Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

pp

Published by pormatthaya, 2020-10-16 04:26:16

Description: pp

Search

Read the Text Version

ชนิดของคำไทย 7 ชนิด ชนดิ ของคำ 7 ชนดิ คำไทยแบง่ ออกเปน็ 7 ชนดิ แต่ละชนิดมลี ักษณะและหนา้ ที่แตกต่างกนั ออกไป การเรยี นรู้เรอ่ื ง ลักษณะของคำเพื่อสร้างเปน็ กลุม่ คำ และประโยคเป็นเรื่องสำคัญ และจำเปน็ อย่างยิ่งในการเรียนและ การใชภ้ าษาในชวี ติ ประจำวนั คำแตล่ ะคำมีความหมาย ความหมายของคำจะปรากฏชัดเมื่ออยู่ในประโยค การสังเกตตำแหน่ง และหน้าของคำในประโยคจะช่วยใหเ้ ราทราบชนิดของคำรวมทงั้ ความหมายด้วย ดงั นน้ั การศึกษาให้ เข้าใจหนา้ ท่ีและชนิดของคำในประโยคจึงมีความสำคัญมากเพราะจะชว่ ยใหเ้ ราสามารถใช้คำได้ถูกต้อง ตรงตามความหมายท่ีต้องการ ในการใชภ้ าษาจำเป็นอยา่ งยิง่ ทเ่ี ราจะตอ้ งทราบวา่ คำไนมที ่ีใช้อยา่ งไร เพ่ือประโยชน์ในการสื่อสาร นกั ไวยากรณ์ไดส้ งั เกตความหมายและหนา้ ที่ของคำในประโยค แล้วจึงแบง่ คำในภาษาไทยออกเป็น ชนิดได้ 7 ชนิด คือ 1. คำนาม 2. คำสรรพนาม 3. คำกริยา 4. คำวิเศษณ์ 5. คำบพุ บท 6. คำสนั ธาน 7. คำอุทาน

คำนาม ความหมายของคำนาม คำนามหมายถึง คำที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ พืช สิ่งของ สถานที่ สภาพ อาการ ลักษณะ ทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิต หรือสิ่งไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรม และนามธรรม เช่นคำว่า คน ปลา ตะกร้า ไก่ ประเทศไทย จังหวัดพิจิตร การออกกำลังกาย การศึกษา ความดี ความงาม กอไผ่ กรรมกร ฝูง ตวั เป็นต้น ชนิดของคำนาม คำนามแบ่งออกเป็น ๕ ชนดิ ดังน้ี ๑. สามานยนาม หรอื เรียกว่า คำนามทวั่ ไป คือ คำนามทีเ่ ปน็ ชอื่ ทัว่ ๆ ไป เป็นคำเรียกส่ิงต่างๆ โดยทั่วไปไมช่ ้ีเฉพาะเจาะจง เช่น ปลา ผีเส้ือ คน สนุ ขั วดั ต้นไม้ บา้ น หนงั สอื ปากกา เป็น ตน้ ๒. วสิ ามานยนาม หรือเรยี กว่า คำนามเฉพาะ คือ คำนามทีใ่ ช้เรียกชื่อเฉาะของคน สตั ว์ หรือ สถานท่ี เปน็ คำเรียนเจาะจงลงไปว่า เป็นใครหรือเปน็ อะไร เช่น พระพทุ ธชินราช เดก็ ชายวทิ วัส จงั หวัดพจิ ิตร วัดท่าหลวง สม้ โอท่าข่อย พระอภัยมณี วันจันทร์ เดือนมกราคม เปน็ ต้น ๓. สมุหนาม คือ คำนามท่ีทำหนา้ ที่แสดงหมวดหมู่ของคำนามทว่ั ไป และคำนามเฉพาะ เชน่ ฝูงผึง้ กอไผ่ คณะนักทัศนาจร บรษิ ัท พวกกรรมกร เปน็ ตน้ ๔. ลกั ษณะนาม คือ เป็นคำนามท่บี อกลกั ษณะของคำนาม เพื่อแสดงรูปลักษณะ ขนาด ปรมิ าณ ของคำนามนนั้ นน้ั ให้ชัดเจน เช่น บ้าน ๑ หลงั โตะ๊ ๕ ตัว คำวา่ หลงั และ ตวั เป็นลกั ษณะนาม ๕. อาการนาม คอื คำนามทีเ่ ปน็ ช่ือกริยาอาการ เป็นสงิ่ ที่เป็นนามธรรม ไม่มีรูปร่าง มกั มีคำว่า \"การ\" และ \"ความ\" นำหนา้ เช่น การกนิ การเดนิ การพูด การอ่าน การเขยี น ความรกั ความดี ความคดิ ความฝนั เป็นต้น หนา้ ทข่ี องคำนาม มีดังนค้ี ือ ๑. ทำหน้าที่เปน็ ประธานของประโยค เช่น - ประกอบชอบอ่านหนงั สือ - ตำรวจจับผ้รู า้ ย ๒. ทำหนา้ ทเี่ ป็นกรรมหรอื ผู้ถูกกระทำ เช่น - วารีอ่านจดหมาย - พ่อตสี นุ ขั ๓. ทำหนา้ ทีข่ ยายนาม เพ่ือทำให้นามท่ีถกู ขยายชัดเจนขน้ึ เชน่ - สมศรเี ปน็ ข้าราชการครู - นายสมศักดท์ิ นายความฟ้องนายปญั ญา พ่อค้า

๔.ทำหนา้ ทเี่ ปน็ ส่วนสมบูรณห์ รือส่วนเติมเตม็ เช่น - ศรรามเปน็ ทหาร - เขาเปน็ ตำรวจแตน่ ้องสาวเป็นพยาบาล ๕. ใช้ตามหลงั คำบุพบทเพื่อทำหนา้ ทบ่ี อกสถานท่ี หรือขยายกรยิ าให้มเี น้ือความบอกสถานที่ชัดเจนข้นี เชน่ - คุณแมข่ องเด็กหญงิ สายฝนเปน็ ครู - นักเรยี นไปโรงเรยี น ๖. ใช้บอกเวลาโดยขยายคำกรยิ าหรอื คำนามอื่น เชน่ - คุณพ่อจะไปเชียงใหมว่ นั เสาร์ - เขาชอบมาตอนกลางวนั ๗. ใชเ้ ปน็ คำเรยี กขานได้ เช่น - น้ำฝน ชว่ ยหยิบปากกาใหค้ รูทีซิ - ตำรวจ ชว่ ยฉนั ดว้ ย คำสรรพนาม ความหมายของคำสรรพนาม คำสรรพนาม หมายถึง คำที่ใช้แทนคำนามท่ีกล่าวถึงมาแล้ว เพอื่ จะได้ไม่ตอ้ งกล่าวคำนามนน้ั ซำ้ อีก เชน่ คำวา่ ฉัน เรา ดิฉัน กระผม กู คุณ ท่าน ใต้เท้า เขา มัน สงิ่ ใด ผใู้ ด น่ี นน่ั อะไร ใคร บา้ ง เป็นตน้ ชนดิ ของคำสรรพนาม คำสรรพนามแบง่ ออกเป็น ๖ ชนดิ ดงั น้ี ๑. บุรษสรรพนาม คือ คำ สรรพนามทใ่ี ชแ้ ทนผพู้ ดู แบ่งเปน็ ชนิดย่อยได้ 3 ชนดิ คือ ๑.๑ สรรพนามบุรุษท่ี ๑ ใช้แทนตวั ผู้พดู เชน่ ผม ฉนั ดิฉนั กระผม ข้าพเจ้า กู เรา ข้าพระพุทธเจ้า อาตมา หม่อมฉนั เกล้ากระหมอ่ ม ๑.๒ สรรพนามบรุ ษุ ท่ี ๒ ใช้แทนผูฟ้ งั หรือผู้ทเ่ี ราพดู ดว้ ย เชน่ คุณ เธอ ใตเ้ ท้า ทา่ น ใตฝ้ า่ ละอองธุลีพระบาท ฝ่าพระบาท พระคุณเจ้า ๑.๓ สรรพนามบุรุษท่ี ๓ ใชแ้ ทนผ้ทู ีก่ ล่าวถึง เขา มัน ท่าน พระองค์ ๒. ประพันธสรรพนาม คือ คำสรรพนามทใ่ี ชแ้ ทนคำนามและใชเ้ ชอ่ื มประโยคทำหน้าที่เชอ่ื มประโยคให้ มีความสัมพนั ธก์ ัน ได้แก่คำว่า ท่ี ซ่ึง อนั ผู้ ๓. นิยมสรรพนาม คอื สรรพนามท่ีใชแ้ ทนนามชีเ้ ฉพาะเจาะจงหรือบอกกำหนดความให้ผู้พูดกับผฟู้ ัง เขา้ ใจกัน ไดแ้ ก่คำว่า น่ี นน่ั โน่น

๔. อนิยมสรรนาม คอื สรรพนามใชแ้ ทนนามบอกความไมช่ ี้เฉพาะเจาะจงทีแ่ นน่ อนลงไป ไดแ้ กค่ ำวา่ อะไร ใคร ไหน ได บางคร้งั กเ็ ปน็ คำซ้ำๆ เช่น ใครๆ อะไรๆ ไหนๆ ๕. วภิ าคสรรพนาม คือ สรรพนามท่ีใชแ้ ทนคำนาม ซึง่ แสดงให้เหน็ วา่ นามน้นั จำแนกออกเปน็ หลาย ส่วน ไดแ้ ก่คำวา่ ต่าง บา้ ง กนั เช่น - นักเรียน\"บา้ ง\"เรียน\"บ้าง\"เลน่ - นักเรียน\"ต่าง\"กอ็ ่านหนังสือ ๖. ปฤจฉาสรรพนาม คือ สรรพนามท่ีใช้แทนนามท่เี ปน็ คำถาม ได้แก่คำว่า อะไร ใคร ไหน ผใู้ ด ส่ิง ใด ผ้ใู ด ฯลฯ เชน่ - \"ใคร\" ทำแกว้ แตก - เขาไปที่ \"ไหน\" หนา้ ทข่ี องคำสรรพนาม มีดังนค้ี อี ๑. เปน็ ประธานของประโยค เชน่ - \"เขา\"ไปโรงเรียน - \"ใคร\"ทำดินสอตกอยู่บนพืน้ ๒. ทำหนา้ ท่ีเป็นกรรมของประโยค (ผ้ถู กู กระทำ) เชน่ - ครจู ะต\"ี เธอ\"ถา้ เธอไม่ทำการบา้ น - คณุ ช่วยเอา\"นี่\"ไปเกบ็ ได้ไหม ๓. ทำหนา้ ท่เี ปน็ สว่ นเตมิ เต็มหรอื สว่ นสมบูรณ์ เชน่ - กำนันคนใหม่ของตำบลน้คี ือ\"เขา\"นนั่ เอง - เขาเป็น\"ใคร\" ๔. ใช้เช่ือมประโยคในประโยคความซ้อน เช่น - ครูชมเชยนกั เรียน\"ที่\"ขยนั ๕. ทำหนา้ ทขี่ ยายนามท่ที ำหน้าทีเ่ ป็นประธานหรอื กรรมของประโยค เพ่ือเน้นการแสดงความรสู้ ึกของผู้ พูด จะวางหลงั คำนาม - ไปเย่ียมคณุ ปู\"่ ทา่ น\"มา

คำกรยิ า ความหมายของคำกริยา คำกรยิ า หมายถึง คำแสดงอาการ การกระทำ หรือบอกสภาพของคำนามหรือคำสรรพนาม เพื่อให้ได้ความ เช่นคำว่า กนิ เดิน นัง่ นอน เล่น จับ เขียน อ่าน เป็น คอื ถูก คลา้ ย เปน็ ต้น ชนิดของคำกริยา คำกรยิ าแบง่ เป็น ๕ ชนดิ ๑. อกรรมกริยา คือ คำกริยาท่ไี ม่ตอ้ งมกี รรมมารับก็ไดค้ วามสมบรู ณ์ เขา้ ใจได้ เชน่ - เขา\"ยนื \"อยู่ - น้อง\"นอน\" ๒. สกรรมกรยิ า คือ คำกริยาท่ตี ้องมกี รรมมารับ เพราะคำกริยาน้ไี ม่มีความสมบรู ณ์ในตวั เอง เช่น - ฉัน \"กนิ \"ข้าว (ข้าวเปน็ กรรมทมี่ ารับคำว่ากิน) - เขา\"เห็น\"นก (นกเปน็ กรรมที่มารบั คำว่าเหน็ ) ๓. วกิ ตรรถกริยา คอื คำกริยาท่ีไม่มคี วามหมายในตวั เอง ใช้ตามลำพังแล้วไม่ได้ความ ต้องมีคำอนื่ มา ประกอบจึงจะได้ความ คำกริยาพวกนีค้ ือ เป็น เหมอื น คล้าย เทา่ คอื เชน่ - เขา\"เปน็ \"นกั เรยี น - เขา\"คอื \"ครูของฉนั เอง ๔. กริยานุเคราะห์ คอื คำกริยาท่ที ำหนา้ ทช่ี ่วยคำกรยิ าสำคัญในประโยคให้มีความหมายชัดเจนข้นึ ไดแ้ ก่คำว่า จง กำลัง จะ ย่อม คง ยัง ถูก นะ เถอะ เทอญ ฯลฯ เช่น - นายดำ\"จะ\"ไปโรงเรียน - เขา\"ถูก\"ตี ๕. กรยิ าสภาวมาลา คอื คำกรยิ าทีท่ ำหน้าท่เี ปน็ คำนามจะเป็นประธาน กรรม หรือบทขยายของ ประโยคก็ได้ เช่น - \"นอน\"หลบั เปน็ การพักผ่อนท่ีดี (นอน เป็นคำกริยาทีเ่ ปน็ ประธานของประโยค) - ฉนั ชอบไป\"เท่ยี ว\"กับเธอ (เที่ยว เปน็ คำกริยาทเี่ ปน็ กรรมของประโยค) หน้าท่ขี องคำกริยามดี ังนี้คอื ๑. ทำหนา้ ทีเ่ ปน็ ตวั แสดงในภาคแสดงของประโยค เช่น - ขนมวางอยู่บนโตะ๊ - นักเรยี นอา่ นหนังสือทุกวนั ๒. ทำหน้าที่ขยายคำนาม เช่น - วันเดนิ ทางของเขาคือวันพรงุ่ นี้ (\"เดินทาง\" เปน็ คำกรยิ าท่ไี ปขยายคำนาม \"วนั \") ๓. ทำหนา้ ทข่ี ยายกรยิ า เช่น

- เด็กคนนัน้ น่ังดูนก (\"ดู\" เปน็ คำกรยิ าท่ีไปขยายคำกริยา \"นง่ั \") ๔. ทำหนา้ ท่เี หมอื นคำนาม เช่น - ออกกำลังกายทกุ วันทำใหร้ า่ งกายแขง็ แรง (\"ออกกำลังกาย\" เป็นคำกริยา ทำหนา้ ท่ี เปน็ ประธานของประโยค) - เด็กชอบเดนิ เร็วๆ (\"เดิน\" เป็นคำกรยิ า ทำหนา้ ท่เี ป็นกรรมของประโยค) คำวิเศษณ์ ความหมายของคำวิเศษณ์ คำวิเศษณ์ หมายถึง คำท่ีใช้ประกอบหรอื ขยายคำนาม สรรพนาม คำกรยิ า หรือคำวิเศษณ์ เพื่อให้ได้ใจความชัดเจนและละเอียดมากขนึ้ เช่น - คนอ้วนกินจุ (\"อว้ น\" เปน็ คำวเิ ศษณ์ที่ขยายคำนาม \"คน\" \"จุ\" เปน็ คำวิเศษณ์ที่ขยายคำกริยา \"กนิ \") - เขาร้องเพลงได้ไพเราะ (\"ไพเราะ\" เปน็ คำวิเศษณ์ทข่ี ยายคำกรยิ า \"ร้องเพลง\") - เขารอ้ งเพลงได้ไพเราะมาก (\"มาก\" เปน็ คำวิเศษณ์ที่ขยายคำวิเศษณ์ \"ไพเราะ\") ชนดิ ของคำวิเศษณ์ คำวิเศษณ์แบ่งออกเป็น ๑๐ ชนดิ ดังน้ี ๑. ลกั ษณะวเิ ศษณ์ คอื คำวเิ ศษณ์ทีบ่ อกลักษณะต่างๆ เช่น บอกชนดิ สี ขนาด สัณฐาน กล่ิน รส บอกความรสู้ กึ เชน่ ดี ชว่ั ใหญ่ ขาว รอ้ น เยน็ หอม หวาน กลม แบน เป็นต้น เช่น - น้ำรอ้ นอยูในกระติกสีขาว - จานใบใหญ่ราคาแพงกวา่ จานใบเลก็ ๒. กาลวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณบ์ อกเวลา เช่น เชา้ สาย บ่าย เย็น อดีต อนาคต เป็นต้น เช่น - พรงุ่ นเี้ ปน็ วันเกดิ ของคุณแม่ - เขามาโรงเรียนสาย ๓. สถานวิเศษณ์ คือ คำวเิ ศษณ์บอกสถานท่ี เชน่ ใกล้ ไกล บน ลา่ ง เหนอื ใต้ ซา้ ย ขวา เป็นตน้ เชน่ - บา้ นฉนั อยไู่ กลตลาด - นกอยบู่ นต้นไม้ ๔. ประมาณวเิ ศษณ์ คือ คำวเิ ศษณบ์ อกจำนวน หรอื ปริมาณ เช่น หนึง่ สอง สาม มาก น้อย บอ่ ย หลาย บรรดา ตา่ ง บ้าง เปน็ ต้น เช่น - เขามเี งินหา้ บาท - เขามาหาฉนั บอ่ ยๆ

๕. ประติเษธวเิ ศษณ์ คือ คำวเิ ศษณท์ ่ีแสดงความปฏิเสธ หรือไม่ยอมรบั เชน่ ไม่ ไม่ใช่ มิ มิใช่ ไม่ได้ หามิได้ เปน็ ตน้ เชน่ - เขามิได้มาคนเดียว - ของน้ีไมใ่ ช่ของฉนั ฉนั จึงรับไวไ้ ม่ได้ ๖. ประติชญาวเิ ศษณ์ คอื คำวเิ ศษณ์ทใี่ ช้แสดงการขานรับหรอื โต้ตอบ เช่น ครับ ขอรับ ค่ะ เป็นตน้ เชน่ - คณุ ครบั มคี นมาหาขอรับ - คณุ ครูขา สวสั ดคี ะ่ ๗. นยิ มวเิ ศษณ์ คอื คำวเิ ศษณท์ บ่ี อกความชีเ้ ฉพาะ เช่น นี้ น่ัน โนน่ ทง้ั นี้ ท้ังนนั้ แนน่ อน เป็นตน้ เชน่ - บา้ นนน้ั ไม่มใี ครอยู่ - เขาเป็นคนขยนั แน่ๆ ๘. อนิยมวเิ ศษณ์ คือ คำวเิ ศษณท์ ีบ่ อกความไม่ช้ีเฉพาะ เช่น ใด อน่ื ไหน อะไร ใคร ฉันใด เปน็ ต้น เชน่ - เธอจะมาเวลาใดก็ได้ - คุณจะน่ังเก้าอต้ื วั ไหนก็ได้ ๙. ปฤจฉาวเิ ศษณ์ คือ คำวเิ ศษณ์แสดงคำถาม หรอื แสดงความสงสัย เชน่ ใด ไร ไหน อะไร ส่งิ ใด ทำไม เปน็ ตน้ เชน่ - เสื้อตวั น้รี าคาเทา่ ไร - เขาจะมาเมอ่ื ไร ๑๐. ประพนั ธวิเศษณ์ คอื คำวิเศษณ์ที่ทำหน้าท่เี ช่ือมคำหรือประโยคให้มีความเกย่ี วข้องกนั เชน่ คำวา่ ท่ี ซ่ึง อนั อย่าง ทว่ี า่ เพ่ือว่า ให้ เปน็ ตน้ เช่น - เขาทำงานหนกั เพ่ือวา่ เขาจะได้มเี งนิ มาก - เขาทำความดี อนั หาทีส่ ุดมิได้ หน้าทข่ี องคำวเิ ศษณ์ มดี งั นี้คือ ๑. ทำหน้าทขี่ ยายคำนาม เช่น - คนอว้ นกนิ จุ ( \"อ้วน\" เป็นคำวิเศษณ์ขยายคำนาม \"คน\") - ตำรวจหลายคนจบั โจรผรู้ ้าย (\"หลาย\" เป็นคำวเิ ศษณ์ขยายคำนาม \"ตำรวจ\") ๒. ทำหน้าท่ีขยายคำสรรพนาม เช่น - เราทง้ั หมดชว่ ยกนั ทำงานให้เรียบร้อย (\"ทงั้ หมด\" เป็นคำวเิ ศษณ์ขยายคำสรรพนาม \"เรา\") - ฉันเองเปน็ คนพูด ( \"เอง\" เป็นคำวเิ ศษณข์ ยายคำสรรพนาม \"ฉนั \") ๓. ทำหน้าทีข่ ยายกรยิ า เชน่ - เด็กคนนัน้ นัง่ ดูนก (\"ดู\" เปน็ คำกริยาท่ีไปขยายคำกริยา \"น่งั \") ๔. ทำหนา้ ท่เี หมือนคำนาม เช่น - ออกกำลังกายทุกวันทำให้รา่ งกายแข็งแรง (\"ออกกำลังกาย\" เปน็ คำกริยา ทำหน้าท่ี เป็นประธานของประโยค)

- เด็กชอบเดินเร็วๆ (\"เดนิ \" เปน็ คำกรยิ า ทำหน้าที่เปน็ กรรมของประโยค) ๕. ทำหน้าทเ่ี ป็นตัวแสดงในภาคแสดง เชน่ - เธอสูงกว่าคนอ่ืน - ขนมนอี้ รอ่ ยดี คำบพุ บท ความหมายของคำบพุ บท คำบพุ บท หมายถงึ คำทแ่ี สดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งคำหรือประโยค เพ่ือใหท้ ราบว่าคำหรือ กลมุ่ คำทตี่ ามหลังคำบุพบทน้ันเกีย่ วข้องกบั กลุ่มคำข้างหนา้ ในประโยคในลกั ษณะใด เช่น กับ แก่ แต่ ต่อ ด้วย โดย ตาม ขา้ ง ถงึ จาก ใน บน ใต้ สิ้น สำหรับ นอก เพ่อื ของ เกือบ ตัง้ แต่ แหง่ ท่ี เป็นต้น เชน่ -เขามาแตเ่ ช้า -บ้านของคุณน่าอยู่จริง - คณุ ครูใหร้ างวัลแก่ฉัน - เขาใหร้ างวัลเฉพาะคนท่ี สอบได้ทีห่ นง่ึ คำบพุ บทแบ่งออกเป็น ๒ ชนดิ ๑. คำบุพบทท่ีแสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งคำต่อคำ คือ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งคำนามกับคำนาม คำ สรรพนามกบั คำนาม คำนามกับคำกรยิ า คำสรรพนามกับคำสรรพนาม คำสรรพนามกับคำกริยา คำกรยิ ากับคำนาม คำกริยากบั คำสรรพนาม คำกรยิ ากบั คำกรยิ า เพ่อื บอกสถานการให้ชัดเจน เช่น ๑.๑ บอกสถานภาพความเป็นเจ้าของ เชน่ - พอ่ ซื้อสวนของนายทองคำ (นามกับนาม) ๑.๒ บอกความเกย่ี วข้อง เช่น - เขาเห็นแกก่ ิน (กริยากับกริยา) ๑.๓ บอกการใหแ้ ละบอกความประสงค์ เช่น - คณุ ครูให้รางวัลแก่ฉัน (นามกบั สรรพนาม) ๑.๔ บอกเวลา เชน่ - เขามาต้ังแต่เชา้ (กรยิ ากบั นาม) ๑.๕ บอกสถานท่ี เช่น - เขามาจากต่างจงั หวดั (กริยากับนาม) ๑.๖ บอกความเปรียบเทยี บ เชน่ - พ่ีหนกั กวา่ ฉนั (กริยากับสรรพนาม) ๒. คำบุพบทที่ไม่มคี วามสมั พันธ์กบั คำอ่นื สว่ นมากจะอยตู่ ้นประโยค ใชเ้ ป็นการทักทาย มักใชใ้ นคำ ประพันธ์ เช่นคำวา่ ดกู อ่ น ข้าแต่ ดกู ร คำเหลา่ น้ีใช้นำหน้าคำสรรพนามหรือคำนาม เชน่ - ดกู ่อน ภกิ ษทุ ั้งหลาย - ขา้ แต่ทา่ นท้ังหลายโปรดฟงั ขา้ พเจา้

คำสนั ธาน ความหมายของคำสันธาน คำสนั ธาน หมายถึง คำท่ีใช้เชอ่ื มประโยค หรอื ขอ้ ความกับข้อความ เพื่อทำใหป้ ระโยคน้ัน รัดกุม กระชับและสละสลวย เช่นคำว่า และ แล้ว จงึ แต่ หรือ เพราะ เหตเุ พราะ เป็นต้น เชน่ - เขาอยากเรียนหนังสอื เกง่ ๆ แต่เขาไม่ชอบอ่านหนงั สือ - เขามาโรงเรียนสายเพราะฝนตกหนกั คำสันธานแบ่งเป็น ๔ ชนิด ดังนี้ ๑. คำสันธานทีเ่ ชื่อมความคล้อยตามกัน ไดแ้ ก่คำวา่ และ ทั้ง...และ ทัง้ ...ก็ คร้ัน...ก็ ครัน้ ...จงึ ก็ดี เมื่อ...กว็ ่า พอ...แล้ว เช่น - ทั้งพ่อและแม่ของผมเป็นคนใต้ - พอทำการบ้านเสรจ็ แล้วฉันกน็ อน ๒. คำสันธานทเี่ ชอ่ื มความขัดแย้งกัน เช่นคำวา่ แต่ แต่ว่า กว่า...ก็ ถึง...ก็ เป็นต้น เชน่ - ผมต้องการพดู กบั เขา แต่เขาไม่ยอมพูดกบั ผม - กว่าเราจะเรียนจบเพ่อื นๆ กท็ ำงานหมดแล้ว ๓. คำสนั ธานทเ่ี ช่อื มขอ้ มความใหเ้ ลอื ก ได้แก่คำว่า หรือ หรอื ไม่ ไม่...ก็ หรอื ไม่ก็ ไมเ่ ชน่ นั้น มิฉะนัน้ ...ก็ เปน็ ตน้ เชน่ - นกั เรียนชอบเรยี นวชิ าคณิตศาสตรห์ รอื ภาษาไทย - เธอคงไปซื้อของหรือไม่ก็ไปดูหนัง ๔ คำสันธานที่เช่อื มความท่เี ป็นเหตุเป็นผล ได้แก่คำว่า เพราะ เพราะวา่ ฉะน้ัน...จงึ ดงั นน้ั เหตุ เพราะ เหตุว่า เพราะฉะนั้น...จงึ เป็นตน้ เชน่ - นักเรยี นมาโรงเรยี นสายเพราะฝนตกหนกั - เพราะวาสนาไม่ออกกำลงั กายเธอจึงอ้วนมาก หน้าทขี่ องคำสนั ธาน มีดังนี้คือ ๑. เชอื่ มประโยคกับประโยต เช่น - เขามีเงนิ มากแตเ่ ขาก็หาความสุขไม่ได้ - พอ่ ทำงานหนักเพ่ือสง่ เสยี ให้ลูกๆ ไดเ้ รียนหนงั สอื - ฉันอยากได้รองเทา้ ทีร่ าคาถูกและใชง้ านได้นาน ๒. เชื่อมคำกับคำหรือกลุ่มคำ เช่น

- สมชายลำบากเม่ือแก่ - เธอจะสตู้ ่อไปหรือยอมแพ้ - ฉันเหน็ นายกรัฐมนตรีและภรยิ า ๓. เช่อื มข้อความกบั ข้อความ เช่น - ชาวต่างชาติเขา้ มาอยเู่ มืองไทย เขาขยนั หม่ันเพยี รไมย่ อมให้เวลาผา่ นไปโดยเปลา่ ประโยชนเ์ ขาจงึ ร่ำรวย จนเกือบจะซื้อแผ่นดินไทยได้ทง้ั หมดแลว้ เพราะฉะน้ันขอให้พี่น้องชาวไทย ทั้งหลายจงตืน่ เถิด จงพากนั ขยันทำงานทุกชนิดเพื่อจะได้รักษาผืนแผน่ ดินของไทยไว้ คำอทุ าน ความหมายของคำอุทาน คำอทุ าน หมายถึง คำทแ่ี สดงอารมณ์ของผูพ้ ูดในขณะที่ตกใจ ดใี จ เสียใจ ประหลาดใจ หรืออาจจะเป็นคำท่ใี ช้เสริมคำพดู เชน่ คำว่า อยุ๊ เอ๊ะ ว้าย โธ่ อนิจจา อ๋อ เป็นตน้ เช่น - เฮอ้ ! ค่อยยังช่ัวที่เขาปลอดภัย - เมอื่ ไรเธอจะตดั ผมตัดเผา้ เสียทีจะได้ดูเรียบร้อย คำอทุ าน แบ่งเป็น ๒ ชนิด ดงั น้ี ๑. คำอุทานบอกอาการ เป็นคำอุทานทีแ่ สดงอารมณ์ และความรสู้ ึกของผู้พูด เช่น ตกใจ ใชค้ ำวา่ วุ้ย ว้าย แหม ตายจรงิ ประหลาดใจ ใช้คำวา่ เอ๊ะ หอื หา รับรู้ เข้าใจ ใช้คำวา่ เออ ออ้ อ๋อ เจ็บปวด ใชค้ ำวา่ โอ๊ย โอย อุ๊ย สงสาร เห็นใจ ใช้คำว่า โธ๋ โถ พทุ โธ่ อนจิ จา ร้องเรียก ใช้คำว่า เฮย้ เฮ้ น่ี โล่งใจ ใช้คำวา่ เฮอ เฮ้อ โกรธเคอื ง ใช้คำวา่ ชชิ ะ แหม ๒. คำอทุ านเสรมิ บท เป็นคำอุทานที่ใชเ้ ปน็ คำสร้อยหรือคำเสริมบทตา่ งๆ คำอุทานประเภทนี้บางคำ เสรมิ คำที่ไมม่ ีความหมายเพอ่ื ยดื เสียงให้ยาวออกไป บางคำก็เพ่ือเน้นคำใหก้ ระชบั หนักแน่น เช่น - เด๋ียวน้ีมอื ไมฉ้ ันมันส่ันไปหมด - หนงั สอื หนังหาเด๋ียวนรี้ าคาแพงมาก - พอ่ แม่ไมใ่ ชห่ ัวหลักหัวตอนะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook