Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Pracetice-บรรณาธิการคู่มือครูและคู่มือนักศึกษา

Best Pracetice-บรรณาธิการคู่มือครูและคู่มือนักศึกษา

Published by piyarat.piyarat, 2021-09-07 15:20:43

Description: Best Pracetice-บรรณาธิการคู่มือครูและคู่มือนักศึกษา

Search

Read the Text Version

นวตั กรรมดา นส่อื การสอนออนไลน ดวยวธิ ปี ฏิบตั ทิ ่ดี ี (Best Practices) กศน.ตำบลกระแชง อำเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 1. ชอ่ื ผลงาน บรรณาธิการสอ่ื การสอนออนไลน คมู อื ครแู ละคูมือนักศกึ ษา ของสำนกั งานสง เสริมการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เพื่อเปนแนวทาง ในการจัดการเรียนรูออนไลน สำหรับครูกศน. และผูที่เกี่ยวของ ไดนำไปใชเพื่อใหการ ปฎบิ ตั ิงานเปน ไปอยา งถูกตอง และสามารถจัดการเรยี นรผู า นชอ งทางอนิ เตอรเน็ตไดอ ยางเตม็ ศกั ยภาพ 2. หนว ยงาน/สถานศกึ ษา กศน.ตำบลกระแชง อำเภอบางไทร สงั กัด สำนักงาน กศน.จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา 3. คณะทำงานพฒั นาแนวปฏิบัติทีด่ ี นางสาวปย รัตน สขุ สมพืช ครู กศน.ตำบลกระแชง 4. ความสอดคลอ ง แนวทางการปฏิบตั ิทดี่ ี (Best Practice) เรอ่ื ง บรรณาธกิ ารสอ่ื การสอนออนไลน คมู อื ครูและคมู อื นักศึกษา ของสำนักงานสงเสรมิ การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวัด พระนครศรีอยธุ ยา เพ่อื เปน แนวทาง ในการจดั การเรยี นรูออนไลน สำหรบั ครูกศน. นกั ศึกษาและผทู เี่ กยี่ วขอ ง ไดน ำไปใชเพอ่ื ใหการปฎบิ ตั งิ านเปนไปอยางถูกตอง และสามารถจัดการเรียนรผู า นชอ งทางอนิ เตอรเ น็ตไดอ ยาง เต็มศกั ยภาพ จัดทำข้นึ โดยมีการวิเคราะหความสอดคลองสถานการณก ารระบาดของไวรสั โคโรนา(COVID-19) และสอดคลองกับ จดุ เนน นโยบายของสำนักงาน กศน. ปง บประมาณ 2564 ดังน้ี มีความสอดคลองกบั พนั ธกจิ ของสำนกั งาน กศน. ดังน้ี ขอ 1. จดั และสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ทม่ี ีคุณภาพ สอดคลอง กับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และความเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกจิ และสงั คม เพื่อยกระดบั การศึกษา และ พฒั นาสมรรถนะ ทกั ษะการเรยี นรูของประชาชนกลมุ เปา หมายใหเ หมาะสมในแตล ะชว งวยั ใหพ รอ มรับ การ เปลี่ยนแปลงและการปรบั ตัวในการดาํ รงชีวิตไดอ ยา งเหมาะสม กาวสูการเปน สงั คมแหง การเรยี นรูต ลอดชีวติ อยา งยง่ั ยืน

ขอ 2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา การวดั และประเมินผลในทุกรูปแบบใหมคี ุณภาพและมาตรฐานสอดคลองกับรูปแบบการจัดการเรียนรูและบริบท ในปจ จุบัน ขอ 3. สงเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนําเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพิ่มชองทางและ โอกาส การเรียนรู รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดและใหบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ใหก ับประชาชนกลมุ เปา หมายอยา งทั่วถึง ขอ 4. สง เสริมสนับสนุน แสวงหา และประสานความรว มมอื เชิงรุกกับภาคีเครือขา ย ใหเขามามีสวนรวม ในการสนับสนนุ และจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวติ ในรูปแบบตาง ๆ ใหก บั ประชาชน ขอ 5. ฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภายในองคก รใหมีเอกภาพ เพ่ือการบริหารราชการทด่ี ี บนหลกั ของ ธรรมาภบิ าล มีประสิทธิภาพ ประสทิ ธิผล และคลอ งตัวมากย่งิ ขน้ึ ขอ 6 .ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความรู ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และจรยิ ธรรมท่ีดี เพือ่ เพ่ิมประสทิ ธิภาพของการใหบรกิ ารทางการศึกษาและการเรียนรูท ม่ี ีคณุ ภาพมากยิง่ ขนึ้ เปา ประสงค ขอ 3. ประชาชนไดรบั การพัฒนาทกั ษะการเรียนรูและแสวงหาความรูดวยตนเองผา นแหลงเรียนรู ชองทางการเรียนรู และกิจกรรมการเรยี นรรู ปู แบบตา ง ๆ รวมทัง้ มีเจตคติทางสงั คม การเมอื ง วทิ ยาศาสตร และ เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม สามารถคิดวิเคราะห แยกแยะอยา งมเี หตผุ ล และนาํ ไปประยกุ ตใชใ นชวี ติ ประจาํ วัน รวมถึง การแกปญหาและพฒั นาคณุ ภาพชีวิตไดอ ยางสรา งสรรค ขอ 4. หนวยงานและสถานศกึ ษา กศน. มหี ลกั สตู ร สอ่ื นวัตกรรม ชอ งทางการเรยี นรู และกระบวนการ เรยี นรใู นรูปแบบทห่ี ลากหลาย ทนั สมัย และรองรบั กับสภาวะการเรยี นรูในสถานการณตาง ๆ เพื่อแกปญ หา แล พัฒนาคุณภาพชีวติ ตามความตองการของประชาชนและชุมชน รวมทง้ั ตอบสนองกับการเปลย่ี นแปลงบรบิ ท ดา นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วฒั นธรรม ประวัติศาสตร และสิง่ แวดลอม ขอ 5. หนว ยงานและสถานศกึ ษา กศน. สามารถนาํ เทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยดี ิจิทลั มาพฒั นาเพอื่ เพ่ิมชอ งทางการเรยี นรูแ ละนาํ มาใชใ นการยกระดับคุณภาพในการจดั การเรียนรูและโอกาสการ เรียนรู ใหกับประชาชน - มีความสอดคลองกับจดุ เนน ของสำนกั งาน กศน. ดงั นี้ ภารกจิ ตอ เนื่อง 1. ดานการจัดการศึกษาและการเรยี นรู 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ขอ 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแตปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานโดย ดําเนินการ ใหผูเรียนไดรับการสนับสนุนคาจัดซื้อหนังสือเรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคา จดั การเรยี น การสอนอยางทั่วถึงและเพียงพอเพือ่ เพ่มิ โอกาสในการเขาถึงบริการทางการศึกษาท่มี ีคุณภาพโดยไม เสียคา ใชจ าย

ขอ 2) จัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานใหก บั กลมุ เปาหมายผดู อ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ผานการเรียนแบบเรียนรูดวยตนเอง การพบกลุม การเรียนแบบชั้นเรียน และการ จดั การศึกษาทางไกล ขอ 3) พัฒนาประสทิ ธภิ าพ คุณภาพ และมาตรฐานการจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษา ขั้นพื้นฐาน ทั้งดานหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล การเรียน และระบบการใหบรกิ ารนกั ศึกษาในรูปแบบอื่น ๆ 5. ท่มี าและความสำคญั เนอื่ งดวยสถานการณไ ดปจ จุบนั ผลกระทบจากการระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 เกดิ ข้นึ มากมายกับประชาชนทุกภาคสวน ประชาชนในทกุ สาขาอาชพี และกระทบตอ การรวมกลมุ จดั การเรยี นการสอน ทางสำนักงานสงเสรมิ การจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยาไดม หี นังสือเชิญประชมุ และคำส่งั ปฏบิ ตั ิหนา ทีใ่ นการเปนคณะทำงาน (บรรณาธิการส่ือการ สอนออนไลน) เพื่อจดั ทำคมู ือแนวทางการจัดการเรียนรอู อนไลน โดยมีวตั ถุประสงคเพ่อื เปนแนวทาง ในการจดั การเรียนรูออนไลน สำหรับครกู ศน. และผทู ีเ่ กี่ยวของ ไดน ำไปใชเพ่ือใหก ารปฎิบัตงิ านเปน ไปอยาง ถูกตอ ง และสามารถจดั การเรยี นรผู า นชองทางอินเตอรเ น็ตไดอ ยางเตม็ ศักยภาพ 6. วัตถุประสงค หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาใหผูเรียนมี คุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีศักยภาพในการประกอบอาชีพและการเรียนรูอยาง ตอเน่อื ง ซึง่ เปน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคท ่ตี อ งการ จงึ กำหนดจุดหมายดงั นต้ี อ ไปนี้ 1. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม คานยิ มที่ดงี ามและสามารถอยรู ว มกนั ในสงั คมอยางสันตสิ ขุ 2. มีความรูพ้ืนฐานสำหรบั การดำรงชีวติ และการเรยี นรูตอเนอื่ ง 3. มีความสามารถในการประกอบสมั มาอาชพี ใหส อดคลองกบั ความสนใจ ความถนดั และตามทันความ เปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื ง 4. มีทักษะการดำเนนิ ชวี ติ ท่ีดี และสามารถจัดการกับชวี ติ ชมุ ชน สงั คมไดอ ยางมคี วามสขุ ตามปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพียง 5. ความเขาใจประวัตศิ าสตรชาติไทย ภมู ิใจในความเปน ไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี กีฬา ภมู ปิ ญญาไทย ความเปนพลเมอื งดี ปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมของศาสนา ยดึ มน่ั ในวิถีชวี ิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมุข 6. มจี ิตสำนกึ ในการอนุรกั ษ และพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม 7. เปนบคุ คลแหงการเรียนรู มที กั ษะในการแสวงหาความรู สามารถเขา ถึงแหลงเรยี นรแู ละบูรณาการ ความรูมาใชใ นการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคมและประเทศชาติ

กลมุ เปา หมาย ประชาชนทวั่ ไปทไ่ี มอยใู นระบบโรงเรียนโครงสราง เพ่ือใหก ารจดั การศึกษาเปนไปตามหลักการ จุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรทู ี่กำหนดไวใ หสถานศกึ ษา และภาคเี ครอื ขา ยมแี นวปฏิบตั ใิ นการจัดทำ หลกั สูตรสถานศึกษา จงึ ไดก ำหนดโครงสรา งของหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ไวดงั นี้ (1) ระดบั การศกึ ษา ระดับการศกึ ษา แบง ออกเปนออกเปน 3 ระดบั ดงั นีค้ อื 1.1 ระดับประถมศึกษา 1.2 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน 1.3 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (2) สาระการเรียนรู สาระการเรียนรูป ระกอบดวย 5 สาระ ดังนี้ สาระทักษะการเรยี นรู เปนสาระเก่ยี วกบั การเรียนรูด วยตนเอง การใชแหลงเรยี นรู การจดั การความรู 1. การคิดเปนและการวิจยั อยา งงาย 2. สาระความรพู นื้ ฐาน เปน สาระเกย่ี วกับภาษาและการส่อื สาร คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตรแ ละ เทคโนโลยี 3. สาระการประกอบอาชพี เปน สาระเกี่ยวกับการมองเหน็ ชอ งทางและการตัดสินใจประกอบ อาชพี ทกั ษะในอาชีพ การจัดการอาชีพอยางมคี ณุ ธรรมและการพฒั นาอาชีพใหมั่นคง 1. สาระทกั ษะการดำเนนิ ชีวิต เปนสาระเก่ยี วกบั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สขุ ภาพอนามยั และ ความปลอดภยั ในการดำเนินชีวิต ศลิ ปะและสนุ ทรียภาพ 2. สาระการพัฒนาสังคม เปนสาระทีเ่ กี่ยวกบั ภมู ศิ าสตร ประวตั ิศาสตร เศรษฐศาสตร การเมอื ง การปกครอง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี หนาทพี่ ลเมอื ง และการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม (3) กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิตเปนกิจกรรมทจี่ ัดขนึ้ เพ่ือใหผ ูเรยี นพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม

(4) มาตรฐานการเรียนรู หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดมาตรฐาน การเรยี นรู ตามสาระการเรยี นรูทง้ั 5 สาระ ท่ีเปน ขอ กำหนดคณุ ภาพของผูเรยี น ดงั น้ี 1. มาตรฐานการเรียนรกู ารศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เปนมาตรฐานการเรยี นรู ในแตล ะสาระการเรยี นรูเ มื่อผูเรียนเรียนจบหลกั สตู ร การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. มาตรฐานการเรียนรูระดบั เปนมาตรฐานการเรียนรใู นแตล ะสาระการเรยี นรู เม่อื ผเู รยี นเรียนจบ ในแตล ะระดับ ตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (5) เวลาเรยี น ในแตล ะระดบั ใชเ วลาเรยี น 4 ภาคเรียน ยกเวน กรณีทม่ี ีการเทยี บโอนผลการเรยี นทัง้ นี้ ผูเรยี น ตอ งลงทะเบียนเรียนในสถานศึกษาอยา งนอ ย 1 ภาคเรียน (6) หนว ยกติ ใชเ วลาเรยี น 40 ชัว่ โมง มีคา เทากบั 1 หนวยกิต (7) โครงสรา งหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ประกอบดวย 1) สาระการเรียนรู 5 สาระคอื ทักษะการเรยี นรู ความรพู น้ื ฐาน การประกอบอาชีพ ทักษะ การดำเนนิ ชวี ิต และการพฒั นาสงั คม 2) จำนวนหนวยกติ ในแตละระดับ ดังน้ี 2.1) ระดบั ประถมศึกษา ไมนอยกวา 48 หนว ยกติ แบงเปนวิชาบังคับ 36 หนว ยกติ และวิชาเลือก ไมน อยกวา 12 หนวยกิต 2.2) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ไมนอยกวา 56 หนวยกิต แบงเปนวิชาบังคับ 40 หนวยกติ และ วชิ าเลอื กไมน อยกวา 16 หนวยกติ 2.3) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ไมน อยกวา 76 หนว ยกิต แบง เปนวิชาบงั คบั 44 หนว ยกติ และ วิชาเลอื กไมนอ ยกวา 32 หนวยกิต 3) ผเู รยี นตอ งทำกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ระดับละไมนอยกวา 200 ชั่วโมง 7. วิธดี ำเนนิ การ - ปญ หาทีพ่ บคือ คูม อื ครูและคมู อื นกั ศึกษา สำหรบั การเรียนรูออนไลนนี้ การทำงานเกิดขึ้นในระยะเวลา คอนขางจำกัด ตอ งเปลย่ี นแปลงและปรับปรุงขอ มูลเพือ่ รองรับกับเอกสารและลงิ คข อ มูลตา งๆ จากคณะทำงาน สื่อการสอนออนไลน ของทง้ั 3 ระดับชั้น คอื ระดับประถมศึกษา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน และระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย

ผังงานแสดงแนวทางการปฏบิ ตั ทิ ี่ดี เร่อื ง บรรณาธกิ ารส่ือการสอนออนไลน คมู อื ครูและคมู ือนกั ศกึ ษา

ผงั งานแสดงแนวทางการปฏบิ ัติที่ดี เรื่อง บรรณาธกิ ารสื่อการสอนออนไลน คูมอื ครูและคูม อื นกั ศึกษา ของสำนักงานสงเสริมการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา เพอื่ เปน แนวทาง ในการจดั การเรยี นรอู อนไลน สำหรบั ครกู ศน. และผทู เี่ กยี่ วของ ไดน ำไปใชเพอื่ ใหก ารปฎิบตั งิ าน เปนไปอยา งถูกตอ ง และสามารถจัดการเรียนรผู า นชองทางอินเตอรเ น็ตไดอยางเต็มศักยภาพ มขี ้ันตอนดังนี้ (ตามวงจรคุณภาพ PDCA) 1) ขั้นวางแผน (PLAN : P) - การประชมุ ระดมความคดิ ถงึ ปญ การการจดั การเรียนการรูในสถานการณไ วรสั โคโรนา(Covid-19) ระบาดทำใหเ สีย่ งตอการรวมกลุม - เลอื กวิธีการจัดการเรยี นการรใู นรปู แบบตา งๆ 2) ขั้นทำ (DO : D) - สรา งบทเรยี นออนไลน -ตารางวิเคราะหเน้อื หารายวชิ า -ปฏทิ ินการเรยี นรูแ บบออนไลน -การวัดผลและประเมินผล -แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูอ อนไลน -การสราง E-Mail -การสรางเคร่อื งมือวัดและประเมินผล โดยใช Google Drive -การสรางเครือ่ งมอื วัดและประเมนิ ผล โดยใช Google Form -การสรางเครอ่ื งมือวัดและประเมินผล โดยใช Google Docs -การสรา ง QR Code - ข้ันตอนการจดั การเรยี นรอู อนไลน /ผังการจัดการเรียนรอู อนไลน - สรา งคมู ือครู - สรา งคูมือนักศึกษา 3) ข้ันการตรวจสอบ (CHECK : C) - ตรวจสอบการดำเนนิ งานจากขอ 2 (DO:D) วา เปนไปทำขน้ั ตอนหรือไม หากไมเ ปน ไปตามแผนการดำเนนิ งานที่วางไว ใหก ลบั ไปลงมอื ทำใหม 4) ขน้ั ตอนการดำเนินงานใหเหมาะสม (ACT : A) การนำบทเรียนออนไลน ขนึ้ บน Website สำนักงาน กศน.จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เพ่ือใหทกุ อำเภอ ในจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ครู นักศกึ ษา และผูท ี่เกีย่ วขอ ง ไดเ ขา ไปใชงาน ซึ่งสามารถเรยี นไดทุกท่ี ทกุ เวลา และครูผสู อนสามารถตรวจสอบคะแนนจากแบบทดสอบกอ นและหลงั การเรียนรอู อนไลน ไดเพื่อนำมา ประเมนิ ผล เพอื่ ปรบั ปรุงใหม ีประสิทธภิ าพในการเรยี นรอู อนไลนใหม ากย่งิ ข้ึน







ข้นั ตอนการจดั การเรยี นรูออนไลน

8. ตวั ชี้วัดความสำเรจ็ (เกณฑก ารประเมนิ ผลสำเรจ็ ) 1) มีแนวทางการปอ งกนั และแกไขปญ หาอยา งเปนระบบ 2) มกี ารเขาใจงานในเว็บไซดอยา งตอเน่ือง http://ayutt.nfe.go.th 3) แฟมสะสมงาน- ท่ีไดจ ากการแคปหนาจอการทำใบงานหรือการทำแบบทดสอบกอนเรียน-หลังเรยี น 9. เคร่ืองมือการประเมนิ ผล - แบบทดสอบกอ นเรียน - แบบทดสอบหลงั เรียน - แบบบนั ทกึ 10. ผลการดำเนนิ งาน มีการเขาใชสอ่ื การเรยี นรอู อนไลนอ ยา งตอ เนอื่ ง โดยสว นใหญจะมแี นวโนมมคี ะแนนหลังเรียนสงู กวา กอ นเรียน ครูสามารถศึกษาคมู อื ครูสำหรบั การเรยี นรอู อนไลนเ พื่อสรา งและปรบั ใช หรอื สามารถ ใชใ นเว็บไซร ที่ลงิ คไ วใ นแตล ะระดับ และวชิ าได http://ayutt.nfe.go.th นกั ศึกษาสามารถศกึ ษาการใชง านไดจ ากคมู ือ นกั ศกึ ษาการเรียนออนไลนเ ปนการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการใชง านมากย่งิ ขนึ้ 11. บทสรปุ บรรณาธิการส่ือการสอนออนไลน คมู อื ครแู ละคูมอื นกั ศึกษา โดยสำนักงานสงเสรมิ การจัดการศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา เพอื่ เปนแนวทางในการจัดการเรียนรอู อนไลน สำหรบั ครกู ศน. และผทู เี่ กยี่ วของ ไดน ำไปใชเ พอ่ื ใหการปฎิบตั ิงานเปน ไปอยา งถูกตอง และสามารถจดั การเรียนรู ผานชอ งทางอินเตอรเน็ตไดอ ยางเต็มศกั ยภาพมากขน้ึ 12. กลยุทธ หรอื ปจ จัยที่ทำใหป ระสบความสำเร็จ ครู นักศกึ ษาและผูท ่ีเกี่ยวของใหความรว มมือ มีความสามคั คี ทกุ อยางราบรื่นไปไดดวยดี การนำบทเรียนออนไลน ขึ้นบน Website สำนกั งาน กศน.จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา เพอ่ื ใหท ุกอำเภอในจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา ครู นกั ศกึ ษา และผทู ่ีเกยี่ วของ ไดเขาไปใชง าน ซึ่งสามารถเรียนไดทกุ ที่ ทุกเวลา 13. ขอ เสนอแนะ ควรมีการขยายผลทำคูมอื การสรา งคลปิ วีดีโอสอื่ การสอนอยา งงา ยไดด ว ยตนเอง โดยการใชโ ปรแกรม ทางเลอื กตางๆ ใหหลากหลายชองทางมากยงิ่ ข้ึน

14. ประโยชนท ี่ไดร ับ ครู นกั ศกึ ษา และผูที่เกี่ยวขอ ง ไดเ ขา ไปใชงานคมู อื ครู คมู ือนกั ศกึ ษา ในการบทเรยี นออนไลน ท้งั จาก เอกสารรูปเลม ทท่ี าง สำนักงาน กศน.จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา จดั พิมพเผยแพรแกท กุ อำเภอในสังกดั และศกึ ษา คูม อื ครู คมู ือนกั ศกึ ษาในการสรางและใชบทเรียนออนไลน ผา นทางเว็บไซดของhttp://ayutt.nfe.go.th สำนกั งาน กศน.จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา อกี ทางหนงึ่ ดวย ซง่ึ สามารถเรียนรูไดทุกที่ ในทกุ ชว งเวลาทีเ่ ออ้ื อำนวย และชว ยเพิ่มประสทิ ธิภาพทางการจัดการเรียนรไู ดมากยง่ิ ข้นึ







ข้นั ตอนการจดั การเรยี นรูออนไลน

ภาคผนวก



ภาพกจิ กรรม บรรณาธิการสื่อการสอนออนไลน คูมอื ครแู ละคูมือนกั ศกึ ษา ในวันท่ี 20 พฤษภาคม 2564 ณ หองประชมุ สำนกั งาน กศน.จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

ภาพกจิ กรรม บรรณาธิการสื่อการสอนออนไลน คูมอื ครแู ละคูมือนกั ศกึ ษา ในวันท่ี 20 พฤษภาคม 2564 ณ หองประชมุ สำนกั งาน กศน.จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

หนงั สือเชญิ





คำส่งั







ภาพกจิ กรรม บรรณาธิการสื่อการสอนออนไลน คมู ือครแู ละคมู อื นกั ศกึ ษา ในระหวางวันที่ 11 - 14 พฤษภาคม 2564 ณ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา

ภาพกจิ กรรม บรรณาธิการส่ือการสอนออนไลน คูมือครแู ละคมู อื นกั ศกึ ษา ในระหวางวันที่ 11 - 14 พฤษภาคม 2564 ณ สำนกั งาน กศน.จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

ภาพกจิ กรรม บรรณาธิการสือ่ การสอนออนไลน คมู อื ครแู ละคมู อื นกั ศกึ ษา

ภาพกิจกรรม บรรณาธกิ ารสือ่ การสอนออนไลน คมู อื ครแู ละคมู ือนกั ศกึ ษา

ภาพกิจกรรม บรรณาธิการสือ่ การสอนออนไลน คูม อื ครูและคูมอื นักศกึ ษา ณ สำนกั งาน กศน.จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ภาพกิจกรรม บรรณาธกิ ารสื่อการสอนออนไลน คูมอื ครูและคูมอื นกั ศกึ ษา สำนักงาน กศน.จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา สง เลม คูม ือครู คมู อื นักศกึ ษา และแผนการเรยี นรอู อนไลน ทง้ั 3 ระดบั ถงึ ทกุ กศน.อำเภอในจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

เอกสารอา งอิง อญั ชลี/ธรรมวธิ กี ุล.//(2553).//การจัดการศกึ ษานอกระบบตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา ข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช2551.//สบื คน เมอื่ 14/พฤษภาคม/2564)./panchalee’s blog/ https://panchalee.wordpress.com/2010/12/28/non-formal/ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย.กลุมพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา. http://pattana.nfe.go.th/pattana/pat%20-%20bookmedia1.html

ทปี่ รึกษา คณะผจู ัดทำ นางสาวมุกดา แข็งแรง ผูอ ำนวยการ กศน.อำเภอภาชี รกั ษาการในตำแหนง ผูอำนวยการ กศน.อำเภอบางไทร นางสาววิชชุตา แกว โมรา บรรณารักษช ำนาญการ นางสาวหทัยรัตน ศิรแิ กว ครู นางสาวฐิติพร พาสี ครผู ชู วย ผจู ัดทำ/ผรู วบรวมขอมูล/สรปุ ผล/รายงานผล/จดั พมิ พร ปู เลม นางสาวปย รัตน สุขสมพืช ครู กศน.ตำบล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook