( safety manual for new employee ) เรอ่ื ง การทางานในแผนกตา่ งๆ หน่วยงานความปลอดภยั บรษิ ทั ไมเนอร์ แดร่ี จากดั และ บรษิ ทั ไมเนอร์ ชสี จากดั
หัวข้อ หน้า ความปลอดภยั ในการทางานในห้องเยน็ 1 ความปลอดภยั ในการจดั เกบ็ วตั ถดุ ิบ 2 ความปลอดภยั ในสถานท่ีอบั อากาศ 3 ความปลอดภยั ในการทางานในถงั /ทอ่ ผลติ 4 ความปลอดภยั ในการเตรียมนา้ ร้อนด้วยไอนา้ ร้อน 5 ความปลอดภยั ในการทางานล้างพืน้ และอปุ กรณ์ตา่ งๆ 6 ความปลอดภยั ในการทางานในห้องปฏิบตั กิ าร 7 แบบทดสอบระบบอาชีวอนามยั และความปลอดภยั 8 (ISO 45001 : 2018)
ความปลอดภยั ในการทางานในห้องเยน็ 1. พนกั งานใหม่ ต้องจดั ให้มีการปรับตวั กบั อากาศเยน็ ก่อนเร่ิมทางาน 2. สวมเสอื ้ เกราะป้ องกนั ความเย็น/ สวมหมวกและรองเท้าบ้ทู ป้ องกนั ความเย็น 3. มีเวลาพกั ระหวา่ งการทางาน เพ่ือลดระยะเวลาในการรับสมั ผสั 4. ห้ามทางานคนเดียว ต้องทางานเป็นคู่ Buddy กนั 5. ด่ืมนา้ มากๆ หลีกเลยี่ งเครื่องดื่มท่ีมีคาเฟอีนหรือแอลกอฮอล์ 6. หากรู้ตวั วา่ เป็นตะคริว ให้รีบออกจากห้องและให้ความอบอ่นุ แก่ร่างกาย 7. รับประทานอาหารที่มีแคลลอร่ีสงู จะช่วยให้ร่างกายรักษาระดบั พลงั งานไว้ 8. หากตดิ อยใู่ นห้องเยน็ ให้กดป่ มุ ฉกุ เฉินเพ่ือขอความช่วยเหลอื 1
ความปลอดภยั ในการจัดเกบ็ วัตถุดบิ 1. ต้องรักษาความสะอาด และจดั เก็บสง่ิ ของอยา่ งเป็นระเบยี บ 2. อย่าให้สงิ่ ของ วตั ถดุ บิ หรือวสั ดตุ ่างๆ ย่ืนออกมานอกชนั ้ วางหรือกองวสั ดุ 3. วสั ดทุ ี่แหลมคมจะต้องมที ี่ใสแ่ ละปกปิดให้มดิ ชดิ 4. วสั ดทุ ่ีครอบด้วยแก้วหรือมีสว่ นประกอบของแก้วและวสั ดทุ ่ีแตกง่าย ควรเก็บ ในกลอ่ งแข็ง และมีคาเตือน “ระวงั ของแตก” ติดไว้ท่ีกลอ่ ง 5. สารเคมที ี่เป็นอนั ตรายต้องจดั เก็บในที่ทเี่ หมาะสมและต้องปฏิบตั ติ ามฉลาก ของสารเคมีนนั ้ ๆ 2
ความปลอดภยั ในสถานท่อี ับอากาศ 1. ฝึกอบรมให้มีความรู้ผ้ทู ่ีเก่ียวข้องก่อนเริ่มปฏบิ ตั งิ าน (ผ้ทู ่ีเก่ียวข้อง ประกอบด้วย ผ้อู นญุ าต ผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน ผ้ชู ว่ ยเหลอื และผ้คู วบคมุ งาน) 2. ปฏบิ ตั ิงานตามแผนการทางานท่ีผ้คู วบคมุ กาหนดไว้อยา่ งเคร่งครัด 3. ตรวจสภาพแวดล้อมในการทางาน ทงั ้ ก่อน และขณะปฏิบตั งิ าน 4. มีระบบระบายอากาศในระหว่างปฏบิ ตั งิ าน 5. สวมใสอ่ ปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตรายให้ครบถ้วน 6. มีผ้ชู ว่ ยเหลือ และมอี ปุ กรณ์ช่วยเหลือและชว่ ยชีวติ ได้ทนั ที เม่ือเกิดเหตไุ ม่ปกติ สงิ่ ที่ต้องทา 1. เขียน ใบขออนญุ าตทางานที่อบั อากาศ สงิ่ ที่ห้ามทา 2. ต้อง มใี บรับรองการผ่านอบรม 3. ต้อง มใี บรับรองแพทย์ โรคหวั ใจ 4. ต้อง ตรวจสภาพแวดล้อมให้ปลอดภยั 5. ต้อง มีอปุ กรณ์สื่อสาร 6. ต้อง ตรวจสอบอปุ กรณ์ที่จะใช้งานให้สมบรู ณ์ 7. ต้อง มอี ปุ กรณ์ถงั ดบั เพลงิ ที่มปี ระสทิ ธิภาพ 1. ห้าม เข้าพืน้ ท่ีโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต 2. ห้าม เข้าก่อประกายไฟในพืน้ ท่ี 3. ห้าม เข้าปฏิบตั งิ านคนเดียวโดยลาพงั 4. ห้าม เข้านอนหลบั พกั ผ่อน 5. ห้าม นาป้ ายเตือนอนั ตรายออกจากพืน้ ที่ 6. ห้าม วางสง่ิ ของกีดขวางทางเข้า-ออกท่ีอบั อากาศ 3
ความปลอดภัยในการทางานในถัง/ท่อผลติ 1. ขออนญุ าตเข้าปฏบิ ตั ิงาน (Chamber & Vessels Entry ) 2. ปิดระบบมอเตอร์ปั่นกวนและลอ็ คให้เรียบร้อย 3. ตรวจสอบระหวา่ งวาล์วต่างๆ ได้หมนุ ปิดหรือแยกออกเป็นท่ีเรียบร้อย 4. ปิดและลอ็ ค ระบบนา้ ดบั เพลงิ และระบบป้ องกนั การระเบดิ 5. ฝาชอ่ งเข้าได้เปิด และมีการระบายอากาศ 6. จดั วางป้ าย “มผี ้ปู ฏบิ ตั ิงานภายใน” แจ้งเตือนท่ีหน้าถงั ให้เหน็ ชดั เจน 7. สวมใสอ่ ปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตรายให้เหมาะสมกบั ลกั ษณะงาน 8. ปฏบิ ตั ิงานตามวิธีการมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน ระบบปิดลอ็ คและตดิ ป้ ายเตือน (Lock out/Tag out) 9. ปฏิบตั ิตามวิธีการมาตรฐานในการปฏิบตั งิ าน การควบคมุ พืน้ ท่ีอนั ตราย 10. ปฏบิ ตั ิตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จดั การ และดาเนินการ ด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกบั ท่ีอบั อากาศ พ.ศ. 2562 4
ความปลอดภยั ในการเตรียมนา้ ร้อนด้วยไอนา้ ร้อน 1. ทาความสะอาดภาชนะท่ีบรรจนุ า้ ร้อน 2. เตมิ นา้ ใสภ่ าชนะในระดบั ท่ีต้องการ 3. ใสถ่ งุ มือกนั ร้อน และจบั ทอ่ นา้ ร้อนให้มน่ั คง เปิดไอนา้ ร้อนโดยปลายท่ออยใู่ ต้นา้ ป้ องกนั การสะบดั ของสายทอ่ โดยการถ่วงด้วยวสั ดทุ ่ีมีความแขง็ แรง เชน่ ท่อสแตนเลส 4. เม่ืออณุ หภมู ขิ องนา้ ร้อนได้ตามที่ต้องการ ให้ปรับวาล์วไอนา้ ร้อนลง เพื่อรักษา อณุ หภมู ิ 5. เม่อื ใช้งานเสร็จ ให้ปิดวาล์วไอนา้ ร้อน และเปิดนา้ เพ่ือไลค่ วามร้อนที่ค้างท่อ 6. เมื่อเลกิ ใช้งาน ต้องรอหรือทาให้อณุ หภมู ขิ องนา้ เย็นลงก่อนเททงิ ้ 7. ท่อนา้ ร้อนต้องมฉี นวนห้มุ ป้ องงกนั ความร้อน และติดป้ ายเตือน “ระวงั อนั ตราย จากนา้ ร้อน” 5
ความปลอดภัยในการทางานล้างพนื้ และอุปกรณ์ต่างๆ งานล้างพืน้ 1. ต้องปิดฝาครอบเต้าเสียบท่ีอย่ตู ามผนงั ให้หมด เต้าเสียบใดไมม่ ีฝาครอบให้ใช้เทปกาวปิด 2. บริเวณท่ีมคี ราบไขมนั เชน่ ห้องผสม พืน้ หน้าห้องผสม เป็นต้น ควรทาความสะอาดเป็น พิเศษเพ่ือป้ องกนั การลนื่ 3. บริเวณทางเดนิ นอกอาคาร หลงั ทาความสะอาดแล้วให้กวาดนา้ ออกจากทางเดนิ ให้หมด งานล้างอปุ กรณ์ต่างๆ 1. สวมใสถ่ งุ มอื ยาง เอ๊ียม เพ่ือป้ องกนั คลอรีน และป้ องกนั เสือ้ ผ้าเปี ยก 2. ความเข้มข้นของคลอรีนที่ใช้ต้องไมเ่ กิน 200 ppm 3. อปุ กรณ์ที่มคี ม ควรใช้แปรงหรืออปุ กรณ์ชว่ ยสาหรับการขดั ถู 4. ไมโ่ ยนอปุ กรณ์ลงในอ่างคลอรีน เพื่อป้ องกนั คลอรีนกระเด็นเข้าตา 5. หากมีอาการคล่นื ไส้ อาเจียน ให้รีบแจ้งหวั หน้างานหรือเจ้าหน้าท่ีความปลอดภยั 6
ความปลอดภัยในการทางานในห้องปฏบิ ัตกิ าร 1. ต้องทราบข้อมลู ของสารเคมแี ละวธิ ีการควบคมุ โดยดจู ากเอกสารแสดงข้อมลู ของ สารเคมี (Safety Data Sheet : SDS) ประจาห้องปฏบิ ตั ิการ 2. ต้องล้างมอื ทกุ ครัง้ หลงั ปฏบิ ตั งิ านกบั สารเคมี 3. สวมอปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตรายให้เหมาะสมทกุ ครัง้ ที่ปฏบิ ตั งิ านกบั สารเคมี 4. ทาความสะอาดบริเวณท่ีทางานกบั สารเคมที กุ ครัง้ หลงั เลกิ ใช้งาน 5. ปิดฝาภาชนะบรรจสุ ารเคมีให้แน่นทกุ ครัง้ หลงั เลกิ ใช้ 6. จดั เก็บสารเคมใี นที่ที่อากาศถ่ายเทได้ดี และห่างจากแหลง่ กาเนิดประกายไฟ 7. ห้ามปฏบิ ตั ิงานเกี่ยวกบั สารเคมตี ามลาพงั 8. ห้ามทดสอบสารเคมโี ดยการสดู ดมหรือกลืนกิน 9. สารเคมีท่ีเข้ากนั ไมไ่ ด้ ต้องจดั เก็บแยกจากกนั และมปี ้ ายบง่ ชีท้ ี่ชดั เจน 10. ต้องมีฉลากแสดงข้อมลู ของสารเคมี (SDS) ตดิ อยทู่ ่ีภาชนะบรรจสุ ารเคมี 11. การผสม ถ่ายเท หรือตรวจสอบสารเคมีที่มอี นั ตรายสงู ต้องปฏบิ ตั งิ านในชอ่ ง ดดู อากาศ (Hood) เท่านนั ้ 12 .การใช้ปิเปต ห้ามใช้ปากดดู สารเคมีโดยตรง ให้ใช้ลกู ยางในการดดู สารเคมี 13. การทางานกบั สารเคมีที่เป็นกรด -ห้ามผสมสารเคมีท่ีเป็นกรดกบั คลอรีน -ห้ามผสมสารเคมที ่ีเป็นกรดกบั ด่าง -ห้ามเทนา้ ลงในกรด 14. การทางานกบั สารเคมีท่ีเป็นด่าง -ห้ามเทด่างลงในกรด -ห้ามละลายดา่ งลงในนา้ ที่มอี ณุ หภมู ิ สงู กว่า 40 ◦C -ห้ามเทนา้ ลงในด่าง 7
แบบทดสอบ ระบบอาชีวอนามัยและความปลอดภยั (ISO 45001 : 2018) คลกิ๊ ทาแบบทดสอบ 1. การทางานในห้องเย็นต้องด่ืมนา้ มากๆ หลกี เลย่ี งเคร่ืองด่ืมท่ีมี คาเฟอีนหรือแอลกอฮอล์ ก. ถกู ข. ผิด 2. การจดั เก็บสารเคมสี ามารถจดั เกบ็ ไว้ที่ใดก็ได้ ก. ถกู ข. ผิด 3. นาทอ่ สแตนเลสมาถ่วงเพ่ือป้ องกนั การสะบดั ของสายทอ่ ก. ถกู ข. ผดิ 4. การทางานในสถานท่ีอบั อากาศห้ามทาสง่ิ ใดตอ่ ไปนี ้ ก. ขออนญุ าตเข้าพืน้ ท่ีทางาน ข. ตรวจสอบสภาพแวดล้อม ค. มีอปุ กรณ์สอ่ื สาร ง. นาป้ ายเตือนออก 5. ข้อใดกลา่ วถกู ต้องเกี่ยวกบั การทางานในห้องปฏิบตั กิ าร ก. ศกึ ษา SDS ก่อนปฏิบตั ิงาน ข. สวมอปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตรายให้เหมาะสม ค. ห้ามทดสอบโดยการดมหรือสดู กลนิ่ ง. ถกู ทกุ ข้อ 8
บนั ทกึ ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………...
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: