รายงานผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลกั สูตร ประจาํ ปีการศึกษา 2564 หลกั สตู ร การจัดการมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าธรรมาภบิ าลดจิ ทิ ลั เพือ่ ความยัง่ ยนื คณะรฐั ประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
หลักปรัชญาของการบริหารหลักสูตรคือ ตอบสนองการพัฒนาประเทศที่ เปลี่ยนแปลงสู่เศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัล โดยมุ่งผลิตผู้บริหารมืออาชีพ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนให้มีทักษะความรู้ภาคทฤษฎีและการปฏิบัติ ส่งเสริม ธรรมาภิบาลและนวัตกรรมการจัดการในยุคดิจิทัลเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้มีความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ สามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้ อย่างเหมาะสมกับงานทั้งหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคธุรกิจ ผ่านการได้เรียนรู้จากหลักฐานที่เป็นข้อมูลข้อเท็จจริง (Learning from the Real-World Evidence) รวมทั้งเป็นผู้ที่มีคุณธรรม และพร้อมรับมือกับ สถานการณ์และสภาพแวดล้อมของการเปลี่ยนแปลงที่การบริหารประเทศ จะมงุ่ ไปในแนวทางทภ่ี าครัฐเป็นรัฐบาลดจิ ทิ ัลต่อไปได้ในอนาคต
ขอ้ มูลทวั่ ไป อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สูตร* มคอ. 2 อาจารยผ์ ูร้ บั ผิดชอบหลักสตู ร ปกี ารศึกษา 2564 1. อ. ดร. ชุมพล อนุ่ พฒั นาศิลป์ 2. อ. ดร.ปนนั ดา จนั ทร์สกุ รี 1. อ. ดร. กนก กาญจนภู 3. อ. ภาวณิ ี ชว่ ยประคอง 2. อ. ดร. ชุมพล อุ่นพฒั นาศิลป์ * สืบคน้ จากระบบ CHE-CO วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 3. อ. ดร. ธนาพร เต็งรัตนประเสริฐ
สถานทจี่ ัดการเรียนการสอน สถานที่ตง้ั (กรุงเทพมหานคร) สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ เลขท่ี 148 ถนนเสรไี ทย แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร
จุดแขง็ แนวทางเสริมจุดแขง็ 1. ร้อยละ 96 ของอาจารยป์ ระจาํ หลกั สตู รสําเรจ็ การศึกษาในระดบั 1. ส่งเสรมิ และพัฒนาใหค้ ณาจารยข์ องหลักสูตรผลิตผลงานวจิ ัยและ/หรืองาน ปริญญาเอก และรอ้ ยละ 80 ของอาจารยป์ ระจาํ หลักสูตรเปน็ ผูด้ ํารง วชิ าการรว่ มกบั บุคลากรของคณะ และหนว่ ยงานทงั้ ภายในและภายนอกสถาบัน ตําแหนง่ ทางวิชาการระดบั ผู้ช่วยศาสตราจารยข์ ้ึนไป อาทิ หน่วยงานภาครฐั ภาคเอกชน ท้ังในระดับชาตแิ ละระดบั นานาชาติ 2. ส่งเสริมการทําวิจัยเพอ่ื พัฒนาองค์ความร้แู ละวิจัยด้านการจัดการภาครัฐและ 2. หลกั สูตรได้รบั การรบั รองคณุ วฒุ ิของผู้สาํ เร็จ ภาคเอกชน รวมถึงการทาํ วิจัยกรณศี ึกษา การศึกษาของสถาบันอุดมศกึ ษาจากสาํ นักงาน ก.พ. 3. ส่งเสรมิ การตพี ิมพผ์ ลงานวิจยั ทั้งในระดบั ชาตแิ ละระดบั นานาชาติ 4. สง่ เสรมิ การจดั ประชมุ วชิ าการระดบั ชาติและระดับนานาชาติ การวเิ คราะหจ์ ดุ แข็ง/ 5. สง่ เสริมใหอ้ าจารย์ไปนาํ เสนอผลงานวชิ าการในต่างประเทศ แนวทางเสริมจุดแขง็ 6. จดั ระบบอาจารย์พีเ่ ล้ยี งในการทาํ วจิ ัยและการเรยี นการสอน จุดที่ควรพัฒนา/ การประชาสมั พันธ์หลกั สตู รฯ เพ่ือสรา้ งแรงจูงใจ ขอ้ เสนอแนะในการ ดําเนินการเทียบเท่ารายวิชาของหลักสูตร ใหผ้ ทู้ ่สี นใจมาศกึ ษามากย่ิงขน้ึ รวมถงึ การวาง ปรบั ปรุง การจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาธรรมาภิบาล แผนการประชาสมั พันธห์ ลกั สูตร การเผยแพรใ่ น ดิจิทัลเพื่อความยั่งยืน คณะรัฐประศาสนศาสตร์ ส่อื เช่น เพจ Facebook หลักสตู ร, กลมุ่ LINE กับโครงการอบรมสั้น เพื่อส่งเสริมและ รวมถึงเพจ Facebook หลกั สตู รอืน่ ๆ เป็นตน้ เพิ่มศักยภาพให้ผู้บริหารยุคใหม่ทันต่อนวัตกรรม ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในยุตดิจิทัล รวมทั้ง พัฒนาความสามารถให้ผู้บริหารยุคใหม่ ส่งผลต่อ การขยายกลุ่มเป้าหมายของหลักสูตร รวมทั้ง ประชาสมั พนั ธห์ ลักสตู รอยา่ งกว้างขวาง จุดที่ควรพฒั นา ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุง
ในปีงบประมาณ 2564 หลักสูตรฯ ได้ปรับ แผนการเรียนการสอนในหลักสูตรเป็นหลักสูตร ที่มีการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Hybrid Learning Program) โดยแบ่งเป็นสัดส่วนร้อย ละ 70 คือเรียบแบบชั้นเรียน และร้อยละ 30 คือ เรียนออนไลน์ โดยดําเนินการตามประกาศ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การขอเปิดและ ดําเนินการหลักสูตรระดับปริญญา ในระบบ การศึกษาทางไกล พ.ศ.2548 หลักสตู รฯ ไดร้ ับสมคั รเพอ่ื พิจารณา การจัดการเรยี นราย module คัดเลอื กเข้าศกึ ษา ระดบั ปริญญาโท เพื่อรบั ประกาศนียบตั ร โดย ภาคพเิ ศษ หลักสูตรการจดั การ ร่วมมือกับ UNDP และหลกั สูตร มหาบัณฑติ สาขาวิชาธรรมาภบิ าล ฝึกอบรมระยะส้ัน (เกบ็ หน่วยกิต ยคุ ดิจทิ ลั และความยัง่ ยืน ประจาํ ปี สาํ หรับเทยี บเพ่ือรบั ปริญญาโท) การศกึ ษา 2564 สาํ นักงาน ก.พ. และสาํ นกั งาน ก.ค.ศ. ได้รบั รองคณุ วุฒขิ อง ผู้สาํ เร็จการศกึ ษาตามหลกั สตู ร ของสถาบันอุดมศึกษา
วตั ถปุ ระสงค์ 1) เพ่ือผลติ มหาบณั ฑติ ใหม้ ีความร้ใู นดา้ นการจัดการยุคดิจิทัลและ ความยั่งยนื ทง้ั ในภาคทฤษฎี และภาคปฏบิ ตั ิ และสามารถนําความรู้ ดงั กลา่ วไปประยุกต์ใช้กับงานของหนว่ ยงานภาครัฐ รฐั วิสาหกจิ และ ภาคธุรกิจไดอ้ ย่างมอื อาชพี 2) เพอ่ื สรา้ งผ้นู ํา และผ้บู รหิ ารในภาครัฐ รฐั วิสาหกจิ และภาคเอกชน ท่มี คี ุณธรรม จริยธรรม และความรบั ผิดชอบต่อสงั คม 3) เพือ่ ส่งเสริมความความเข้าใจ และความร่วมมอื ในดา้ นการ จดั การดจิ ิทัลระหวา่ งบุคลากรในภาครฐั รัฐวสิ าหกจิ และ ภาคเอกชน ผ่านการแลกเปล่ยี นประสบการณแ์ ละผลการวิจยั อนั จะนาํ ไปสแู่ นวทางการขับเคลือ่ นประเทศในยคุ ดจิ ิทลั ไดอ้ ย่าง ย่ังยืน
คณะรฐั ประศาสนศาสตรไ์ ด้จัดทําหลักสตู ร ใหม่นี้ มีสถานภาพของหลักสูตรและการ พจิ ารณาอนุมตั /ิ เหน็ ชอบหลักสตู รหลักสตู ร การจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาธรรมาภิ บาลดิจทิ ลั เพ่ือความย่ังยืน เปดิ สอนภาค การศกึ ษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 เปน็ ต้นไป คณะกรรมการสภาวชิ าการ อนมุ ตั /ิ เห็นชอบหลกั สตู ร ในการ ประชุมคร้งั ท่ี 2/2563 เมอื่ วนั ท่ี 22 ธันวาคม 2563 สภาสถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ าร ศาสตร์ อนุมัติ/เหน็ ชอบหลกั สตู ร ในการ ประชมุ ครัง้ ท่ี 1/2564 เมือ่ วันที่ 20 มกราคม 2564
หลกั สูตรจะได้รบั การเผยแพร่ว่าเปน็ หลักสตู รทีม่ คี ุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2552 ปีการศึกษา 2565 แผนการพฒั นาเปล่ียนแปลง กลยทุ ธ์ หลกั ฐานตัวบง่ ชี้ - ปรับปรงุ หลักสูตรตามเกณฑ์ - พฒั นาหลักสตู รโดยมพี น้ื ฐาน - เอกสารหลกั สูตร มาตรฐานหลกั สตู ร สกอ.และ จากหลกั สูตรในระดบั สากล - รายงานผลการประเมินหลักสูตร ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ - มคอ. 3, 5, 7 ระดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ - ส่งเสริมการทําวิจยั เพ่ือพัฒนา - จาํ นวนเงินวิจัยตอ่ อาจารย์ประจํา - ปรับปรงุ หลักสตู รให้มีมาตรฐาน ระดบั นานาชาติและสอดคล้องกับ องค์ความร้แู ละวจิ ยั ด้านการ - จาํ นวนโครงการวิจัยในแตล่ ะปี ความเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจ จัดการภาครฐั และภาคเอกชน - ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ การเมอื งและสังคมสิ่งแวดล้อม และ - สง่ เสริมการทาํ วิจัยกรณีศึกษา ของผู้ใช้บัณฑิต ความตอ้ งการของผู้ใชบ้ ณั ฑิต - สง่ เสริมการตพี มิ พผ์ ลงานวจิ ัย - จาํ นวนบทความวจิ ยั ท่ีไดร้ บั - พัฒนาอาจารยใ์ หม้ ีความรู้ดา้ น การเรียนการสอน การวิจัยและ ทัง้ ในระดบั ชาติและระดบั นานาชาติ การตีพิมพ์ การบริการวิชาการ - สง่ เสริมการจัดประชุมวชิ าการ - จาํ นวนการจดั การประชุมทาง ระดบั ชาติและระดบั นานาชาติ วิชาการระดบั ชาต/ิ นานาชาติ - ส่งเสริมให้อาจารยไ์ ปนําเสนอ - จาํ นวนอาจารยท์ ่ไี ปเสนอ ผลงานวิชาการในตา่ งประเทศ ผลงานวิชาการในต่างประเทศ - จดั ระบบอาจารย์พเี่ ลยี้ งในการ
ความสอดคล้องกับพันธกจิ สถาบันบัณฑิตพฒั นบริหารศาสตร์ จากสถานการณ์ในปัจจุบันนี้ที่โลกกําลังเปลี่ยนผ่านไปสู่ยุคดิจิทัล ที่มีแรงผลักดันอย่างต่อเนื่อง จากปัจจัยต่างๆ ทางธุรกิจและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทุกประเทศและทุกองค์การทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้ประกอบการอิสระของธุรกิจที่เกิดขึ้นใหม่ ต่างต้องปรับเปลี่ยนตัวเองไปสู่องค์การดิจิทัล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันใหม่ในพลวัตการเปลี่ยนแปลง การปรับตัวของการ บริหารจัดการองค์การที่ไร้พรมแดน ซึ่งการปรับเปลี่ยนไปสู่การจัดการในยุคดิจิทัลได้นั้น ผู้บริหารและ บุคลากรในองค์การจําเป็นต้องเตรียมความพร้อมขององค์การ โดยจะต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจทั้ง ทางขบั เคล่อื นองคก์ ารและการปรับเปลยี่ นกลยุทธไ์ ปสู่เป้าหมายไดอ้ ย่างบรรลุผล คณะรัฐประศาสนศาสตร์ ตระหนักว่าทักษะด้านการจัดการสําหรับนักบริหารการพัฒนาในยุคดิจิทัลเป็นเรื่องสําคัญอย่างยิ่ง จึงเห็นสมควรให้มีการพัฒนาหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาธรรมาภิบาลดิจิทัลเพื่อความ ยั่งยืน เพื่อให้เป็นหลักสูตรใหม่ที่สามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย สอดรับกับเศรษฐกิจ สังคมยุคดิจิทัลและโลกในยุคพลิกผัน โดยมุ่งผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ในด้านการจัดการยุคดิจิทัลและ ความยั่งยืน ทั้งในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ และสามารถนําความรู้ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม กบั งานของหนว่ ยงานภาครฐั รฐั วิสาหกิจ และภาคเอกชน
ความเก่ยี วขอ้ งกบั พนั ธกจิ ของสถาบัน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มีพันธกิจหลักในเรื่องของ การผลิตมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในการ บริหารอย่างมืออาชีพ และสามารถนําความรู้และความเชี่ยวชาญนั้นไปใช้ ในการบริหารและการพัฒนาประเทศอย่างมีคุณธรรม ผลิตงานวิจัยและ ผลงานทางวิชาการเพื่อการบริหารและพัฒนาประเทศ ให้บริการทาง วิชาการแก่หน่วยงานทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนเพื่อ มุ่งเน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเพื่อทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการด้านการ บริหารกับองค์การในภาครัฐและภาคเอกชนทั้งในประเทศและใน ต่างประเทศเพ่ือตอบสนองตอ่ แนวทางการพฒั นาอย่างยั่งยนื หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาธรรมาภิบาลดิจิทัล เพื่อความยั่งยืน มีเป้าหมายของการผลิตบัณฑิตที่สอดคล้อง กับพันธกิจสถาบันฯ คือ การมุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตระดับ บัณฑิตศึกษาที่มีภาวะผู้นํา พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และ ให้บริการวิชาการ ด้านการบริหารการพัฒนา เพื่อให้บุคลากร ของประเทศมีศักยภาพเพียงพอในการพัฒนาประเทศ ให้เจรญิ ก้าวหนา้ อย่างย่ังยนื
1.1 การกําหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังได้รับการจัดทําขึ้นอย่างเหมาะสมตามผลการเรียนรู้ learning taxonomy) โดยสอดคล้องกบั วสิ ัยทัศน์และพนั ธกิจของมหาวทิ ยาลัยและมีการส่ือสารไปยงั ผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ทงั้ หมด ในปี 2563 หลกั สูตรฯไดม้ กี ารจดั ใหม้ กี าร ในการประชมุ ครง้ั ที่ ในการประชมุ คร้ังท่ี 1/2564 วพิ ากษ์หลักสตู รก่อนการเปดิ หลักสตู ร 2/2563 เมือ่ วันที่ เมือ่ วันที่ 20 มกราคม 2564 หลกั สูตร เมอ่ื วนั ที่ 6 ตลุ าคม 2563 เพ่อื รบั ทราบ 22 ธนั วาคม 2563 จะได้รบั การเผยแพร่วา่ เปน็ หลักสูตรที่มี ข้อเสนอแนะจากผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี โดยนํา สภาสถาบันบัณฑติ พัฒ คณุ ภาพและมาตรฐานตามกรอบ ข้อเสนอแนะจากการวพิ ากต์ ลอดจน นบรหิ ารศาสตร์ อนุมตั /ิ มาตรฐานคณุ วฒุ ิระดับอดุ มศึกษา วตั ถปุ ระสงค์วสิ ัยทัศน์ พันธกิจของคณะ เห็นชอบหลกั สูตร พ.ศ. 2552 ปีการศึกษา 2565 และ และสถาบัน และ มคอ. มากําหนดผลการ หลกั สตู รมีกําหนดการเปดิ เรยี น เรยี นรู้ทค่ี าดหวังให้สอดคลอ้ งกับ ELOs ภาค 1 ปีการศึกษา 2564 และกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ 2558 ของ (สงิ หาคม 2564) หลักสูตรใหม่ ซงึ่ คณะกรรมการสภา วิชาการ อนุมัต/ิ เหน็ ชอบหลกั สูตร
แสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งวิสยั ทศั น์ พนั ธกิจของสถาบัน คณะ และหลกั สตู ร
ความสอดคล้องของวัตถปุ ระสงคห์ ลกั สตู ร กบั ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวัง วัตถุประสงคข์ องหลกั สตู ร ELO 1 ผลการเรยี นร้ทู ่ีคาดหวงั ELO 5 R ELO 2 ELO 3 ELO 4 R 1. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตให้มีความรู้ในด้าน การจัดการยุคดิจิทัลและความยั่งยืน ทั้งใน RRR R ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ และสามารถนํา ความรู้ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้กับงานของ R หน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคธุรกิจ RRR ไดอ้ ยา่ งมอื อาชีพ 2. เพื่อสร้างผู้นํา และผู้บริหารในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนที่ มีคุณธรรม จริยธรรม และความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม 3. เพื่อส่งเสริมความความเข้าใจ และความ ร่วมมือในด้านการจัดการดิจิทัลระหว่าง บุคลากรในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และ ภาคเอกชน ผ่านการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และผลการวิจัย อันจะนําไปสู่แนวทางการ ขับเคลอ่ื นประเทศในยคุ ดิจทิ ัลไดอ้ ยา่ งย่งั ยืน
แสดงความเชอ่ื มโยงระหวา่ ง ELOs, TQF, NIDA’s Visions Missions และ Visions Missions ของคณะ ELOs Levels in TQF NIDA NIDA’s expectation towards Faculty Bloom’s graduates Taxonomy Visions Missions Visions Missions ELO 1 อธบิ าย (Explain) แนวคิดและทฤษฎที เ่ี กี่ยวข้อง understand TQF 2 ดา้ นความรู้ / / ผสู้ ําเร็จการศกึ ษานําหลกั การ / / TQF 3 ด้านทักษะทางปญั ญา กับการจดั การ การกํากบั ดแู ล และการสง่ เสรมิ บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิ หลักธรรมาภบิ าลดจิ ิทลั บาลโดยให้คณุ คา่ กบั การพฒั นา และการมสี ว่ นร่วมของบุคลากร ELO 2 ประยกุ ตใ์ ช้ (Apply) ความรู้ และทักษะด้านการ apply TQF 2 ด้านความรู้ / / ผสู้ าํ เรจ็ การศึกษามีองคค์ วามรู้ / / TQF 3 ด้านทักษะทางปญั ญา จัดการเพื่อสนบั สนนุ การดาํ เนินงานของ ศึกษาวจิ ยั ดา้ นการบริหารการ องคก์ ารในแตล่ ะภาคส่วนในยุคดิจทิ ลั พัฒนา และสร้างงานบรกิ าร วิชาการที่มคี ณุ คา่ ต่อการ พัฒนาประเทศ ELO 3 แสดงใหเ้ ห็นถึง (Demonstrate) ทัศนคติความ apply TQF 1 ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม / / ผสู้ าํ เร็จการศึกษาสามารถเปน็ / / เปน็ ผู้นําในการสร้างความร่วมมือ และความ เปล่ียนแปลงเพือ่ ทาํ ใหเ้ ป้าหมายขององคก์ ารใน TQF 4 ดา้ นทักษะความสมั พนั ธ์ ผ้นู าํ ทีม่ ีปญั ญาคูค่ ณุ ธรรมเพอ่ื ระหวา่ งบคุ คลและความรับผดิ ชอบ ยุคดิจทิ ลั บรรลุผล พฒั นาประเทศ และสร้างเสริม ค่านยิ มและจติ สาํ นึกมุ่งม่ัน พฒั นาประเทศ บนพืน้ ฐานความ เข้มแขง็ ของศลิ ปวัฒนธรรมไทย ELO 4 วิเคราะห์ (Analyze) ปจั จัยความท้าทายและ analyze TQF 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์ / / ผู้สําเรจ็ การศกึ ษาสามารถสร้าง / / เชิงตวั เลข การสอื่ สารและการใช้ / องคป์ ระกอบความสาํ เรจ็ ในการดาํ เนนิ งานของ เสริมการบริหารจดั การตามหลกั องคก์ ารในแต่ละภาคส่วน เพ่อื ตอบสนองตอ่ and evaluate เทคโนโลยสี ารสนเทศ การเปล่ยี นแปลงด้านดิจทิ ลั ธรรมาภบิ าลโดยให้คณุ คา่ กับ การพัฒนาและการมีสว่ นรว่ ม ของบุคลากรได้ ELO 5 พัฒนา (Develop) ข้อสรุปหรอื ข้อเสนอแนะจาก create TQF 2 ด้านความรู้ / ผู้สําเร็จการศกึ ษามอี งคค์ วามรู้ / / การวจิ ยั การคน้ คว้าทางวิชาการในด้านการ TQF 3 ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา ศกึ ษาวจิ ัย ดา้ นการบรหิ ารการ จดั การ การกาํ กบั ดูแล และการสง่ เสรมิ หลกั ธรร TQF 4 ด้านทกั ษะความสมั พันธ์ พัฒนา และสร้างงานบรกิ าร มาภิบาลดิจิทัลเพื่อขยายองคค์ วามรู้ และสอื่ สาร ระหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ ไปยังผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ขององค์การในแตล่ ะ วชิ าการทมี่ ีคุณค่าตอ่ การ ภาคส่วน TQF 5 ดา้ นทกั ษะการวิเคราะห์ เชงิ ตัวเลข การสือ่ สารและการใช้ พัฒนาประเทศแกน่ ักศกึ ษา เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการสรา้ งเสริมการ บรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิ บาลโดยใหค้ ณุ ค่ากบั การพฒั นา และการมีส่วนร่วมของบคุ ลากร
แสดงช่องทางการสอ่ื สาร ELOs, ข้อกาํ หนดหลกั สูตร ไปยังผู้ท่มี สี ่วนได้สว่ นเสยี กลุ่มตา่ ง ๆ ผูม้ สี ่วนได้สว่ นเสีย ชอ่ งทางการ นักศึกษา ศิษยเ์ ก่า นายจ้าง คณาจารย์ สถาบัน กระทรวง สอ่ื สาร ปจั จบุ ัน ภายในคณะ R การ website RR RR R อดุ มศกึ ษา RR R วทิ ยาศาสตร์ Facebook RR RR Q QR Q วจิ ัยและ Brochure RR QQ Q นวตั กรรม QQ Line Q Q (อว.) Q MS Team QQ Q Course Syllabus Q Q Q Q Q Q หมายเหต:ุ Q หมายถึง ยงั ไม่ไดส้ ่อื สารไปยงั ผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสีย R หมายถงึ มกี ารส่อื สารไปยังผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย
ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั ประกอบดว้ ย ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ ทั่วไป (ที่เกยี่ วขอ้ งกบั ส่ือสารต่างๆ ทง้ั การเขยี น การพูด การแก้ไขปัญหา เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการทาํ งาน เปน็ ทีม ฯลฯ) และผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้เฉพาะทาง (ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับความรแู้ ละทักษะของสาขาวิชา)
1) มีความรอบรู้ในด้านต่าง ๆ หลกั สตู รฯ มคี วาม 2) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง (Active ( Learner Person) โ ด ย ห ล ั ก ส ู ต ร คาดหวังให้นกั ศกึ ษา Citizen) ม ี ค ว า ม ก ล ้ า ห า ญ ท า ง ปลูกฝังการเป็นผู้ใฝ่การเรียนรู้ตลอด มีผลลพั ธ์การเรยี นรู้ใน จริยธรรม ยึดมั่นในความถูกต้อง และ ชวี ติ พรอ้ มเผชิญความเปลี่ยนแปลง และ ชน้ั ปีที่ 1 ผ่านการศกึ ษา เป็นผู้นําทั้งในการสร้างความร่วมมือและ มีความเป็นผู้นํา ผ่านการศึกษาแนวคิด รายวชิ าและกจิ กรรม เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลง โดย และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ หลักสูตรปลูกฝังให้นักศึกษาวิเคราะห์ การกํากับดูแล และการส่งเสริมหลักธรร ในวชิ า ดงั น้ี ปัจจัยความท้าทายและองค์ประกอบ มาภิบาลดิจิทัล ให้นักศึกษาประยุกต์ใช้ ความสําเร็จในการดําเนินงานของ ความรู้ และทักษะด้านการจัดการเพื่อ องค์การในแต่ละภาคส่วนเพื่อตอบสนอง สนับสนุนการดําเนินงานขององค์การใน ต่อการเปลี่ยนแปลงด้านดิจิทัล รวมถึง แต่ละภาคส่วนในยคุ ดจิ ิทลั ได้ บ่มเพาะทัศนคติความเป็นผู้นําในการ สร้างความร่วมมือ และความ เปลี่ยนแปลงเพื่อทําให้เป้าหมายของ องคก์ ารในยคุ ดจิ ิทัลบรรลุผล
ปที ี่ 2 2) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) มคี วามกลา้ หาญ 1 ) มีความรอบรู้ในด้านต่าง ๆ (Learner ทางจริยธรรม ยึดมั่นในความ Person) โดยหลักสูตรปลูกฝังการเป็นผู้ใฝ่การเรียนรู้ ถูกต้อง และเป็นผู้นําทั้งในการ ตลอดชีวิต พร้อมเผชิญความเปลี่ยนแปลง และมี สร้างความร่วมมือและเพื่อสร้าง ความเป็นผู้นํา ผ่านการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่ ความเปลี่ยนแปลง โดยหลักสูตร เกี่ยวข้องกับการจัดการ การกํากับดูแล และการ ปลูกฝังให้นักศึกษาวิเคราะห์ปัจจัย ส่งเสริมหลักธรรมาภิบาลดิจิทัล ให้นักศึกษา ความท้าทายและองค์ประกอบ ประยุกต์ใช้ความรู้ และทักษะด้านการจัดการเพื่อ ความสําเร็จในการดําเนินงานของ สนับสนุนการดําเนินงานขององค์การในแต่ละภาค องค์การในแต่ละภาคส่วน เพื่อ สว่ นในยุคดิจิทลั ได้ ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ด้านดิจิทัล รวมถึงบ่มเพาะทัศนคติ ความเป็นผู้นําในการสร้างความ ร่วมมือ และความเปลี่ยนแปลงเพื่อ ทําให้เป้าหมายขององค์การในยุค ดจิ ทิ ลั บรรลผุ ล 3) เป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Co-Creator) ที่สามารถร่วมแก้ไข ปัญหาสังคม โดยบูรณาการองค์ความรู้ที่ศึกษาในหลักสูตร มาพัฒนาข้อสรุปหรือ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย การค้นคว้าทางวิชาการในด้านการจัดการ การกํากับ ดูแล และการส่งเสริมหลักธรรมาภิบาลดิจิทัลเพื่อขยายองค์ความรู้ และสื่อสารไป ยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ขององค์การในแต่ละภาคส่วนได้ ผ่านรายวิชาวิชา วิทยานิพนธ์ หรอื วิชาการคน้ ควา้ อิสระ
การพฒั นาคณุ ลักษณะพเิ ศษของนกั ศึกษา เป็นผู้ที่มีความรู้คู่คุณธรรม โดยนําความรู้และ เป็นผู้มีความขยันหมั่นเพียร อดทน อดกลั้น และมุ่งมั่น ที่จะเป็นนักบริหารมืออาชีพในองค์การที่นักศึกษาต้อง คุณธรรมมาสร้างปัญญา สร้างจิตสํานึกและความ ปฏิบัติงานภายหลังสําเร็จการศึกษา สําหรับกลยุทธ์ รับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ สําหรับกลยุทธ์ หรือกิจกรรมของนักศึกษา กล่าวคือ จัดการเรียนการ หรือกิจกรรมของนักศึกษา กล่าวคือ มีการ สอนในรูปแบบการสัมมนา และให้มีการนําเสนอผลงาน ต่อเพื่อนนักศึกษาและอาจารย์เพื่อฝึกให้มีความอดทน สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ในการเรียนการสอน อดกลั้นและยอมรับคําวิจารณ์และความคิดเห็นของ ทุกวิชา สอนโดยใช้กรณีศึกษาต่าง ๆ ให้ผู้เรียนรู้จัก ผู้อื่น เสริมความกล้าในการแสดงความคิดเห็น และ คิดเข้าใจในปัญหาที่เกิดขึ้นจริง เพื่อให้เกิดปัญญาและ ส่งเสริมให้นําเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการ ระดบั ชาติและนานาชาติ จิตสํานึกในการบริหารจัดการอย่างมีคุณธรรม ให้ ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ การเมอื ง และผลประโยชนข์ องประเทศชาติ การพฒั นา คณุ ลักษณะพเิ ศษ ของนกั ศึกษา มีภาวะผู้นํา ที่สามารถนําความรู้ความเชี่ยวชาญและนํา เป็นผู้มีความรู้ ความชํานาญ สามารถคิด วิเคราะห์ หลักวิชามาปรับใช้กับการประกอบอาชีพและใช้ ความรู้ และวิจัยในทางด้านการจัดการเกี่ยวกับการจัดการ ความสามารถของตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมและ ธรรมาภิบาลยุคดิจิทัลและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเทศชาติเพื่อให้ บรรลุถึงปรัชญาและวัตถุประสงค์ของ สอดคล้องกับเศรษฐกิจสังคมยุคดิจิทัลและโลกในยุค หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาธรรมาภิบาล พลิกผัน สําหรับกลยุทธ์หรือกิจกรรมของนักศึกษา ดิจิทัลเพื่อความยั่งยืน สําหรับกลยุทธ์หรือกิจกรรมของ ได้แก่ การจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ความรู้การวิจัย นักศึกษา คือ กําหนดให้มีรายวิชาซึ่งนักศึกษาต้อง ให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ วิจัย และหาแหล่งค้นคว้า ทํางานเป็นกลุ่ม และมีการกําหนดหัวหน้ากลุ่มในการทํา ข ้ อ ม ู ล ท า ง ว ิ ช า ก า ร เ พ ิ ่ ม เ ต ิ ม ไ ด ้ ด ้ ว ย ต น เ อ ง โ ด ย มี รายงาน ตลอดจนกําหนดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการ อาจารย์ที่ปรึกษาเป็นผู้ให้คําแนะนําทั้งทางด้านความรู้ นําเสนอรายงาน เพื่อเป็นการฝึกให้นักศึกษาได้สร้างภาวะ และจริยธรรมทางวิชาการและวิชาชีพ รวมถึงใช้ ผ้นู ําและการเป็นสมาชกิ กลุ่มทดี่ ี กรณีศึกษา ตัวอย่างต่าง ๆ ประกอบการเรียนการ สอน
แสดงการแบง่ ประเภท Generic หรอื Specific ของ ELOs Generic Specific Theme ELOs ELO 1 อธิบาย (Explain) แนวคดิ และทฤษฎที ีเ่ กยี่ วข้องกับการจดั การ การกาํ กบั ดูแล R และการสง่ เสริมหลักธรรมาภบิ าลดิจทิ ลั R R ELO 2 ประยกุ ต์ใช้ (Apply) ความรู้ และทักษะดา้ นการจัดการเพื่อสนบั สนนุ การ ดําเนนิ งานขององค์การในแตล่ ะภาคสว่ นในยคุ ดิจิทลั R R ELO 3 แสดงให้เห็นถึง (Demonstrate) ทัศนคติความเป็นผู้นาํ ในการสร้างความ รว่ มมอื และความเปลย่ี นแปลงเพื่อทาํ ใหเ้ ป้าหมายขององคก์ ารในยคุ ดิจิทัล บรรลผุ ล ELO 4 วเิ คราะห์ (Analyze) ปัจจัยความท้าทายและองค์ประกอบความสําเรจ็ ในการ ดาํ เนินงานขององคก์ ารในแต่ละภาคส่วน เพื่อตอบสนองตอ่ การเปลยี่ นแปลง ด้านดิจทิ ัล ELO 5 พัฒนา (Develop) ข้อสรปุ หรอื ขอ้ เสนอแนะจากการวจิ ัย การค้นคว้าทาง วิชาการในด้านการจัดการ การกาํ กับดูแล และการสง่ เสริมหลกั ธรรมาภบิ าล ดิจิทัลเพ่ือขยายองคค์ วามรู้ และส่ือสารไปยงั ผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสีย ขององคก์ ารใน แตล่ ะภาคสว่ น
แสดงการเชอ่ื มโยงกจิ กรรมทส่ี ื่อสารไปยังผูท้ ี่มสี ่วนได้ส่วนเสีย Stakeholders Activities Channels Current Alumni Employers Expert Faculty students staff การวิพากษ์หลักสูตรการจัดการ ออนไลน์ R QRR R มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าธรรมาภิ บาลดจิ ทิ ัลเพื่อความย่ังยืน หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2564 การสาํ รวจความคดิ เหน็ เกี่ยวกับ ออนไลน์ R R R Q R หลกั สูตรการจดั การมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าธรรมาภิบาลดจิ ทิ ัล เพอ่ื ความย่ังยืน คณะรฐั ประศาสนศาสตร์
ผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวังจะสามารถบรรลุผลกบั ผู้เรยี น เมอ่ื สําเร็จการศกึ ษาตามระยะเวลาที่กําหนด 1) ผู้บริหารและ 2) ผู้บริหารระดับสูง 3) ครู อาจารย์ 4) นักธุรกิจ 5) นักการเมือง นักวิชาการด้าน ผู้ปฏิบัติงานของ และระดับกลางใน การจดั การ ผู้ประกอบการ และ และข้าราชการ หน่วยงานทั้งภาครัฐ องค์การที่ต้องการ อาชีพอิสระอื่น ๆ ท่ี การเมอื ง รัฐวิสาหกิจ และ เปลี่ยนแนวคิดและ ต้องการสร้าง ภาคเอกชน ในด้าน ทัศนคติต่อดิจิทัล และ ความเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีสารสนเทศ ต้องการเปลี่ยนถ่าย ทางการบริหาร และการสื่อสาร และใน องคก์ ารไปสยู่ คุ ดิจทิ ัล ด ้ ว ย แ น ว ค ิ ด ท ่ี ดา้ นเศรษฐกจิ แตกต่าง
Program Structure Subject Groups Plan 1 Plan 2 Remedial course (non-credits) (non-credits) Core course Research methodology 12 credits 12 credits Elective course 9 credits 9 credits Qualifying examination 3 credits 12 credits Dissertation สอบ สอบ Total 12 credits 3 credits 36 credits 36 credits
ประเดน็ สาํ คัญ รายละเอียด Name of institution School National Institute of Development Administration (NIDA) Accreditation by a professional Body Graduate School of Public Administration Campus Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation (MHESRI) Program title Degree awarded Bangkok: NIDA main Campus หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑติ สาขาวชิ าธรรมาภบิ าลดิจทิ ัลเพ่อื ความย่งั ยนื Program philosophy ELOs Master of Management Program in Digital Governance for Sustainability Study tracks* การจัดการมหาบัณฑิต (ธรรมาภบิ าลดิจิทลั เพื่อความย่งั ยนื ) (ดรู ายละเอยี ดไดท้ ี่หวั ขอ้ 2.1-2) หลกั สตู ร Master of Management (Digital Governance for Sustainability) แบบประเมนิ รายวิชา กจ.ม. (ธรรมาภบิ าลดจิ ิทลั เพื่อความยั่งยนื ) เกณฑก์ ารรับเขา้ เรียน M.M. (Digital Governance for Sustainability) วันทแ่ี ก้ไขลา่ สดุ สรา้ งสรรค์คุณค่า เสริมพลังปญั ญาสู่ความยัง่ ยนื (ดรู ายละเอียดได้ท่ตี าราง 1.1-1) Plan 1 (Dissertation only) 36 credits Plan 2 (Coursework and dissertation) 36 credits หลักสตู รการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาธรรมาภบิ าลดจิ ทิ ัลเพ่ือความยง่ั ยนื Master of Management Program in Digital Governance for Sustainability การประเมินผลและปรับปรงุ การดาํ เนินการของหลักสตู ร 1. การประเมนิ ประสิทธิผลของการสอนในหลกั สูตร ได้แก่ มีการประเมนิ กลยทุ ธก์ ารสอน และ มกี ารประเมนิ ทักษะของอาจารย์ในการใชแ้ ผนกลยทุ ธก์ ารสอน 2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 3. การประเมินผลการดาํ เนนิ งานตามรายละเอียดหลกั สตู ร 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรงุ หลักสูตรและแผนกลยุทธ์การสอน รบั นกั ศึกษาไทยและ/หรอื ตา่ งชาติ ผสู้ มคั รจะต้องเป็นผมู้ คี ุณสมบัติดงั ต่อไปนี้ (1) จะต้องเป็นผู้ที่ได้รับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า โดยสําเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาที่ได้รับการรับรองจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) หรือสํานักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) หรอื องคก์ รทีม่ ีมาตรฐานให้การรบั รอง หรือมวี ิทยฐานะทีส่ ภาสถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์อนมุ ตั ิ ใหเ้ ขา้ เปน็ นกั ศกึ ษา (2) เป็นผู้ไม่มีโรคติดตอ่ หรือโรคร้ายแรงอย่างอื่นซง่ึ จะเป็นอปุ สรรคตอ่ การศกึ ษา โดยมใี บรับรองจากแพทยป์ รญิ ญาท่มี ีใบอนญุ าตประกอบโรคศลิ ป์ (3) เป็นผู้ที่มีความประพฤตดิ ี (4) ผา่ นการคัดเลอื กหรือสอบคดั เลือกตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารที่สถาบนั กาํ หนด คณะกรรมการสภาวชิ าการ อนุมัต/ิ เหน็ ชอบหลกั สูตร ในการประชมุ คร้ังท่ี 2/2563 เม่ือวนั ที่ 22 ธนั วาคม 2563 สภาสถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ อนมุ ัต/ิ เห็นชอบหลกั สูตร ในการประชมุ ครง้ั ที่ 1/2564 เมื่อวันท่ี 20 มกราคม 2564
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: