเิ ษกระหว่างอิเหนากับบษุ บา แต่อิเหนาไม่ยอมกลับและสั่งความตัดรอนนางบุษบา ท้าวกุเรปันและท้าวดาหาทราบเรื่องก็ขัดเคืองพระทัย ท้าวดาหาถึงกับหลดุ ปากวา่ ถา้ ใครมาขอบุษบาก็จะยกให้ จรกาเจ้าชายรูปชัว่ ตัวดา ซ่ึงเป็นระตูเมืองเลก็ เมืองหนึ่งและเป็นอนุชาของท้าวล่าสาแตอ่ ยากได้ชายา รูปงามจึงใหช้ ่างวาดรปู ราชธดิ าเมืองตา่ ง ๆ มาให้ ช่างวาดผู้หนงึ่ ได้เดนิ ทางไปเมืองดาหาและวาดรูปนางบุษบา มาได้สองรปู ระหว่างทางองคป์ ะตาระกาหลาไม่พอพระทยั ทอ่ี เิ หนาหนกี ารแต่งงานจงึ บนั ดาลใหร้ ปู นางบุษบา หายไปรูปหน่ึง จรกาได้เห็นรูปของนางบุษบาก็หลงใหลใฝ่ฝันถึงจนถึงข้ันสลบไปในทันทีท่ีเห็นรูปภาพ เม่ือฟื้นมาจึงขอให้ระตูล่าสาเชษฐาไปสูข่ อให้ ท้าวดาหากาลังโกรธอิเหนาอย่ปู ระกอบกับได้พล้ังปากไปแลว้ ว่า ถ้ามีใครมาสขู่ อกจ็ ะยกให้ จึงจาใจยกนางบุษบาใหก้ ับจรกาและกาหนดการววิ าห์ภายในสามเดอื น บทชมโฉมนางบุษบา “ พักตร์น้องละอองนวลเปลง่ ปล่งั ดังดวงจนั ทรว์ ันเพ็งประไพศรี อรชรออ้ นแอ้นท้งั อนิ ทรยี ์ ดังกนิ รีลงสรงคงคาลยั งามจรงิ พริ้งพรอ้ งท้ังสารพางค์ ไม่ขดั ขวางเสียทรงทีต่ รงไหน ” ภาพนางบษุ บา (อิเหนา : พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัย) ที่มา : https://pantip.com/topic/34103786 กล่าวถึงกษัตริย์อีกวงศ์หน่ึงสามพี่น้อง องค์พี่ครองเมืองกะหมังกุหนิงมีพระโอรสรูปงามชื่อวิหยาสะกา องค์รองครองเมอื งปาหยังมีพระธิดา ๒ องค์ คือ นางรัตนาระตกิ า และ รัตนาวาตี องคส์ ดุ ท้องครองเมือง ประหมันสลัดมีพระโอรสช่ือ วหิ รากะระตา มพี ระธิดาช่ือ บษุ บาวลิ ิศ อยูม่ าวิหยาสะกา โอรสทา้ วกะหมังกุหนิง เสด็จประพาสป่า ได้พบกับภาพวาดของนางบุษบาท่ีองค์ปะตาระกาหลาบันดาลให้หายไปก็คล่ังไคล้ใหลหลง จนถึงกับสลบไปเช่นเดียวกันกับจรกา ท้าวกะหมังกุหนิงรักและเห็นใจพระโอรสมากจึงให้คนไปสืบหาว่านาง ในภาพเป็นใคร เมื่อทราบแล้วจึงส่งราชทูตไปสู่ขอนางบุษบาจากท้าวดาหาแต่ท้าวดาหาปฏิเสธเพราะได้ ยกนางบษุ บาใหก้ บั จรกาไปแลว้ จงึ ทาให้เกดิ ศกึ ชงิ นางขึน้ ศึกในตอนน้เี รียกว่า ศกึ กะหมงั กุหนงิ ครูรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรยี าภยั จงั หวดั ชุมพร ๑๒

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อเิ หนา ตอน ศึกกะหมังกหุ นงิ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เลม่ ๑ เรียนรู้ท่ีมา ใบงำนที่ ๓ ตอนที่ ๑ ตวั ละครฝ่ายชายท่กี าหนดให้ต่อไปนเ้ี ปน็ ค่คู รองของใคร ให้เขียนคาตอบลงไปในตาราง (๑๐ คะแนน) คาส่ัง ก. ข. ก. อเิ หนา ข. สียะตรา ค. สุหรานากง ค. กะหรัดตะปาตี จ. ท้าวดาหา จ. ทา้ วกุเรปัน ง. ท้าวหมันหยา ขอ้ ตวั ละครฝำ่ ยหญิง ตัวละครฝ่ำยชำย ๑. บุษบา ๒. ดาหราวาตี ๓. จินดาส่าหรี ๔. จนิ ตะหรา ๕. มาหยารัศมี ๖. นิหลาอรตา ๗. สกาหนึ่งหรดั ๘. บุษบารากา ๙. สการะวาตี ๑๐. วิยะดา ครูรสสุคนธ์ เพชรศร โรงเรียนศรียาภยั จงั หวดั ชมุ พร ๑๓

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อเิ หนา ตอน ศึกกะหมังกุหนงิ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๔ เลม่ ๑ เรียนรู้ท่ีมา ตอนที่ ๒ ใหน้ ักเรียนเลอื กคาตอบท่ีถกู ตอ้ งท่ีสุดเพยี งคาตอบเดียวแลว้ กาลงในกระดาษคาตอบ คาส่งั (๑๐ คะแนน) ๑. ตน้ ตระกูลของวงศอ์ สัญแดหวาคือข้อใด ๑๔ ก. ทา้ วกเุ รปัน ข. ท้าวดาหา ค. ทา้ วหมันหยา ง. องคป์ ะตาระกาหลา ๒. เมอื งใดไม่ได้อยู่ในวงศ์อสญั แดหวา ก. ดาหา ข. กาหลัง ค. หมันหยา ง. สงิ หัดส่าหรี ๓. อะไรคือเหตุผลที่ทาให้อเิ หนาได้พบกบั นางจนิ ตะหราเป็นครั้งแรกทีเ่ มืองหมนั หยา ก. อิเหนาไปทาศึกทเี่ มืองหมนั หยา ข. อเิ หนาถือราชสาส์นของทา้ วกุเรปนั ไปใหท้ ้าวหมันหยา ค. ทา้ วหมนั หยามรี าชสาสน์ เชญิ ใหอ้ ิเหนาไปเยี่ยมชมเมืองหมันหยา ง. ท้าวกุเรปนั ให้เป็นตัวแทนนาเคร่อื งเคารพศพพระอัยกีไปที่เมอื งหมันหยา ๔. อเิ หนาปลอมตวั เป็นโจรป่า ชือ่ มิสารปันหยี ดว้ ยจดุ ประสงคใ์ ดเปน็ สาคัญ ก. เข้าปา่ เพ่ือลา่ สตั ว์ ข. ไปชิงตวั นางดรสา ค. ไปหานางจินตะหรา ง. ไปปราบระตบู ุศสหิ นา ๕. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. นางดรสาเปน็ ชายาของระตบู ุศสหิ นา ข. มาหยารศั มีเป็นธดิ าของระตปู ักมาหงัน ค. ระตปู นั จาระกนั เป็นพชี่ ายของระตูปกั มาหงัน ง. สงั คามาระตาเปน็ น้องชายของนางสะการะวาตี ครูรสสุคนธ์ เพชรศร โรงเรียนศรยี าภยั จังหวัดชมุ พร

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อเิ หนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นงิ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ เล่ม ๑ เรียนรู้ท่ีมา ๖. เหตุใดอเิ หนาจงึ ปฏิเสธการแต่งงานกบั นางบุษบา ก. คดิ ว่านางบุษบาไมส่ วย ข. กลวั ท้าวหมนั หยาลงโทษ ค. ได้นางจินตะหราเปน็ ชายาแล้ว ง. นางจินตะหราสงั่ ใหป้ ฏิเสธการแตง่ งาน ๗. ตวั ละครใดตา่ งวงศ์จากตัวละครอน่ื ๆ ก. ระตูล่าสา ข. ระตปู าหยงั ค. วหิ ยาสะกา ง. ทา้ วกะหมังกุหนงิ ๘. “ ท้าวดาหาโกรธอิเหนา เน่อื งจากอิเหนาปฏเิ สธการอภเิ ษกกับนางบุษบา และแม้จะทราบ ว่าจรการูปช่ัว ตัวดา ตา่ ศกั ดิ์ แต่เมอ่ื ไดพ้ ลงั้ ปากไปแล้วว่าใครมาขอกจ็ ะยกให้ จึงจาใจยกบษุ บา ให้จรกาและกาหนดการอภเิ ษกภายในสามเดือน ” ข้อใดไม่สามรถอนมุ านได้จากข้อความขา้ งต้น ก. ทา้ วดาหาเป็นผูถ้ ือสจั จะวาจา ข. ท้าวดาหาตดั สินใจโดยไม่คดิ ให้รอบคอบ ค. ท้าวดาหามกั ตัดสนิ ใจโดยใชอ้ ารมณ์มากกว่าเหตุผล ง. ท้าวดาหาวางแผนใหอ้ ิเหนามาชงิ นางบุษบาจากจรกา ๙. เหตใุ ดรปู วาดของนางบุษบาท่ีชา่ งวาดนามาใหจ้ รกาจึงเหลือเพยี งรปู เดียว ก. ลมพดั หอบเอารปู นางบษุ บาไปหน่งึ รูป ข. ช่างวาดนาภาพไปขายใหก้ บั ท้าวกะหมังกุหนงิ ค. ชา่ งวาดภาพลมื รปู ภาพอกี รปู หน่งึ ไวท้ ่ีเมืองดาหา ง. องค์ปะตาระกาหลาบันดาลให้รปู ภาพหายไปหนึง่ รูป ๑๐. ใครเปน็ ผู้พบรปู วาดของนางบุษบาทห่ี ายไป ก. อเิ หนา ข. วหิ ยาสะกา ค. ระตปู าหยงั ง. ทา้ วกะหมังกุนงิ ครูรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรียาภยั จังหวดั ชมุ พร ๑๕

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อิเหนา ตอน ศกึ กะหมงั กุหนิง ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ เล่ม ๑ เรียนรู้ท่มี า ใบควำมรทู้ ่ี ๔ พระรำชประวัติพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยลาดับที่ ๒ แห่งราชวงศ์จักรี ทรงประสูติเม่ือ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ ตรงกับวันพุธ ข้ึน ๗ ค่า เดือน ๓ ปีกุน มีพระนามเดิมว่า \"ฉิม\" ( สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ) พระองค์ทรงเป็นพระบรมราชโอรสองค์ท่ี ๔ ใน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และ กรมสมเด็จพระอมรินทรามาตย์พระบรมราชชนนี พนั ปหี ลวง ประสูติ ณ บา้ นอมั พวา แขวงเมืองสมทุ รสงคราม ขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลก มหาราช เปน็ หลวงยกกรบตั รเมืองราชบุรี พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลัยทรง เขา้ รับการศึกษา จากวดั ระฆังโฆสิตาราม โดยฝากตวั เปน็ ศิษย์กบั พระวันรตั (ทองอย)ู่ เมอื่ พระชนมายุ ได้ ๘ พรรษา พระองค์ได้ตามเสด็จพระบรมชนกนาถ ไปราชการสงครามด้วย และเม่อื พระองค์มีพระชนมายุได้ ๑๖ พรรษา สมเด็จพระบรมชนกนาถก็ได้ปราบดาภเิ ษกขึน้ เป็นพระมหากษตั ริย์ พระนามว่า พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก พระองค์จึงไดร้ ับ การสถาปนาพระยศข้ึนเป็น สมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอเจ้าฟา้ กรมหลวง อิศรสุนทร เมื่อพระองค์ทรงมีพระชนมายคุ รบ ๒๒ พรรษา ก็ได้ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัย ทรงผนวช ณ วดั พระศรีรัตนศาสดารามในพระบรมมหาราชวงั และ ที่มา : https://sites.google.com/site/pluemroy32/ เสดจ็ จาพรรษาท่วี ัดสมอราย (วดั ราชาธวิ าส) อยนู่ าน ๓ เดอื น (๑ พรรษา) จงึ ทรงลาผนวช phra-rach-prawati-rachkal-thi-2 ต่อมาในปี พ. ศ. ๒๓๔๙ พระองค์ทรงได้รับสถาปนาเล่ือนยศข้ึนเป็น กรมพระราชวังบวรสถานมงคล หลังจากนั้นอีกเพียง ๒ ปี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จสวรรคต พระองค์จึง เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ลาดับที่ ๒ แห่งราชวงศ์จักรี พระนามว่า พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลัย เมอื่ วนั ที่ ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ ขณะมพี ระชนมายุ ๔๒ พรรษา ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรียาภัย จังหวดั ชมุ พร ๑๖

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนงิ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ เล่ม ๑ เรยี นรู้ท่มี า พระราชกรณียกจิ ที่สาคญั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั ทรงเอาพระทยั ใส่ทานุบารุงบา้ นเมือง ให้มีความเจรญิ รงุ่ เรืองในทกุ ๆ ดา้ น มีพระราชกรณียกิจที่สาคญั ๆ ในดา้ นต่าง ๆ ดังนี้ ๑. ด้านการเมอื งการปกครอง พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ทรงประกอบพระราช กรณียกิจด้านการเมืองปกครองโดยยังคงรูปแบบการปกครองแบบเดิมแต่มีการตั้งเจ้านายท่ีเป็นเชื้อพระวงศ์ เข้าดูแลบริหารงานราชการตามหน่วยงานต่างๆ เช่น กรมพระคลัง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้า ลูกยาเธอ กรมหมน่ื เจษฎาบดินทร์เปน็ ผูก้ ากับดูแล เป็นต้น ส่วนด้านการออกและปรับปรุงกฎหมายในการปกครองประเทศท่ีเอ้ือประโยชน์แก่ประชาชนมากข้ึน ได้แก่ พระราชกาหนดสักเลก โดยพระองค์โปรดให้ดาเนินการสักเลกหมู่ใหม่ เปล่ียนเป็นปีละ ๓ เดือน ทาให้ ไพร่สามารถประกอบอาชีพได้ นอกจากน้ียังมีการออกกฎหมายว่าด้วยสัญญาท่ีดิน รวมถึงพินัยกรรมว่าต้อง ทาเป็นลายลักษณ์อักษร และกฎหมายที่สาคัญท่ีพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้กาหนดขึ้นในรัชสมัยของพระองค์ คือ กฎหมายหา้ มซ้ือขายสูบฝน่ิ ๒. ดา้ นเศรษฐกจิ พระราชกรณยี กิจดา้ นเศรษฐกจิ ทีส่ าคัญคือการรวบรวมรายได้จากการค้าขาย กับต่างประเทศ ซ่ึงในสมัยนี้ได้มีการเรียกเก็บภาษีอากรแบบใหม่คือ การเดินสวนและการเดินนา การเดินสวน เปน็ การแตง่ ตั้งเจ้าพนักงานไปสารวจพืน้ ทีเ่ พาะปลูกของราษฎร เพื่อคดิ อัตราเสียภาษีอากรท่ีถูกต้อง ทาให้เกิด ความยตุ ิธรรมแกเ่ จ้าของสวน ส่วนการเดนิ นาคลา้ ยกับการเดนิ สวน แต่ใหเ้ ก็บหางข้าวแทนการเกบ็ ภาษอี ากร ๓. ดา้ นความสมั พนั ธก์ บั ตา่ งประเทศ ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั ไดม้ กี าร เจริญสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศทั้งประเทศเพื่อนบ้าน เช่น พม่า ญวน เขมร มลายู จีน และประเทศในทวปี ยุโรป เชน่ โปรตเุ กส องั กฤษ โดยมคี วามสมั พนั ธท์ งั้ ในทางการเมืองและการค้าขาย ๔. ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงให้ความสาคญั ต่อการ ฟนื้ ฟพู ระพทุ ธศาสนามาก ในรชั สมัยของพระองคม์ ีการส่งสมณทูตไปยงั ศรีลังกา และพระองค์ทรงโปรดเกล้าฯ ให้มีการปฏิสังขรณ์วัดต่างๆ ได้แก่ วัดแจ้ง และพระราชทานนามใหม่ว่า วัดอรุณราชวราราม ให้เป็นวัดประจา รัชกาล และโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์วัดท้ายตลาด และพระราชทานนามใหม่ว่า วัดพุทไธสวรรค์ อีกทั้งยัง ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดอีกหลายวัด อาทิ วัดหงส์รัตนาราม วัดหนัง วัดบวรมงคล วัดราชาธิวาส วัดราชบูรณะ และวัดโมฬโี ลกยาราม รวมทงั้ ทรงจาหลกั บานประตูพระวหิ ารศรศี ากยมุนที ีว่ ัดสทุ ศั น์ฯ พระองค์ทรงป้ันหุ่นพระพักตร์พระพุทธธรณิศราชโลกนาถดิลก พระประธานในวัดอรุณฯ และทรงป้ัน หุ่นพระพักตร์พระปฏิมาพระประธานในวัดราชสิทธารามด้วยพระองค์เอง รวมท้ังยังทรงโปรดเกล้าฯ ให้มี การแก้ไขปรับปรุงการสอนพระปริยัติธรรม และโปรดเกล้าฯ ให้มีการแปลบทสวดมนต์จากภาษาบาลีเป็น ภาษาไทย รวมถงึ ซอ่ มแซมพระไตรปิฎกฉบับที่ขาดหายไป ครรู สสุคนธ์ เพชรศร โรงเรียนศรียาภยั จงั หวัดชมุ พร ๑๗

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อเิ หนา ตอน ศึกกะหมงั กุหนงิ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ เล่ม ๑ เรียนร้ทู มี่ า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้มีการร้ือฟื้นพระราชพิธีต่างๆ ที่เคยมีในอดีต ได้แก่ พระราชพิธีวิสาขบูชา ท่ีเคยมีในยุคสมัยของกรุงสุโขทัยให้กลับมามีความสาคัญอีก พระราชพิธีลงสรง และพระราชพธิ อี าพาธพินาศ เม่อื เกดิ อหวิ าตกโรคระบาด ๕. ดา้ นศิลปกรรม พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั ทรงสนพระทยั และทรงทานบุ ารงุ ศิลปวัฒนธรรมของชาติทุกแขนง ไม่ว่าจะเป็น ด้านการช่าง ได้แก่ งานปั้นพระประธานในพระอุโบสถ วัดอรุณราชวราราม และ วัดราชสิทธาราม งานแกะสลักบานประตูพระวิหารที่วัดสุทัศน์เทพวราราม การสร้างสวนขวาในพระบรมมหาราชวัง ด้านการละคร ทรงฟ้ืนฟูการละคร โดยทรงให้มีการซ้อมท่ารา แบบแผนประกอบการแตง่ บทพระราชนิพนธ์ การละครมีมาตรฐานในการรา เพลง และบท เป็นแบบอยา่ งของ ละครสบื มาจนถึงปัจจบุ นั ด้านดนตรี ทรงมีความชานาญในเครื่องดนตรี คือ ซอสามสาย และได้ทรงพระราชนิพนธ์เพลง บุหลัน ลอยเลื่อน หรอื บหุ ลันลอยฟา้ ซง่ึ เป็นเพลงทีม่ ีความไพเราะมาก นอกจากนี้ทรงริเริ่มใหม้ ีการขับเสภาประกอบ ป่พี าทยอ์ ีกดว้ ย ๖. ดา้ นวรรณคดี ทรงเปน็ กวีทีม่ ีพระปรชี าสามารถ และทรงสนับสนนุ กวีใหแ้ ตง่ วรรณคดีกันอยา่ ง แพร่หลาย มีกวีท่ีสาคัญ ๆ นอกจากพระองค์อีกหลายคน ได้แก่ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (รัชกาลท่ี ๓) สุนทรภู่ นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) พระยาตรังคภูบาล เป็นต้น นับได้ว่าสมัยของพระองค์นี้เป็นยุคทองแห่ง วรรณคดีอีกยุคหนงึ่ ทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดสี าคญั ๆ ไว้หลายเร่ือง ได้แก่ บทละครทงั้ ละครในและละคร นอก มีหลายเร่ืองท่ีมีอยู่เดิมและทรงนามาแต่งใหม่ เพื่อให้ใช้ในการแสดงได้ เช่น รามเกียรติ์ อุณรุท และอเิ หนา โดยเรือ่ งอิเหนาน้ี เรื่องเดมิ มีความยาวมาก ไดท้ รงพระราชนิพนธ์ใหม่ตั้งแตต่ ้นจนจบ เปน็ เรอื่ งยาว ท่ีสุดของพระองค์ วรรณคดีสโมสรในรัชกาลท่ี ๖ ได้ยกย่องให้เป็นยอดบทละครราท่ีแต่งดี ยอดเย่ียมทั้ง เนื้อความ ทานองกลอนและกระบวนการเล่นทง้ั ร้องและรา ผลงานดา้ นวรรณคดขี องพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั มีดังน้ี - กลอนบทละครเรื่องอิเหนา - กลอนบทละครเรื่องรามเกียรติ์ - กลอนบทละครนอก ๕ เร่ือง ไดแ้ ก่ ไชยเชษฐ์ มณีพไิ ชย คาวี สังข์ทอง และ ไกรทอง - กาพย์เห่ชมเคร่ืองคาวหวานและวา่ ด้วยงานนกั ขัตฤกษ์ - บทพากย์โขน ตอน นางลอย นาคบาศ พรหมมาสตร์ และ เอราวณั - เสภาขนุ ชา้ งขุนแผน - ตอนพลายแกว้ เปน็ ชูก้ บั นางพมิ , - นางวนั ทองหงึ นางลาวทอง - ตอนขุนแผนขึน้ เรือนขนุ ชา้ งได้นางแก้วกิรยิ า - ตอนขนุ แผนพานางวันทองหนี ครรู สสุคนธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรยี าภัย จงั หวัดชุมพร ๑๘

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อเิ หนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นงิ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ เล่ม ๑ เรยี นรทู้ ี่มา ด้วยผลงานด้านภาษา ศิลปะ และวัฒนธรรมของพระองค์เป็นที่ประจักษ์เด่นชัดแก่สายตาชาวโลก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยจึงทรงได้รับการเทิดพระเกียรติจากองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก (UNESCO) เนื่องในอภิลักขิตสมัยครบ ๒๐๐ ปีแห่งพระบรมราช สมภพเม่อื ๒๔ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๑๑ เพื่อเทิดพระเกียรติในฐานะบุคคลสาคัญของโลก รัฐบาลไทยจึงได้กาหนดให้วันท่ี ๒๔ กุมภาพันธ์ ของทกุ ปีเป็นวันศิลปนิ แหง่ ชาติมาจนถงึ ทกุ วนั นี้ เสดจ็ สวรรคต พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัยทรงพระประชวรด้วยโรคพิษไข้ ทรงไมร่ สู้ ึกพระองค์เป็นเวลา ๘ วนั พระอาการประชวรก็ได้ทรดุ ลงตามลาดับ และเสดจ็ สวรรคตเมื่อ วันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ สริ ิรวมพระชนมพรรษาได้ ๕๗ พรรษา และครองราชยส์ มบตั ไิ ด้ ๑๕ ปี ครรู สสุคนธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรียาภัย จงั หวัดชุมพร ๑๙

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมังกหุ นิง ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔ เลม่ ๑ เรียนรู้ท่ีมา ตอนท่ี ๑ คาสั่ง ใบงำนที่ ๔ ใหน้ กั เรยี นจับคขู่ ้อความให้สัมพันธ์กนั โดยนาตัวเลอื กท่กี าหนดให้เติมหลังข้อความ ในตาราง (๑๐ คะแนน) ก. พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ข. การเดนิ สวน การเดนิ นา ค. ๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ ง. ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ จ. เพลงบหุ ลนั ลอยเลือ่ น ฟืน้ ฟูการละคร ฉ. ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ ช. สง่ สมณทูตไปยงั ศรีลงั กา ร้อื ฟ้นื พระราชพิธีวันวสิ าขบูชา ซ. กฎหมายห้ามซ้ือขายสบู ฝนิ่ ฌ. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช ญ. ฉมิ ฎ. กรมสมเด็จพระอมรนิ ทรามาตยพ์ ระบรมราชชนนีพันปีหลวง ฏ. กฎหมายตราสามดวง คำตอบ ขอ้ ควำม ๑. พระนามเดิม ๒. วนั ประสตู ิ ๓. พระราชบิดา ๔. พระราชมารดา ๕. วันพระบรมราชาภิเษก ๖. พระราชกรณยี กิจด้านเศรษฐกจิ ๗. พระราชกรณียกิจด้านการเมืองการปกครอง ๘. พระราชกรณียกจิ ดา้ นดา้ นสงั คมและ วัฒนธรรม ๙. พระราชกรณียกจิ ด้านดา้ นศิลปกรรม ๑๐.เสดจ็ สวรรรคต ครูรสสุคนธ์ เพชรศร โรงเรียนศรียาภยั จังหวัดชุมพร ๒๐

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นงิ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เลม่ ๑ เรียนรู้ทีม่ า ตอนท่ี ๒ คาส่ัง วรรณคดีทีก่ าหนดให้ต่อไปน้ี ให้นักเรียนขดี เส้นใต้ช่ือวรรณคดีทไ่ี มใ่ ช่ผลงาน การพระราชนพิ นธข์ องพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั (๑๐ คะแนน) ขอ้ ช่ือวรรณคดี ๑. บทละครนอก เรือ่ ง แกว้ หนา้ มา้ ลกั ษณวงศ์ มณีพชิ ยั ๒. บทพากย์โขน ตอน นางลอย หนุมานเผากรงุ ลงกา ทศกัณฐ์ล้ม ๓. บทละครใน เร่ือง อิเหนา ศกนุ ตลา อุณรุท ๔. เสภาขุนช้างขุนแผน ตอน พลายแก้วเปน็ ชูก้ บั นางพิม ขุนแผนลุแก่โทษ กาเนดิ พลายงาม ๕. กาพย์พระไชยสรุ ิยา กาพยเ์ ห่ชมเคร่อื งคาวหวานว่าด้วยงานนกั ขตั ฤกษ์ กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง ๖. บทละครนอก เรือ่ ง ไกรทอง จนั ทโครพ กากี ๗. บทพากย์โขน ตอน จองถนน กาเนิดหนมุ าน เอราวัณ ๘. เสภาขุนชา้ งขนุ แผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ขุนแผนพานางวนั ทองหนี กาเนิดพลายชมุ พล ๙. บทละครนอก เรอ่ื ง ไชยเชษฐ์ ปลาบทู่ อง พิกุลทอง ๑๐. บทละครใน เรื่อง รามเกียรติ์ ดาหลงั มโนราห์ ครรู สสุคนธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรียาภยั จังหวัดชมุ พร ๒๑

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกหุ นิง ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เล่ม ๑ เรยี นรู้ท่ีมา ใบควำมรทู้ ี่ ๕ ละครรา ละครรา เปน็ ศิลปะการแสดงแขนงหนง่ึ ของไทย ทปี่ ระกอบด้วยท่ารา ดนตรบี รรเลง และบทขับรอ้ ง เพื่อดาเนินเรื่อง การแสดงละครราแบ่งผู้แสดงออกเป็น ๓ ประเภท คือ ตัวพระ ตัวนาง และตัวประกอบ มกี ารแตง่ องคท์ รงเครื่องตามบทด้วยเส้ือผา้ อาภรณ์และเครื่องประดับท่ีงามระยับจับตาตา มีทา่ ราตามบทร้อง ประสานทานองดนตรีท่ีบรรเลงจังหวะช้า เร็ว เร้าอารมณ์ให้เกิดความรู้สึกคึกคัก สนุกสนาน หรือเศร้าโศก ตัวละครส่ือความหมายบอกกล่าวตามอารมณ์ด้วยภาษาท่าทาง โดยใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกาย วาดลีลาตาม คาร้อง จังหวะ และเสยี งดนตรี ละครราของไทยมีหลายประเภท เชน่ ละครชาตรี ละครใน ละครนอก ซง่ึ ละครทง้ั สามประเภท มลี ักษณะของการแสดงทแ่ี ตกต่างกันดังตอ่ ไปนี้ ๑. ละครชาตรี เป็นละครที่มมี าแต่สมัยโบราณ และมอี ายเุ กา่ แกก่ วา่ ละครชนิดอื่น ๆ มีลกั ษณะ เป็นละครเร่คล้ายของอินเดียท่ีเรียกว่า “ ยาตรี ” หรือ “ ยาตรา ” แปลว่าเดินทางท่องเท่ียว ละครยาตราน้ี คือละครพ้ืนเมืองของชาวเบงคลีในประเทศอินเดีย นิยมเล่นเร่ือง “ คีตโควินท์ ” ซึ่งเป็นเร่ืองอวตารของ พระวิษณุหรือพระนารายณ์ ตัวละครมีเพียง ๓ ตัว คือ พระกฤษณะ นางราธะ และนางโคปี ละครยาตรา เกิดขึ้นในอินเดียนานแล้ว ส่วนละครราของไทยเพิ่งจะเริ่มเล่นในสมัยตอนต้นกรุงศรีอยุธยา จึงมีโอกาส เป็นไปได้ที่ละครไทยอาจได้แบบอย่างจากละครอินเดีย เนื่องจากศิลปวัฒนธรรมของอินเดียแพร่หลายมายัง ประเทศต่าง ๆ ในแหลม อินโดจีน เช่น พม่า มาเลเซีย เขมร และไทย จึงทาให้ประเทศเหล่านี้มีวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีที่คล้ายกนั อยู่มาก ละครชาตรีโดยสว่ นใหญ่นยิ มเล่นเรอื่ ง มโนหร์ า ๒. ละครนอก มีมาตง้ั แตค่ รัง้ กรุงศรีอยธุ ยา เป็นละครทีแ่ สดงกันนอกราชธานี สนั นิษฐานวา่ พฒั นา มาจากการละเล่นพ้ืนเมือง ท่ีมีการร้องแก้กันไปมา แล้วต่อมาภายหลังจับเนื้อหาเป็นเรื่องเป็นตอนขึ้น เป็น ละครที่ดัดแปลงและวิวัฒนาการมาจากละคร “ โนห์รา ” หรือ “ ละครชาตรี ” โดยปรับปรุงวิธีแสดงต่างๆ ตลอดจนเพลงร้อง และดนตรีประกอบให้แปลกออกไป ในอดีตมีตัวแสดงเป็นชายล้วน ดาเนินเรื่องเร็วและ ตลกขบขัน เพิ่งเริ่มมีตัวแสดงเป็นหญิงในสมัยปลายรัชกาลท่ี ๔ เม่ือโปรดเกล้าฯ ให้ยกเลิกการห้ามมิให้บุคคล ทั่วไปมีละครผู้หญิง ละครนอกมีตัวละครครบทุกตัวตามเนื้อเรือ่ ง ไม่จากัดจานวนดนตรี ใช้วงป่ีพาทย์ มีฉาก เปน็ ผา้ มา่ น มีประตเู ข้าออก ๒ ประตู หลงั ฉากเปน็ ท่แี ต่งตัว และสาหรับให้ตัวละครพกั หน้าฉากเปน็ ทแ่ี สดง ครูรสสุคนธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรียาภยั จงั หวัดชมุ พร ๒๒

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อิเหนา ตอน ศกึ กะหมังกหุ นงิ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ เลม่ ๑ เรยี นร้ทู ีม่ า ตั้งเตียงตรงกลางหน้าฉาก การแต่งกายเลียนแบบเครื่องต้นของกษัตริย์ ตัวพระสวมชฎา ตัวนางสวม เคร่ืองประดับศีรษะตามฐานะเช่น มงกุฎกษัตรี รัดเกล้ายอด รัดเกล้าเปลว และกระบังหน้าเส้ือผ้าปักด้ินเล่ือม แพรวพราว การแสดง มีคนบอกบท มีต้นเสียงและลูกคู่สาหรับร้องบางตัวละครอาจร้องเอง การราเป็นแบบ แคล่วคล่องว่องไวพริ้งเพรา จังหวะของการร้องและการบรรเลงดนตรีค่อนข้างเรว็ เวลาเลน่ ตลกมักเล่นนานๆ ไม่คานึงถงึ การดาเนินเร่ือง และไม่ถือขนบธรรมเนยี มประเพณี เชน่ ตวั กษัตริย์หรอื มเหสจี ะเลน่ ตลกกบั เสนา กไ็ ด้ เร่มิ ตน้ แสดงก็จับเร่ืองที่เดียวไม่มีการไหวค้ รู เรือ่ งท่ลี ะครนอกแสดงได้สนุกสนานเป็นท่นี ิยมแพร่หลายมี หลายเรื่อง บทท่ีสามัญชนแต่งได้แก่ เรื่องแก้วหน้าม้า ลักษณวงศ์ และจันทโครพ บทท่ีเป็นพระราชนิพนธ์ใน รชั กาลท่ี ๒ ไดแ้ ก่ เรือ่ ง สงั ขท์ อง ไชยเชษฐ์ คาวี มณพี ชิ ัย และไกรทอง ๓. ละครใน เป็นละครทีเ่ กิดขน้ึ ในพระราชฐาน จึงเป็นละครทม่ี ีระเบยี บแบบแผน สุภาพ ละครใน มี ความมุ่งหมายสาคัญอยู่ ๓ ประการ คือ รักษาศิลปะของการราอันสวยงาม รักษาขนบธรรมเนียมประเพณี อย่างเคร่งครัด รักษาความสุภาพท้ังบทร้องและเจรจา เพราะฉะน้ันเพลงร้อง เพลงดนตรี จึงต้องดาเนิน จังหวะค่อนขา้ งช้าเพือ่ ให้ราได้อ่อนช้อยสวยงาม ดนตรใี ชว้ งปพี่ าทย์ จะเปน็ วงเคร่ืองห้าเคร่ืองคหู่ รือเคร่ืองใหญ่ ก็ได้ โรงมีลักษณะเดียวกับโรงละครนอกแต่มักเรียบร้อยสวยงามกว่าเพราะใช้วัสดุที่มีค่ากว่าเน่ืองจากมักจะ เปน็ ละครของเจา้ นาย หรอื ผู้ดีมีฐานะ ภาพการแสดงละครในเรอ่ื งอเิ หนา ตอน ฤทธ์เิ ทวาปะตาระกาหลา ณ โรงละครแหง่ ชาติ ทม่ี า : https://www.facebook.com/465243816905852/posts เครื่องแตง่ กายกเ็ ป็นแบบเดียวกบั ละครนอกแตถ่ ้าแสดงเรื่องอิเหนา ตัวพระบางตวั จะสวมศีรษะดว้ ยปันจุเหร็จ ในบางตอน (ปันจุเหร็จในสมัยปัจจุบนั มักนาไปใช้ในการแสดงเรื่องอ่ืนๆด้วย) การแสดง มีคนบอกบท ต้นเสียง ลูกคู่ การร่ายราสวยงามตามแบบแผน เน่อื งจากรักษาขนบประเพณีเคร่งครัดการเล่นตลกจงึ เกือบจะไม่มีเลย บทที่แต่งใชถ้ ้อยคาสภุ าพ คาตลาดจะมีบ้างกใ็ นตอนที่กล่าวถึงพลเมือง ใช้ผู้แสดงเป็นผูห้ ญิงตัวประกอบอาจจะ เป็นผู้ชายบ้าง เร่ืองท่ีใช้แสดงละครใน แต่โบราณมีเพียง ๓ เรื่อง คือเร่ืองรามเกียรติ์ อิเหนา และอุณรุท ภายหลงั ได้มเี พ่ิมเร่ืองอ่ืนข้นึ บา้ ง เชน่ เร่ืองศกนุ ตลา พระราชนพิ นธ์ในรัชกาลท่ี ๖ ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรียาภยั จังหวดั ชมุ พร ๒๓

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อิเหนา ตอน ศกึ กะหมังกุหนงิ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ เลม่ ๑ เรียนรู้ทม่ี า ใบงำนที่ ๕ คาส่งั ใหน้ กั เรียนขีดเสน้ ใต้คาตอบทสี่ ัมพนั ธ์กบั ข้อความทีก่ าหนดให้ทางซา้ ยมือ (๑๐ คะแนน) ข้อ ขอ้ ความทกี่ าหนดให้ คาตอบ ๑ มีลักษณะคล้ายละครเร่ของชาวเบงคลีประเทศอินเดยี ที่นิยม ละครนอก ละครใน ละครชาตรี เลน่ เรอื่ ง “ คตี โควนิ ท์ ” ซ่งึ เปน็ เร่ืองอวตารของพระวิษณุ หรอื พระนารายณ์ละครนอก ละครใน ละครชาตรี ๒ ในอดตี มีตัวแสดงเปน็ ชายลว้ น เพ่งิ เริม่ มตี ัวแสดงเปน็ หญงิ ใน ละครนอก ละครใน ละครชาตรี สมยั ปลายรชั กาลที่ ๔ ๓ การดาเนนิ เรอ่ื งเรว็ ตลกขบขัน และมกั เล่นช่วงตลกนาน ละครนอก ละครใน ละครชาตรี ๔ นิยมเล่นเรอื่ ง มโนหร์ า ละครนอก ละครใน ละครชาตรี ๕ เปน็ ละครทีเ่ กิดข้นึ ในพระราชฐาน มีระเบียบแบบแผน สภุ าพ ละครนอก ละครใน ละครชาตรี เพลงร้องและดนตรีดาเนินจงั หวะค่อนขา้ งช้า ๖ เร่ืองทใี่ ช้แสดงแตโ่ บราณมีเพียง ๓ เรอื่ ง คือเรื่องรามเกยี รติ์ ละครนอก ละครใน ละครชาตรี อิเหนา และอณุ รุท ภายหลงั ได้มีเพมิ่ เรือ่ งอน่ื ข้ึนบ้าง เช่น เร่อื ง ศกนุ ตลา พระราชนิพนธใ์ นรัชกาลที่ ๖ ๗ เรม่ิ ต้นแสดงโดยไมม่ บี ทไหวค้ รู ละครนอก ละครใน ละครชาตรี ๘ เรื่องทน่ี ยิ มแสดงมีหลายเรื่อง เช่น แกว้ หน้ามา้ ลักษณวงศ์ ละครนอก ละครใน ละครชาตรี จันทโครพ สงั ขท์ อง ไชยเชษฐ์ คาวี มณีพิชัย และไกรทอง ๙ ตวั แสดงหลักเปน็ ผู้หญงิ ล้วน อาจมีตัวประกอบเป็นผ้ชู ายบา้ ง ละครนอก ละครใน ละครชาตรี ๑๐ มีความมงุ่ หมายสาคัญอยู่ ๓ ประการ คือ รกั ษาศลิ ปะของการ ละครนอก ละครใน ละครชาตรี ราอนั สวยงาม รกั ษาขนบธรรมเนียมประเพณีอย่างเคร่งครัด รักษาความสภุ าพท้ังบทร้องและเจรจา ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรียาภยั จังหวัดชุมพร ๒๔

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมังกหุ นงิ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๔ เลม่ ๑ เรียนรู้ท่ีมา ใบควำมรู้ที่ ๖ ความรู้ประกอบเรื่องอเิ หนา ในการศึกษากลอนบทละครเรื่องอิเหนาให้มีความเข้าใจอย่างลึกซ้ึงและได้อรรถรสจากการประพันธ์ น้ัน จาเป็นอย่างยิ่งที่นักเรียนจะต้องมีพ้ืนความรู้เก่ียวกับรูปแบบการประพันธ์ ท่ีมาของวรรณคดี รวมถึง ประวัติของผู้แต่งดังที่ได้กล่าวมาแล้วในใบความรู้ก่อนหน้านี้ แต่ยังมีเกร็ดความรู้ย่อย ๆ อีกหลายส่วนที่ยัง ไม่ได้กล่าวถึงและนามาอธิบาย เช่น ความรู้เกี่ยวกับเพลงหน้าพาทย์ของกลอนบทละคร ความรู้เกี่ยวกับ ตาแหนง่ ของ เสนา พ่ีเลีย้ ง และ นางกานลั ของตัวละครเอกซ่งึ จะนามากล่าวตามลาดับดงั ต่อไปน้ี เพลงหน้าพาทยท์ ่ใี ชก้ ารประกอบการแสดงละคร เพลงหน้าพาทย์ คือ เพลงทีใ่ ชบ้ รรเลงประกอบกิรยิ า พฤตกิ รรมต่างๆ และอารมณ์ของตัวละคร เช่น เพลงโอดสาหรับร้องไห้ เสียใจ เพลงกราวราสาหรับเยาะเย้ยสนุกสนาน เพลงเชิดฉานสาหรับพระรามตาม กวาง เพลงแผละสาหรับครุฑบิน เพลงคุกพาทย์สาหรับทศกัณฐ์แสดงอิทธิฤทธ์ิความโหดร้าย หรือสาหรับ หนุมานแผลงอิทธิฤทธ์ิ หาวเป็นดาวเป็นเดือน เป็นต้น เพลงหน้าพาทย์แบ่งตามหน้าท่ีการนาไปใช้ ประกอบการแสดงของตวั ละคร แบง่ ได้ ๗ ลกั ษณะ คือ ๑. เพลงหนา้ พาทย์ประกอบกิรยิ าไปมา ไดแ้ ก่ ๑.๑ เพลงเสมอ ใช้ประกอบกริ ยิ าการเดินทางระยะใกล้ ไปช้าๆ ไมร่ บี ร้อน ๑.๒ เพลงเชดิ ใชป้ ระกอบกิรยิ าการเดนิ ทางระยะไกลไปมาอยา่ งรบี ร้อน ๑.๓ เพลงโคมเวียน ใชป้ ระกอบกริ ิยาการเดินทางในอากาศของเทวดาและนางฟา้ ๑.๔ เพลงแผละ ใช้ประกอบกิรยิ าการไปมาของสตั วม์ ปี ีก เชน่ นก ครฑุ ๑.๕ เพลงชุบ ใช้ประกอบกิริยาไปมาของตัวละครศักดต์ิ ่า เชน่ นางกานัล ๒. เพลงหนา้ พาทย์ประกอบการยกทพั ได้แก่ ๒.๑ เพลงกราวนอก สาหรบั การยกทัพของมนษุ ย์ ลิง ๒.๒ เพลงกราวใน สาหรับการยกทัพของยักษ์ ๓. เพลงหนา้ พาทยป์ ระกอบความสนกุ สนานรา่ เรงิ ได้แก่ ๓.๑ เพลงกราวรา สาหรบั กิรยิ าเยาะเยย้ ๓.๒ เพลงสีนวล เพลงช้า เพลงเร็ว สาหรับแสดงความรืน่ เริง ๓.๓ เพลงฉยุ ฉาย แม่ศรี สาหรบั แสดงความภูมใิ จในความงาม ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรียาภยั จงั หวดั ชมุ พร ๒๕

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมังกหุ นิง ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เลม่ ๑ เรียนรูท้ ่ีมา ๔. เพลงหนา้ พาทย์ประกอบการแสดงอทิ ธิฤทธิป์ าฏิหาริย์ ได้แก่ ๔.๑ เพลงตระนมิ ิตร สาหรบั การแปลงกาย ชบุ คนตายให้ฟ้ืน ๔.๒ เพลงคกุ พาทย์ สาหรับการแสดงอิทธฤิ ทธ์ิ หรอื เหตกุ ารณ์อันนา่ สะพรงึ กลัว ๔.๓ เพลงรวั ใช้ท่ัวไปในการสาแดงเดช หรอื แสดงปรากฏการณโ์ ดยฉบั พลัน ๕. เพลงหนา้ พาทยป์ ระกอบการตอ่ สู้และและตดิ ตาม ได้แก่ ๕.๑ เพลงเชิดนอก สาหรับการต่อสหู้ รือการไล่ติดตามของตวั ละครท่ีไม่ใชม่ นุษย์ เช่น หนุมานไลจ่ ับนางสุพรรณมจั ฉา หนุมานไลจ่ ับนางเบญจกาย ๕.๒ เพลงเชดิ ฉาน สาหรบั ตวั ละครท่ีเปน็ มนุษย์ไล่ตามสัตว์ เช่น พระรามตามกวาง เพลงเชิดกลอง สาหรับการตอ่ สู้ การรุกไลฆ่ า่ ฟนั กนั โดยท่ัวไป ๕.๓ เพลงเชิดฉิง่ ใช้ประกอบการราก่อนท่ีจะใชอ้ าวธุ สาคัญหรอื ก่อนกระทากจิ สาคัญ ๖. เพลงหนา้ พาทยป์ ระกอบการแสดงอารมณ์ทัว่ ไป ไดแ้ ก่ ๖.๑ เพลงกลอ่ ม สาหรบั การขบั กลอ่ มเพ่ือการนอนหลับ ๖.๒ เพลงโลม สาหรบั การเข้าพระเขา้ นาง การเล้าโลมดว้ ยความรัก ๖.๓ เพลงโอด สาหรับการรอ้ งไห้ ๖.๔ เพลงทยอย สาหรบั อารมณ์เสียใจ เศร้าใจในขณะที่เคลอ่ื นที่ไปด้วย เชน่ เดนิ พลางร้องไห้พลาง ๗. เพลงหน้าพาทยเ์ บ็ดเตลด็ ไดแ้ ก่ ๗.๑ เพลงตระนอน แสดงการนอน ๗.๒ เพลงลงสรง สาหรบั การอาบนา้ ๗.๓ เพลงเซน่ เหลา้ สาหรับการกิน การดื่มสรุ า เพลงหน้าพาทยท์ ใี่ ช้ในบทละครเรื่องอิเหนา เพลงหน้าพาทย์ที่ใช้ในกลอนบทละครเร่ืองอิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง ในแบบเรียนวรรณคดีวิจักษ์ มปี รากฏดังน้ี ๑. เพลงเสมอ ใช้ประกอบกิริยาการเดินทางระยะใกล้ ไปช้าๆ ไม่รีบร้อน ใช้ประกอบตอนท่ีท้าว ดาหาเสด็จกลับเข้าไปในที่ประทับหลังจากปฏิเสธการสู่ขอนางบุษบากับทูตที่ท้าวกะหมังกุหนิงส่งมา ตอนท่ี กะหรดั ตะปาตแี ต่งองคท์ รงเครอื่ งแล้วเสด็จขึ้นเฝา้ ทา้ วกุเรปนั เปน็ ต้น ๒. เพลงเชิด ใช้ประกอบกิริยาการเดินทางระยะไกลไปมาอย่างรีบร้อน ใช้ประกอบในตอนที่ ดะหมังเสนารบั คาส่ังจากท้าวกุเรปัน ให้นาสารไปมอบให้กับอิเหนาและท้าวหมันหยาท่ีเมืองหมนั หยา ตอนที่ ตามะหงง และดะหมังเสนาของเมืองกาหลังยกทัพมาช่วยรบทเ่ี มืองดาหา เป็นตน้ ๓. เพลงเชิดฉิง่ ใช้ประกอบการราก่อนท่ีจะใชอ้ าวุธสาคญั หรือก่อนกระทากิจสาคัญ ปรากฏในตอน ทส่ี ังคามาระตาท้าสูก้ บั วหิ ยาสะกา ครูรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรียาภยั จังหวดั ชมุ พร ๒๖

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อิเหนา ตอน ศกึ กะหมังกหุ นิง ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๔ เล่ม ๑ เรียนรทู้ ม่ี า ๔. เพลงโอด สาหรับการร้องไห้ ปรากฏในตอนที่อิเหนาไปลานางจินตะหราเพ่ือมาช่วยรบท่ี เมืองดาหาและถกู นางจินตะหราตดั พ้อต่อว่า ตอนทรี่ ะตปู าหยังและระตูประหมนั โอดครวญ เมอ่ื เห็นศพของ ท้าวกะหมังกุหนิงและวิหยาสะกา ๕. เพลงพญาเดิน ประกอบกิริยาการเดินไปมาของตัวละครสูงศักด์ิ ปรากฏในตอนท่ีวิหยาสะกา สูก้ บั สงั คามาระตา ๖. เพลงกลอนโยน การเดินทางเป็นร้ิวขบวน หรือประกอบการยกทัพ หรือ ขบวนพยุหยาตราท่ีมี ศกั ดิ์ศรี พรั่งพร้อม ด้วยเครือ่ งอสิ ริยยศทั้งหลาย ปรากฏในตอนที่อิเหนารบกับท้าวกะหมงั กหุ นงิ ๗. เพลงกลอง (เชดิ กลอง) สาหรับการตอ่ สู้ การรุกไล่ฆ่าฟนั กนั โดยทัว่ ไป ปรากฏในตอนทีอ่ ิเหนา รบกบั ท้าวกะหมังกหุ นิง ตาแหน่งต่าง ๆ ในเร่อื งอเิ หนา เน่ืองจาก อิเหนา เป็นวรรณคดีท่ีได้รับอิทธิพลมาจากชวา จึงทาให้มีคาที่มาจากภาษาชวาปะปนอยู่ ในเร่ืองเป็นจานวนมาก ซึ่งส่วนหน่ึงเป็นคาที่บอกถึงตาแหน่งหน้าที่ของตัวละคร หากนักเรียนไม่ทาความ เข้าใจให้ดีอาจเกิดความสับสนคิดว่าเป็นชื่อตัวละคร แล้วอาจทาให้เกิดความเข้าใจเน้ือเร่ืองผิดพลาดได้ ตาแหน่งตา่ ง ๆ ทน่ี ักเรยี นควรร้ใู นเรื่องอเิ หนามีดงั น้ี ๑. ตาแหนง่ มเหสี มี ๕ ตาแหนง่ ตามลาดบั คือ ๑.๑ ประไหมสุหรี เลือนจากคาสันสกฤต คือ คา ปรม กับ ไอศุริยะ รวมเป็น ปะระไมศุริยะ ใชเ้ ป็นอติ ถลี ิงค,์ ในบทละครอเิ หนาใช้ ประไหมสุหรี แปลว่า อคั รมเหสี คอื ราชนิ ี ๑.๒ มะเดหวี เพ้ียนเสียงมาจากคาบาลีสันสกฤต คือ มหาเทวี เป็นมเหสีองค์รองจาก ประไหมสหุ รี ๑.๓ มะโต เพ้ยี นเสียงมาจาก ภาษาสันสกฤต คือ มาตฤ เปน็ มเหสีลาดบั ที่ ๓ ๑.๔ ลกิ ู มเหสีลาดับที่ ๔ ในเนอ้ื เร่ืองคือพระมารดาของกะหรดั ตะปาตี ๑.๕ เหมาหลาหงี มเหสลี าดบั ที่ ๕ ๒. ตาแหน่งเสนาผู้ใหญ่ มี ๔ ตาแหนง่ คือ ๒.๑ ปาเตะ เสนาผู้ใหญ่ของชวาเทียบไดก้ ับ สมหุ พระราชวังของไทยเนื้อหาในแบบเรียน กล่าวถงึ เสนาปาเตะแห่งเมอื งดาหา ในตอนท่ีทหารซง่ึ เป็นกองร้อยสอดแนมของเมอื งดาหาเขา้ มารายงาน ขา่ วศึกแลว้ ปาเตะจึงนาความไปกราบทลู ตอ่ ท้าวดาหา ดังคากลอนท่ีว่า “ เมอ่ื น้ัน ปาเตะตกใจไหวหวั่น ใหจ้ ดเอาถ้อยคาสาคัญ แล้วผายผนั เขา้ พระโรงรจนา ” ครรู สสุคนธ์ เพชรศร โรงเรียนศรียาภัย จังหวดั ชุมพร ๒๗

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อเิ หนา ตอน ศึกกะหมงั กุหนิง ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ เล่ม ๑ เรยี นรู้ท่ีมา ๒.๒ ตามะหงง เปน็ ตาแหนง่ เสนาบดีผู้ใหญ่ในชวา เทยี บไดก้ บั ตาแหนง่ สมหุ นายก ของไทย ในเนอื้ หาแบบเรียน กล่าวถงึ เสนา ตามะหงง ของสองเมือง คอื ตามะหงง ของเมืองกุเรปนั ซึ่งอยู่กับอิเหนา และเปน็ กาลงั สาคญั ในการจัดทัพ และเปน็ เสนาผู้ใหญ่ท่ีอเิ หนาไวว้ างใจใหไ้ ปเปน็ ตวั แทนเข้าเฝา้ เท้าดาหาใน ตอนท่ียกทพั มาถึงเมืองแลว้ แตไ่ มก่ ลา้ เขา้ เฝา้ เนือ่ งจากรดู้ ีว่ามีความผดิ ติดตัวและช่วยกราบทูลใหท้ ้าวดาหา คลายความโกรธเคือง ในคากลอนท่ีว่า “ คร้นั ถงึ เนนิ ทรายชายท่งุ แว่นแคว้นแดนกรุงดาหา จงึ ให้หยดุ กองทัพตัง้ พลบั พลา ทตี่ ้องนามครุฑาเกรยี งไกร แลว้ บัญชาให้ตามะหงง ท่านจงรีบเข้าไปกรงุ ใหญ่ ทูลศรปี ตั ราเรอื งชยั แกไ้ ขอยา่ ให้เคืองบาทา ” ตวั ละครในตาแหน่ง ตามะหงง อกี ตวั หน่งึ ท่ีมีบทบาทในตอนนี้คือ ตามะหงง ของเมือง กาหลังทีเ่ ป็นตัวแทนคมุ กาลงั พลจากเมืองกาหลงั มาพร้อมกับเสนา ดะหมัง เนือ่ งจากท้าวกาหลงั ไมม่ ีโอรส ดงั ปรากฏคากลอนวา่ “ บัดนั้น ตามะหงงกาหลังกรุงใหญ่ ทัง้ ดะหมงั มหาเสนาใน เรง่ เกณฑท์ ัพชัยฉบั พลัน จัดทหารอาสาไดห้ ้าหม่ืน แต่พนื้ กาแหงแข็งขนั ชา้ งมา้ อาวธุ ครบครนั ธงสาคญั คอยนาดาเนนิ พล ” ๒.๓ ดะหมงั ตาแหน่งเสนาบดีผูใ้ หญ่ของชวา เทยี บไดก้ ับขุนนางฝ่ายมหาดไทย ตัวละคร ตาแหนง่ นีป้ รากฏในวรรณคดีตอนท่ีเรียน ๒ ตวั คอื ดะหมงั ของเมืองกาหลัง ทคี่ ุมกองทัพมากบั ตามะหงง ดังร้อยกรองที่กล่าวไปแล้วข้างตน้ และ ดะหมัง ของเมืองกุเรปนั ทถ่ี ือสารจากทา้ วกเุ รปนั ไปให้อิเหนาและ ทา้ วหมันหยาที่เมืองหมนั หยา เน้อื ความว่า “ บัดนั้น ฝ่ายดะหมังกุเรปันกรุงศรี ครนั้ ถึงหมันหยาธานี กต็ รงไปยังทีป่ ระเสบัน ข้ึนบนชานพักตาหนกั นอก พอเห็นเสดจ็ ออกกดิ าหยนั จงึ ข้าไปใกล้องค์พระทรงธรรม์ อภิวนั ทแ์ ล้วถวายสารา” ๒.๔ ยาสา ตาแหน่งเสนาบดผี ใู้ หญข่ องชวา เทียบได้กับ เสนาบดีฝ่ายตลุ าการของไทย ตวั ละคร ยาสา ในตอนนี้ กล่าวถึงเสนาตาแหนง่ ยาสา ของเมอื งดาหา ในตอนเบกิ ราชทตู ของผู้ถือสาร ของทา้ วกะหมงั กหุ นิงเข้าเฝา้ ทา้ วดาหา “ยาสาบงั คมบรมนาถ เบิกทูตถือราชสารศรี จึงดารัสตรสั สั่งไปทนั ที ให้เสนนี าแขกเมืองมา” ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรยี าภัย จังหวัดชมุ พร ๒๘

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อเิ หนา ตอน ศึกกะหมังกุหนงิ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๔ เล่ม ๑ เรยี นรูท้ ่ีมา และในตอนทต่ี ามะหงงจากเมืองกเุ รปันซงึ่ เปน็ ตัวแทนของอิเหนา มาขอเขา้ เฝ้าท้าวดาหา ตามะหงงก็ได้แจ้ง คามประสงค์กบั ยาสา เพื่อให้ ยาสาพาเข้าเฝา้ ดงั น้ี “ ครั้นถงึ จึงแจ้งคดี แก่ยาสาเสนคี นขยนั บัดนอี้ งค์อิเหนากุเรปนั กรธี าทัพขนั ธ์ยกมา สองทัพกับกะหรัดตะปาตี มาช่วยบุรีดาหา จงพาเราเข้าพระผ่านฟา้ จะกราบทลู กิจจาใหแ้ จง้ การ ” ๓. ตาแหน่งพ่เี ลยี้ งพระโอรส มี ๔ ตาแหน่ง คือ ยะรเุ ดะ ปูนตา กะระตาหลา และ ประสันตา พ่ีเล้ยี งของอิเหนาท่มี ีบทบาทในตอนนี้มเี พยี งคนเดียว คอื ตาแหนง่ ประสนั ตา ทป่ี รากฏในตอนท่ีอิเหนาออก เดินทางจากเมืองหมันหยาแล้วอาลัยอาวรณถ์ ึงชายาทงั้ สามคน ประสันตาจงึ ชวนคุยเพื่อใหอ้ เิ หนาคลายความ ทุกข์ว่า “บัดนั้น ประสันตาพี่เลย้ี งโฉมฉาย ข่ีช้างพระท่นี งั่ มาขา้ งท้าย เหน็ พระไม่สบายคลายทกุ ข์ทน จงึ เสแสร้งแกล้งกล่าววาจา ป่านี้สนกุ กว่าทุกแหง่ หน แตเ่ หน็ มามากมายหลายตาบล กย็ ังไม่ชอบกลเหมือนป่าน้ี แมน้ ไม่มรี าชการงานเดอื น คงจะมาปลกู เรือนอยู่ที่นี่ น้าทา่ หาง่ายสบายดี สารพดั จะมีไม่ยากใจ ถา้ เลกิ ทัพกลับมาหมนั หยา จะจาป่าไวท้ ูลแถลงไข ใหพ้ ระพาสามสมรอรไท มาประพาสพรรณไม้ให้สาราญ” ๔. ตาแหนง่ พเี่ ล้ียงพระธดิ า มี ๔ ตาแหน่ง คือ บาหยัน สาเหงด็ ประเสหรนั และ ประลาหงนั ซง่ึ ตาแหนง่ พเ่ี ลย้ี งพระธดิ าทง้ั สี่ไมไ่ ด้มบี ทบาทในเน้ือเรอื่ งตอนศึกกะหมงั กุหนิง ครูรสสุคนธ์ เพชรศร โรงเรียนศรยี าภัย จงั หวัดชุมพร ๒๙

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อิเหนา ตอน ศกึ กะหมงั กุหนงิ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ เลม่ ๑ เรียนรทู้ ี่มา ใบงำนท่ี ๖ คาส่ัง ใหน้ ักเรียนทาเครอื่ งหมาย √ หนา้ ขอ้ ที่ถูก และทาเคร่ืองหมาย X หน้าข้อท่ผี ิด (๑๐ คะแนน) คำตอบ ข้อควำม ๑. เพลงหนา้ พาทย์คือเพลงท่ีบรรเลงเพอ่ื ใช้ประกอบบทเจรจาของตวั ละคร ๒. เพลงเสมอ ใช้ประกอบกิรยิ าการเดินทางระยะใกล้ ไปช้าๆ ไมร่ บี ร้อน ๓. เพลงเชดิ ใช้บรรเลงประกอบกิรยิ าท่ตี รงกนั ข้ามกับเพลงเสมอ ๔. เนอื้ หาในเร่ือง อิเหนา ตอนศกึ กะหมงั กุหนิง มเี พลงหนา้ พาทย์ช่ือเพลงคกุ พาทย์ ๕. มะเดหวี คอื ตาแหน่งมเหสลี าดบั ที่ ๒ ของชวา เพี้ยนเสยี งมาจากมหาเทวี ในภาษาสนั สกฤต ๖. ตาแหน่งเสนาชั้นผใู้ หญ่ของชวามี ๔ ตาแหนง่ คือ ปาเตะ ตามะหงง ยาสา และ ปูนตา ๗. พีเ่ ลี้ยงของอเิ หนาท่ีมบี ทบาทมากทีส่ ุดในตอน ศกึ กะหมังกหุ นิง คือ ประสันตา ๘. ตาแหน่งพเ่ี ลี้ยงของพระโอรส และ พ่ีเลี้ยงของพระธดิ า ในชวามี ๔ ตาแหน่ง เหมือนกนั ๙. ตาแหน่งพเ่ี ลีย้ งพระโอรสลาดับที่ ๑ ของชวาคือ ยะรุเดะ ๑๐. ตาแหน่งพ่เี ลย้ี งพระธดิ าลาดบั ที่ ๔ คือ บาหยัน ครูรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรียาภยั จังหวัดชมุ พร ๓๐

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อิเหนา ตอน ศกึ กะหมงั กหุ นงิ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ เลม่ ๑ เรียนรูท้ ม่ี า แบบทดสอบหลังเรียน คาส่ัง ใหน้ กั เรยี นเลอื กคาตอบท่ีถกู ต้องท่ีสุดแล้วกาลงในกระดาษคาตอบ ๑. ขอ้ ใดมิใช่ลักษณะของละครใน ก. มีระเบียบแบบแผน ข. ใชผ้ ูห้ ญงิ แสดงทงั้ หมด ค. เล่นท้ังในวังและนอกวงั ง. เป็นเร่ืองเกีย่ วกบั กษตั รยิ ์ ๒. “ อนั อิเหนาเอามาทาเป็นคาร้อง สาหรบั งานการฉลองกองกศุ ล คร้งั กรุงเกา่ เจ้าสตรีเธอนิพนธ์ แตเ่ ร่อื งตน้ ตกหายพลัดพรายไป แตพ่ ระองค์ทรงพิภพปรารภเลน่ ใชร้ าเต้นแตง่ ละครคิดกลอนใหม่” เจา้ สตรีและพระองค์ ตามคาประพนั ธข์ ้างตน้ น้ี หมายถงึ ใคร ก. เจา้ ฟ้าสังวาลกับพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ข. เจ้าฟา้ กณุ ฑล เจ้าฟ้ามงกุฎกับเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ค. เจ้าฟ้ากณุ ฑล เจ้าฟา้ มงกุฎกบั พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ ง. เจ้าฟ้ากณุ ฑล เจา้ ฟ้ามงกุฎกบั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย ๓. ตวั ละครใดต่างวงศ์จากตัวละครอน่ื ๆ ก. ระตูปักมาหงัน ข. ระตูปนั จาระกนั ค. ระตูบศุ สิหนา ง. ระตหู มนั หยา ๔. \"อเิ หนา\" บทพระราชนิพนธใ์ นรัชกาลท่ี ๒ ดาเนนิ เรือ่ งตามต้นฉบบั ของใคร ก. รัชกาลท่ี ๑ ข. พระเจ้ากรุงธนบรุ ี ค. เจ้าฟา้ หญงิ กุณฑล ง. เจา้ ฟา้ หญงิ มงกฎุ ครูรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรียาภยั จังหวดั ชุมพร ๓๑

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกหุ นิง ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ เล่ม ๑ เรียนรู้ท่มี า ๕. ละครนอก จะไม่แสดงเรื่องใด ก. คาวี ข. ไกรทอง ค. สงั ข์ทอง ง. รามเกยี รต์ิ ๖. เหตใุ ดอิเหนาจงึ ปฏเิ สธการแตง่ งานกับนางบุษบา ก. คดิ ว่านางบุษบาไม่สวย ข. กลวั ท้าวหมนั หยาลงโทษ ค. ไดน้ างจินตะหราเป็นชายาแล้ว ง. นางจนิ ตะหราสงั่ ใหป้ ฏเิ สธการแต่งงาน ๗. ข้อใดคอื จุดมุ่งหมายสาคัญในการพระราชนิพนธเ์ ร่ืองอิเหนาในรชั กาลท่ี ๒ ก. เพอื่ ใช้เลน่ ละคร ข. เพ่ือความเพลิดเพลิน ค. เพ่อื อนุรักษ์วรรณคดขี องชาติ ง. เพอ่ื ปรับปรุงพระราชนิพนธอ์ เิ หนาในรัชกาลท่ี ๑ ๘. อเิ หนาได้รบั การยกยอ่ งจากวรรณคดสี โมสรตามขอ้ ใด ก. กลอนนิทาน ข. กลอนบทละครรา ค. กลอนบทละครพดู ง. กลอนบทละครร้อง ๙. เรอื่ งอิเหนาเข้ามาประเทศไทยในรัชสมยั ใด ก. สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ข. สมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวบรมโกศ ค. สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราช ง. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ๑๐. เคา้ เร่อื งของอเิ หนาได้มาจากไหน ก. ประวตั ิของชาวมะละกา ข. ประวัตศิ าสตร์ของชาวชวา ค. ประวตั ิศาสตร์ของชาวลังกา ง. ประวตั ิศาสตร์ของชาวมลายู ครูรสสุคนธ์ เพชรศร โรงเรียนศรยี าภัย จงั หวัดชมุ พร ๓๒

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมงั กหุ นงิ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔ เลม่ ๑ เรยี นรู้ทมี่ า เฉลยใบงำนที่ ๑ คาส่งั ให้นักเรยี นทาเครือ่ งหมาย √ หนา้ ข้อท่ถี ูก และทาเครอ่ื งหมาย X หนา้ ข้อท่ผี ิด คำตอบ ขอ้ ควำม √ ๑. วรรณคดีเร่ือง อิเหนา มที ี่มาจากพงศาวดารชวา √ ๒. ดินแดนชวาในอดีต คือ ประเทศอินโดนเี ซยี ในปจั จุบนั X ๓. ประเทศอินโดนีเซียเคยเป็นเมอื งข้ึนของฝร่งั เศส X ๔. ต้นราชวงศข์ องอเิ หนาในพงศาวดารชวา คอื ท้าวกุเรปัน X ๕. เร่อื งอเิ หนา เขา้ มาในประเทศไทยตง้ั แต่สมยั ธนบรุ ี √ ๖. กษัตรยิ ์ ไอรลังคะ ได้ชอื่ วา่ เป็นมหาราชพระองคห์ น่ึงในพงศาวดารของชวา X ๗. กษตั ริย์ ไอรลังคะ พ่ายแพ้ต่อกษัตริย์อังรกะ √ ๘. ราชวงศ์ของอเิ หนาเจริญรุ่งเรืองอยเู่ ป็นเวลา ๒๐๐ ปี √ ๙. ดินแดนชวาได้รับเอกราชและสถาปนาเป็นประเทศอนิ โดนีเซียเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๒ ๑๐. นทิ านปนั หยีฉบบั ท่ตี รงกับอิเหนาของไทยนั้น คือ ฉบับมาลัต ซง่ึ ใชภ้ าษากวีของ √ ชวาโบราณ มาจากเกาะบาหลี ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรียาภยั จงั หวัดชุมพร ๓๓

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นงิ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔ เลม่ ๑ เรยี นรู้ท่มี า เฉลยใบงำนที่ ๒ คาสั่ง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามตอ่ ไปนี้ ๑. เรื่องอเิ หนา เข้ามาในประเทศไทยในรัชสมัยใด …พ…ระ…เ…จ้า…อ…ย…ูห่ วั…บ…ร…ม…โก…ศ………………….................................……………………………… ๒. นิทานปันหยี หรือ เรอื่ งอิเหนา เผยแพรเ่ ขา้ มาสู่ประเทศไทยได้อยา่ งไร …น…ทิ…า…น…อ…ิเห…น…าเ…ป…็น…นิท…า…น…จ…าก…ข…ว…าท…ี่ไ…ดร้…ับ…ค…ว…าม…น…ิย…ม…อย…่า…งแ…พ…ร…ห่ …ล…าย…ใน…ม…ล…า…ยู……น…าง…ก…าน…ัล…ช…า…วม…ล…า…ยู …… …น…า…ม…าเ…ล…า่ ถ…ว…าย…เ…จ้า…ฟ…า้ …ห…ญ…งิ ก…ุณ…ฑ…ล…แ…ล…ะเ…จา้…ฟ…้า…ห…ญ…ิงม…ง…ก…ฎุ …พ…ร…ะ…รา…ช…ธ…ิดา…ข…อ…งพ…ร…ะ…เจ…้าอ…ย…่หู …ัว…บ…รม…โ…กศ……… ...เ..จ..า้ ..ฟ...้า.ห...ญ...งิ..ท...ั้ง..ส..อ..ง..พ...ร..ะ..อ...ง.ค...จ์ ..งึ..ไ.ด...้แ..ต...่เ.ร..่ือ..ง..น...ขี้ ..นึ้.................................................................... ..................... ๓. ใครเปน็ ผแู้ ต่งเรื่อง อเิ หนาเล็ก เม่อื คร้ังกรงุ ศรอี ยธุ ยา ……เจ…า้ …ฟา้…ห…ญ…งิ …ม…งก…ุฎ…………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ใครเปน็ ผู้แตง่ กลอนบทละคร เรื่อง ดาหลงั หรือ อิเหนาใหญ่ เมือ่ ครงั้ กรงุ ศรีอยุธยา ……เจ…้า…ฟา้…ห…ญ…งิ …กุณ……ฑ…ล………………………………………………………………………………………………………………… ๕. เหตุใดบทละครเรอ่ื งดาหลัง หรือ อเิ หนาใหญ่ จงึ ไมไ่ ดร้ บั ความนยิ มเหมือนกับอิเหนาเล็ก …เพ…ร…า…ะเ…น…ื้อเ…ร่ื…อง…ส…ล…ับซ…บั …ซ…้อ…น……แล…ะ…ช…่อื ต…วั …ล…ะค…ร…ก…จ็ า…ย…า…ก………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ครูรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรยี าภัย จังหวัดชุมพร ๓๔

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมงั กุหนิง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ เลม่ ๑ เรยี นรู้ทม่ี า ๖. หลงั จากเสียกรงุ ศรีอยุธยาครง้ั ที่ ๒ ในปีพ.ศ. ๒๓๑๐ สง่ ผลกระทบต่อกลอนบทละครเร่ืองอิเหนา อยา่ งไรบ้าง ................................................................................................................................................................ ต…น้ …ฉ…บ…ับ…วร…ร…ณ…ค…ดี…เร…อ่ื …งอ…เิ …หน…า……แ…ละ……ด…า…หล…งั ……ข…อง…เจ…้า…ฟ…้าห…ญ…ิง…ก…ุณ…ฑ…ล……แล…ะ…เจ…้า…ฟ…้าห…ญ…งิ…ม…งก…ฎุ …ส…ูญ…ห…า…ยไ…ป ๗. ใครเป็นผแู้ ต่ง เรื่อง อิเหนาคาฉันท์ ในสมยั ธนบรุ ี …หล…ว…งส…ร…ว…ชิ ติ……(ห…น…) …ภ…า…ย…หล…ัง…ได…้เ…ปน็…เ…จ…า้ พ…ร…ะ…ยา…พ…ร…ะค…ล…ัง…(ห…น…)…ใ…นร…ชั …ก…าล…ท…ี่๑……………………………………… ๘. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัยไดท้ รงพระราชนิพนธ์กลอนบทละครเร่ือง อเิ หนา ขึ้นมาใหม่ด้วยสาเหตใุ ด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …เพ…่อื …ใ…ช้เ…ล…น่ ล…ะ…ค…รใ…น…………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ................................... ๙. พระราชนิพนธ์กลอนบทละครเรอ่ื ง อเิ หนา ของพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลัยดาเนนิ เร่ือง ตามเคา้ โครงของอเิ หนาสานวนใด ............................................................................................................................. ................................... …เจ…้า…ฟ…้าห…ญ…งิ …ม…งก…ฎุ …………………………………………………………………………………………………………………….. ๑๐.กลอนบทละครรา เรื่อง อิเหนาพระราชนิพนธข์ องพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้านภาลัยได้รับการ ยกย่องอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ไ…ด…ร้ บั …ก…า…รย…ก…ย…อ่ ง…จ…าก…ว…ร…รณ…ค…ด…ีส…โม…ส…ร…ใน…ส…ม…ยั …รชั …ก…าล…ท…่ี …๖…ใ…ห…เ้ ป…น็ …ย…อ…ดข…อ…ง…กล…อ…น…บ…ท…ล…ะค…ร…รา………………… หมำยเหตุ การพจิ ารณาความแตกต่างของคาตอบให้อยใู่ นดุลยพินจิ ของครูผสู้ อน ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรียาภัย จงั หวดั ชุมพร ๓๕

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกหุ นงิ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๔ เลม่ ๑ เรียนรูท้ ่ีมา ตอนที่ ๑ เฉลยใบงำนท่ี ๓ คาส่ัง ตัวละครฝา่ ยชายทกี่ าหนดใหต้ อ่ ไปนีเ้ ปน็ คคู่ รองของใคร ให้เขียนคาตอบลงไปในตาราง ขอ้ ตวั ละครฝ่ำยหญงิ ตวั ละครฝำ่ ยชำย ๑. บุษบา ก. อิเหนา ๒. ดาหราวาตี ข. ท้าวดาหา ๓. จนิ ดาสา่ หรี ฉ. ท้าวหมนั หยา ๔. จนิ ตะหรา ก. อิเหนา ๕. มาหยารศั มี ก. อเิ หนา ๖. นิหลาอรตา จ. ทา้ วกเุ รปนั ๗. สกาหนง่ึ หรัด ค. สหุ รานากง ๘. บุษบารากา ง. กะหรดั ตะปาตี ๙. สการะวาตี ก. อิเหนา ๑๐. วยิ ะดา ข. สยี ะตรา ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรยี าภยั จงั หวดั ชุมพร ๓๖

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อิเหนา ตอน ศกึ กะหมงั กหุ นงิ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๔ เลม่ ๑ เรียนร้ทู ม่ี า ตอนท่ี ๒ คาสงั่ ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบท่ีถกู ต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวแลว้ กาลงในกระดาษคาตอบ ๑. ต้นตระกูลของวงศอ์ สัญแดหวาคือขอ้ ใด ค. ทา้ วกเุ รปัน ง. ทา้ วดาหา ค. ท้าวหมนั หยา ง. องค์ปะตาระกาหลา ๒. เมอื งใดไม่ได้อยู่ในวงศ์อสญั แดหวา ค. ดาหา ง. กาหลงั ค. หมันหยา ง. สิงหดั ส่าหรี ๓. อะไรคือเหตุผลทีท่ าให้อิเหนาได้พบกบั นางจินตะหราเปน็ คร้ังแรกที่เมอื งหมันหยา ก. อิเหนาไปทาศกึ ทเ่ี มืองหมนั หยา ข. อเิ หนาถือราชสาสน์ ของท้าวกุเรปันไปใหท้ า้ วหมนั หยา ค. ทา้ วหมันหยามีราชสาสน์ เชญิ ใหอ้ ิเหนาไปเยยี่ มชมเมืองหมันหยา ง. ทา้ วกเุ รปันใหเ้ ปน็ ตวั แทนนาเครื่องเคารพศพพระอัยกไี ปที่เมืองหมนั หยา ๔. อิเหนาปลอมตัวเป็นโจรปา่ ชอื่ มสิ ารปันหยี ด้วยจดุ ประสงคใ์ ดเปน็ สาคัญ ก. เข้าป่าเพ่ือล่าสตั ว์ ข. ไปชงิ ตวั นางดรสา ค. ไปหานางจินตะหรา ง. ไปปราบระตูบศุ สหิ นา ๕. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถูกต้อง ก. นางดรสาเปน็ ชายาของระตบู ุศสหิ นา ข. มาหยารศั มีเปน็ ธดิ าของระตูปักมาหงนั ค. ระตูปนั จาระกนั เป็นพชี่ ายของระตูปักมาหงนั ง. สงั คามาระตาเปน็ น้องชายของนางสะการะวาตี ครูรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรียาภัย จงั หวัดชมุ พร ๓๗

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อิเหนา ตอน ศกึ กะหมังกหุ นงิ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ เล่ม ๑ เรยี นรทู้ ม่ี า ๖. เหตุใดอเิ หนาจงึ ปฏเิ สธการแต่งงานกบั นางบุษบา ก. คิดวา่ นางบษุ บาไมส่ วย ข. กลัวทา้ วหมันหยาลงโทษ ค. ไดน้ างจินตะหราเปน็ ชายาแล้ว ง. นางจนิ ตะหราสัง่ ใหป้ ฏเิ สธการแต่งงาน ๗. ตัวละครใดตา่ งวงศจ์ ากตวั ละครอน่ื ๆ ก. ระตูล่าสา ข. ระตปู าหยัง ค. วิหยาสะกา ง. ท้าวกะหมังกุหนงิ ๘. “ ท้าวดาหาโกรธอเิ หนา เน่ืองจากอิเหนาปฏิเสธการอภิเษกกับนางบุษบา และแม้จะทราบว่าจรกา รูปช่วั ตวั ดา ตา่ ศักดิ์ แต่เมอ่ื ได้พลง้ั ปากไปแลว้ วา่ ใครมาขอก็จะยกให้ จึงจาใจยกบุษบา ใหจ้ รกาและกาหนดการอภเิ ษกภายในสามเดือน ” ขอ้ ใดไม่สามรถอนมุ านได้จากข้อความข้างตน้ ก. ทา้ วดาหาเป็นผ้ถู อื สัจจะวาจา ข. ทา้ วดาหาตดั สนิ ใจโดยไม่คิดให้รอบคอบ ค. ท้าวดาหามักตัดสินใจโดยใช้อารมณม์ ากกว่าเหตุผล ง. ท้าวดาหาวางแผนใหอ้ เิ หนามาชงิ นางบษุ บาจากจรกา ๙. เหตใุ ดรปู วาดของนางบุษบาที่ชา่ งวาดนามาใหจ้ รกาจงึ เหลือเพยี งรูปเดียว ก. ลมพดั หอบเอารปู นางบุษบาไปหน่ึงรูป ข. ชา่ งวาดนาภาพไปขายให้กบั ท้าวกะหมังกหุ นิง ค. ช่างวาดภาพลืมรูปภาพอีกรูปหนงึ่ ไว้ทีเ่ มืองดาหา ง. องคป์ ะตาระกาหลาบนั ดาลใหร้ ูปภาพหายไปหนึ่งรปู ๑๐. ใครเปน็ ผ้พู บรปู วาดของนางบุษบาทหี่ ายไป ก. อิเหนา ข. วหิ ยาสะกา ค. ระตปู าหยงั ง. ทา้ วกะหมังกุนิง ครูรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรยี าภัย จงั หวัดชุมพร ๓๘

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมงั กุหนงิ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ เลม่ ๑ เรียนรู้ทีม่ า ตอนที่ ๑ คาส่ัง เฉลยใบงำนท่ี ๔ ให้นกั เรยี นจับคขู่ ้อความใหส้ ัมพนั ธก์ ัน โดยนาตวั เลือกท่ีกาหนดให้เตมิ หลังข้อความ ในตาราง คำตอบ ขอ้ ควำม ก. ฉิม ๑. พระนามเดมิ ช. ๒๔ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ ฌ. พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ๒. วนั ประสูติ ญ. กรมสมเด็จพระอมรนิ ทรามาตย์พระบรมราชชนนพี ันปีหลวง ค. ๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ ๓. พระราชบิดา ข. การเดนิ สวน การเดนิ นา ๔. พระราชมารดา ฉ. ส่งสมณทูตไปยังศรีลังกา ๕. วันพระบรมราชาภเิ ษก ซ. กฎหมายห้ามซอ้ื ขายสูบฝ่ิน ๖. พระราชกรณยี กิจด้านเศรษฐกิจ จ. เพลงบุหลนั ลอยเลื่อน ๗. พระราชกรณยี กจิ ด้านการเมืองการ ง. ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ ปกครอง ๘. พระราชกรณยี กจิ ด้านดา้ นสังคมและ วัฒนธรรม ๙. พระราชกรณียกิจด้านดา้ นศลิ ปกรรม ๑๐.เสดจ็ สวรรรคต ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรียาภยั จงั หวัดชมุ พร ๓๙

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อิเหนา ตอน ศกึ กะหมงั กุหนิง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔ เล่ม ๑ เรียนรู้ทีม่ า ตอนท่ี ๒ คาสงั่ วรรณคดที ก่ี าหนดให้ตอ่ ไปนี้ ใหน้ ักเรียนขดี เส้นใต้ช่ือวรรณคดีท่เี ป็นผลงาน การพระราชนิพนธข์ องพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั ข้อ ช่ือวรรณคดี ๑. บทละครนอก เรอ่ื ง แก้วหนา้ มา้ ลักษณวงศ์ มณพี ิชัย ๒. บทพากยโ์ ขน ตอน นางลอย หนุมานเผากรงุ ลงกา ทศกณั ฐล์ ม้ ๓. บทละครใน เรื่อง อิเหนา ศกุนตลา อณุ รุท ๔. เสภาขนุ ช้างขุนแผน ตอน พลายแก้วเป็นชกู้ ับนางพมิ ขุนแผนลุแกโ่ ทษ กาเนดิ พลายงาม ๕. กาพย์พระไชยสุรยิ า กาพย์เห่ชมเคร่อื งคาวหวานว่าด้วยงานนักขตั ฤกษ์ กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง ๖. บทละครนอก เร่อื ง ไกรทอง จันทโครพ กากี ๗. บทพากย์โขน ตอน จองถนน กาเนดิ หนุมาน เอราวัณ ๘. เสภาขุนช้างขนุ แผน ตอน ขุนชา้ งถวายฎกี า ขนุ แผนพานางวันทองหนี กาเนิดพลายชุมพล ๙. บทละครนอก เร่อื ง ไชยเชษฐ์ ปลาบูท่ อง พกิ ุลทอง ๑๐. บทละครใน เร่ือง รามเกียรต์ิ ดาหลัง มโนราห์ ครูรสสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชมุ พร ๔๐

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอ่ื ง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกหุ นงิ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ เล่ม ๑ เรียนรทู้ ม่ี า เฉลยใบงำนที่ ๕ คาส่งั ใหน้ ักเรยี นขดี เสน้ ใต้คาตอบที่สัมพันธก์ บั ข้อความท่กี าหนดให้ทางซ้ายมือ ขอ้ ข้อความท่กี าหนดให้ คาตอบ ๑ มลี กั ษณะคลา้ ยละครเร่ของชาวเบงคลีประเทศอนิ เดยี ท่ีนิยม ละครนอก ละครใน ละครชาตรี เลน่ เรอ่ื ง “ คีตโควินท์ ” ซง่ึ เปน็ เร่ืองอวตารของพระวิษณุ หรือพระนารายณ์ละครนอก ละครใน ละครชาตรี ๒ ในอดีตมีตวั แสดงเป็นชายลว้ น เพ่งิ เรม่ิ มีตัวแสดงเปน็ หญงิ ใน ละครนอก ละครใน ละครชาตรี สมยั ปลายรัชกาลที่ ๔ ๓ การดาเนนิ เร่อื งเร็ว ตลกขบขัน และมกั เลน่ ชว่ งตลกนาน ละครนอก ละครใน ละครชาตรี ๔ นิยมเลน่ เรอื่ ง มโนห์รา ละครนอก ละครใน ละครชาตรี ๕ เปน็ ละครทเี่ กิดขน้ึ ในพระราชฐาน มีระเบียบแบบแผน สุภาพ ละครนอก ละครใน ละครชาตรี เพลงรอ้ งและดนตรดี าเนนิ จงั หวะค่อนขา้ งช้า ๖ เรอ่ื งทใ่ี ชแ้ สดงแตโ่ บราณมเี พียง ๓ เร่อื ง คอื เรื่องรามเกียรติ์ ละครนอก ละครใน ละครชาตรี อิเหนา และอณุ รุท ภายหลังได้มเี พิ่มเรื่องอ่นื ขนึ้ บ้าง เชน่ เรื่อง ศกุนตลา พระราชนิพนธใ์ นรัชกาลท่ี ๖ ๗ เริ่มต้นแสดงโดยไม่มีบทไหวค้ รู ละครนอก ละครใน ละครชาตรี ๘ เรื่องทนี่ ิยมแสดงมหี ลายเรื่อง เชน่ แกว้ หน้าม้า ลักษณวงศ์ ละครนอก ละครใน ละครชาตรี จนั ทโครพ สังข์ทอง ไชยเชษฐ์ คาวี มณพี ิชัย และไกรทอง ๙ ตวั แสดงหลกั เป็นผ้หู ญงิ ล้วน อาจมตี ัวประกอบเปน็ ผชู้ ายบา้ ง ละครนอก ละครใน ละครชาตรี ๑๐ มคี วามมงุ่ หมายสาคัญอยู่ ๓ ประการ คือ รกั ษาศิลปะของการ ละครนอก ละครใน ละครชาตรี ราอันสวยงาม รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอย่างเคร่งครัด รกั ษาความสุภาพทง้ั บทร้องและเจรจา ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรยี าภยั จงั หวดั ชมุ พร ๔๑

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อเิ หนา ตอน ศกึ กะหมังกหุ นงิ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ เล่ม ๑ เรยี นรู้ทีม่ า เฉลยใบงำนท่ี ๖ คาส่งั ให้นกั เรียนทาเครอ่ื งหมาย √ หนา้ ขอ้ ท่ถี ูก และทาเครื่องหมาย X หน้าขอ้ ทีผ่ ิด คำตอบ ขอ้ ควำม X ๑. เพลงหน้าพาทย์คือเพลงที่บรรเลงเพอื่ ใช้ประกอบบทเจรจาของตัวละคร √ ๒. เพลงเสมอ ใช้ประกอบกริ ิยาการเดินทางระยะใกล้ ไปช้าๆ ไมร่ บี ร้อน √ ๓. เพลงเชดิ ใช้บรรเลงประกอบกริ ยิ าท่ีตรงกนั ขา้ มกบั เพลงเสมอ X ๔. เน้ือหาในเรอ่ื ง อิเหนา ตอนศึกกะหมงั กหุ นิง มีเพลงหน้าพาทยช์ ่ือเพลงคุกพาทย์ √ ๕. มะเดหวี คอื ตาแหนง่ มเหสีลาดบั ที่ ๒ ของชวา เพีย้ นเสียงมาจากมหาเทวี ในภาษาสันสกฤต X ๖. ตาแหน่งเสนาชน้ั ผูใ้ หญ่ของชวามี ๔ ตาแหน่ง คอื ปาเตะ ตามะหงง ยาสา และ ปูนตา √ ๗. พีเ่ ล้ียงของอเิ หนาท่ีมบี ทบาทมากทีส่ ดุ ในตอน ศึกกะหมงั กุหนิง คือ ประสันตา √ ๘. ตาแหนง่ พเี่ ลย้ี งของพระโอรส และ พเ่ี ลยี้ งของพระธิดา ในชวามี ๔ ตาแหน่ง เหมอื นกนั √ ๙. ตาแหน่งพเ่ี ลี้ยงพระโอรสลาดับท่ี ๑ ของชวาคือ ยะรเุ ดะ X ๑๐. ตาแหนง่ พเ่ี ล้ียงพระธดิ าลาดบั ท่ี ๔ คือ บาหยนั ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรยี นศรยี าภยั จงั หวัดชมุ พร ๔๒

เลม่ ๑ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ภาษาไทย (ท๓๑๑๐๒) เรอื่ ง อิเหนา ตอน ศกึ กะหมังกุหนิง ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๔ เล่ม ๑ เรยี นรทู้ ่มี า เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น คาสง่ั ใหน้ ักเรียนเลือกคาตอบท่ีถกู ตอ้ งที่สดุ แลว้ กาลงในกระดาษคาตอบ ๑. เค้าเรื่องของอเิ หนาไดม้ าจากไหน ๔๓ ก. ประวัตขิ องชาวมะละกา ข. ประวัตศิ าสตรข์ องชาวชวา ค. ประวัตศิ าสตร์ของชาวลงั กา ง. ประวัติศาสตรข์ องชาวมลายู ๒. ข้อใดคือจุดมุ่งหมายสาคัญในการพระราชนิพนธ์เรอื่ งอิเหนาในรชั กาลท่ี ๒ ก. เพื่อใช้เล่นละคร ข. เพอ่ื ความเพลดิ เพลนิ ค. เพอื่ อนรุ ักษว์ รรณคดขี องชาติ ง. เพ่อื ปรบั ปรงุ พระราชนิพนธอ์ ิเหนาในรัชกาลที่ ๑ ๓. \"อเิ หนา\" บทพระราชนิพนธใ์ นรชั กาลท่ี ๒ ดาเนินเรื่องตามตน้ ฉบับของใคร ก. รชั กาลท่ี ๑ ข. พระเจา้ กรุงธนบรุ ี ค. เจา้ ฟ้าหญงิ กุณฑล ง. เจา้ ฟ้าหญิงมงกฎุ ๔. ละครนอก จะไม่แสดงเร่ืองใด ก. คาวี ข. ไกรทอง ค. สงั ขท์ อง ง. รามเกียรติ์ ๕. อเิ หนาไดร้ บั การยกยอ่ งจากวรรณคดีสโมสรตามขอ้ ใด ก. กลอนนิทาน ข. กลอนบทละครรา ค. กลอนบทละครพูด ง. กลอนบทละครร้อง ครรู สสคุ นธ์ เพชรศร โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชมุ พร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook