เล่มที่ 1 ความรู้เบ้อื งต้นเกีย่ วกับวฒั นธรรม ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 เร่อื ง วฒั นธรรมไทย
เล่มที่ 1 ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับวฒั นธรรม ชดุ การเรียนรู้ รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) สาระหนา้ ทีพ่ ลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม เรือ่ ง วัฒนธรรมไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 เลม่ ที่ 1 ความรู้เบื้องตน้ เก่ยี วกบั วฒั นธรรม นางสาวทรรศนีย์ รตั นเสถียร ตาแหน่ง ครชู านาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนเกาะยาววิทยา สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ชดุ การเรียนรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 เร่อื ง วฒั นธรรมไทย
เล่มที่ 1 ความรู้เบอื้ งตน้ เกยี่ วกบั วัฒนธรรม ก คานา ชุดการเรียนรู้ เรื่อง วัฒนธรรมไทย จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยเป็นชุดการเรียนรู้ที่เน้นให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการ ปฏิบัติกิจกรรม โดยการเรียนรู้ไปที ละลาดับจากง่ายไปยากตาม ศักยภาพและ ความสามารถของแต่ละคน ผู้เรียนได้ประเมินตนเอง และรู้คาตอบได้ทันที ซึ่งเป็นการ เสริมแรงให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจเมื่อสามารถปฏิบตั ิได้ถกู ต้อง และมีความพยายามที่ จะแก้ไขส่วนทีบ่ กพร่อง ในจัดการทาชุดการเรียนรู้นี้ ได้ทาการวิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 และนาสาระการเรียนรู้ที่กาหนดตาม มาตรฐานการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ มาจดั ทาเปน็ เน้อื หาตา่ ง ๆ ในชุดการเรียนรู้ โดย แบ่งเน้อื หาออกเป็น 8 เลม่ ดังนี้ เลม่ ที่ 1 ความรเู้ บื้องต้นเกี่ยวกบั วัฒนธรรม เล่มที่ 2 ลักษณะของวัฒนธรรมไทยและการปรับปรุงเปล่ียนแปลง วฒั นธรรมไทย เลม่ ที่ 3 วฒั นธรรมภาคเหนือ เลม่ ที่ 4 วัฒนธรรมภาคกลาง เลม่ ที่ 5 วัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เลม่ ที่ 6 วัฒนธรรมภาคใต้ เลม่ ที่ 7 แนวทางการอนรุ ักษ์วัฒนธรรมไทยทีด่ ีงาม เลม่ ที่ 8 ความแตกต่างระหว่างวฒั นธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล ผู้จัดทาหวังเป็นอยา่ งยิ่งว่าชุดการเรียนรู้นี้จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนและนกั เรียน ช่วยให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น และขอขอบพระคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุก ท่านที่ทาให้ชดุ การเรียนรู้นีส้ าเรจ็ ลุลว่ งด้วยดี ทรรศนีย์ รตั นเสถียร ชดุ การเรยี นรู้รายวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เร่อื ง วฒั นธรรมไทย
เลม่ ที่ 1 ความร้เู บอ้ื งตน้ เก่ียวกับวฒั นธรรม ข สารบัญ เร่อื ง หนา้ คานา ............................................................................................................... ก สารบัญ ........................................................................................................... ข สารบญั ภาพ .................................................................................................... ค คาชแี้ จง ........................................................................................................... 1 มาตรฐานการเรียนรู้ /ตวั ช้ีวัด ........................................................................... 2 จุดประสงค์การเรียนรู้ ...................................................................................... 3 แผนผงั มโนทัศน์ เรื่อง วัฒนธรรมไทย ............................................................... 4 แผนผงั มโนทศั น์ เลม่ ที่ 1 ความรเู้ บอื้ งต้นเกี่ยวกบั วัฒนธรรม ............................. 5 คาชแี้ จงสาหรบั ครู ........................................................................................... 6 คาชีแ้ จงสาหรับนักเรียน ................................................................................... 7 แผนผงั ขั้นตอนการเรียนรู้ ................................................................................. 8 แบบทดสอบก่อนเรียน ...................................................................................... 9 กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน .............................................................. 12 ความหมายของวฒั นธรรม ................................................................................ 13 ความสาคัญของวัฒนธรรม ............................................................................... 16 ลกั ษณะสาคญั ของวฒั นธรรม ........................................................................... 20 ประเภทของวัฒนธรรม ..................................................................................... 23 องค์ประกอบของวฒั นธรรม ............................................................................. 25 ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความหมายและความสาคัญของวฒั นธรรม ........................... 26 ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ประเภทของวฒั นธรรม (1) .................................................... 27 ใบงานที่ 1.3 เรือ่ ง ประเภทของวฒั นธรรม (2) ................................................... 29 ใบงานที่ 1.4 เรื่อง องค์ประกอบของวฒั นธรรม ................................................. 31 แบบทดสอบหลงั เรียน ...................................................................................... 32 กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลงั เรียน ............................................................. 35 บรรณานกุ รม .................................................................................................. 36 ภาคผนวก ....................................................................................................... 37 ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เร่อื ง วัฒนธรรมไทย
เล่มท่ี 1 ความร้เู บอื้ งตน้ เก่ียวกับวัฒนธรรม ค สารบญั ภาพ ภาพ หน้า ภาพที่ 1 พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมืน่ นราธิปพงศ์ประพนั ธ์ ................................. 13 ภาพที่ 2 พระยาอนมุ านราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) .............................................. 13 ภาพที่ 3 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประเวศ วะสี ................................................. 14 ภาพที่ 4 ศาสตราจารย์ นายแพทย์เกษม วฒั นชยั .............................................. 14 ภาพที่ 5 สญั ลักษณ์องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวฒั นธรรมแห่ง สหประชาชาติ (UNESCO) ................................................................... 15 ภาพที่ 6 การตักบาตร ...................................................................................... 16 ภาพที่ 7 การละหมาดของคนที่นับถือศาสนาอิสลาม ......................................... 17 ภาพที่ 8 การแตง่ งานของคนทีน่ ับถือศาสนาอิสลาม ชายคนเดียวกบั แตง่ งานได้ กับผู้หญงิ ถึง 4 คน .............................................................................. 17 ภาพที่ 9 การปน้ั หม้อ ....................................................................................... 18 ภาพที่ 10 ความมีระเบียบวินยั ของคนญี่ปุ่น ...................................................... 18 ภาพที่ 11 การแสดงความเคารพดว้ ยการไหว้ของคนไทย .................................. 19 ภาพที่ 12 การแสดงบ้านเรือนของคนภาคใต้ .................................................... 20 ภาพที่ 13 ตัวอักษรไทย ................................................................................... 20 ภาพที่ 14 การไหว้บรรพบุรุษของชาวจีน .......................................................... 21 ภาพที่ 15 วิวฒั นาการของการเดนิ ทางจากอดตี สปู่ จั จบุ ัน ................................ 21 ภาพที่ 16 วฒั นธรรมการกินอาหารของชาวจีนโดยใช้ตะเกียบ .......................... 22 ภาพที่ 17 วฒั นธรรมทีส่ ัมผัสไดแ้ ละวฒั นธรรมทีส่ มั ผัสไม่ได้ ............................. 23 ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เร่อื ง วฒั นธรรมไทย
เล่มที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งตน้ เก่ยี วกับวัฒนธรรม 1 คาชี้แจง ชุดการเรียนรู้ เรื่อง วัฒนธรรมไทย รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ประกอบดว้ ย 1. คาชีแ้ จง 2. มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวช้ีวัด 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 4. แผนผงั มโนทศั น์ เรื่อง วฒั นธรรมไทย 5. แผนผังมโนทศั น์ เลม่ ที่ 1 ความรเู้ บอื้ งต้นเกี่ยวกับวฒั นธรรม 6. คาชีแ้ จงสาหรับครู 7. คาชีแ้ จงสาหรับนกั เรียน 8. แผนผังขั้นตอนการเรียนรู้ 9. แบบทดสอบก่อนเรียน 10. กระดาษคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียน 11. ใบความรู้ 12. ใบงาน 13. แบบทดสอบหลงั เรียน 14. กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลงั เรียน 15. บรรณานกุ รม 16. ภาคผนวก ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เรอ่ื ง วัฒนธรรมไทย
เลม่ ที่ 1 ความรเู้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกบั วฒั นธรรม 2 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าทีข่ องการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมทีด่ งี าม และ ธารงรักษาประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกนั ในสงั คมไทยและ สังคมโลกอย่างสันติสขุ ตวั ชี้วดั ช่วงชั้น ม.4-6/5 วเิ คราะห์ความจาเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงเปล่ยี นแปลงและอนรุ ักษ์วฒั นธรรมไทยและ เลอื กรบั วัฒนธรรมสากล ชดุ การเรียนรู้รายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เรือ่ ง วัฒนธรรมไทย
เล่มท่ี 1 ความร้เู บอ้ื งต้นเกี่ยวกบั วัฒนธรรม 3 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ความรู้ (K) 1. อธิบายความหมาย ความสาคัญของวัฒนธรรมได้ 2. จาแนกประเภทของวัฒนธรรมได้ 3. ยกตัวอย่างวัฒนธรรมที่ตนเองรู้จักได้ ทักษะ (P) 1. เลอื กรบั วัฒนธรรมได้อยา่ งเหมาะสม 2. ปฏิบัตติ นตามระเบียบและวฒั นธรรมของโรงเรียน 3. นาความรู้เรอ่ื งวฒั นธรรมไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ได้ กระบวนการ (A) 1. ยอมรับวัฒนธรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับตนเอง 2. เห็นความสาคัญของวฒั นธรรมทีเ่ กีย่ วข้องกบั ตนเอง 3. เอาใจใส่ ร่วมอนรุ กั ษ์ และเผยแพร่วฒั นธรรมในท้องถิน่ ของตนเอง ชดุ การเรยี นรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง วัฒนธรรมไทย
ความรเู้ บือ้ งต้น เล่มท่ี 1 ความรู้เบ้ืองต เก่ยี วกับวฒั นธรรม แผนผงั มโนทศั น์ เร ลกั ษณะของว และการป เปลีย่ นแปลงว วัฒนธรรมภาคกลาง วัฒนธร วฒั นธรรมภาคใต้ แนวทางกา วัฒนธรรมไ ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (
ตน้ เกี่ยวกับวฒั นธรรม 4 รือ่ ง วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมภาคเหนอื วัฒนธรรมไทย ปรบั ปรงุ วฒั นธรรมไทย รรมไทย วฒั นธรรม ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ารอนรุ ักษ์ ความแตกตา่ งระหว่าง ไทยที่ดีงาม วฒั นธรรมไทยกับ วฒั นธรรมสากล (ส 31101) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 เร่อื ง วัฒนธรรมไทย
เล่มท่ี 1 ความรูเ้ บอ้ื งต แผนผังมโนทัศน์ เล่มที่ 1 ความ ความสาคญั ข ความหมายของวฒั นธรรม ความรู้เ เกี่ยวกบั ว ประเภทของวัฒนธรรม ชุดการเรยี นรู้รายวิชาสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (
ต้นเกยี่ วกับวฒั นธรรม 5 มรูเ้ บื้องตน้ เกี่ยวกบั วฒั นธรรม ของวัฒนธรรม ลักษณะของวัฒนธรรม เบื้องต้น วัฒนธรรม องค์ประกอบของวฒั นธรรม (ส 31101) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เรือ่ ง วฒั นธรรมไทย
เล่มท่ี 1 ความรู้เบ้อื งตน้ เก่ียวกับวฒั นธรรม 6 คาชี้แจงสาหรบั ครู เมื่อครูไดน้ าชดุ การเรยี นรไู้ ปใช้ ใหป้ ฏบิ ตั ิดงั น้ี 1. ครศู ึกษาชุดการเรียนรู้และวิธกี ารใช้ให้เข้าใจ 2. เตรียมและตรวจสอบชุดการเรียนรู้ให้เพียงพอกบั จานวนนักเรียน และพร้อมใช้ งานทนั ที 3. ครชู ีแ้ จงวิธกี ารศึกษาชุดการเรียนรู้ให้นักเรยี นเข้าใจ และพร้อมจะศึกษา 4. ก่อนสอนควรปลูกฝังคุณธรรมเรื่องความซือ่ สัตย์ และการรักษาชดุ การเรียนรู้ ให้อยู่ในสภาพเดมิ 5. ต้องให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนแล้วเก็บผลไว้เพื่อดูการพัฒนา และ สารวจความรู้พนื้ ฐาน 6. เมื่อครูแจกชุดการเรียนรู้ให้นักเรียนแล้ว ครูต้องเป็นที่ปรึกษาให้กับนักเรียน ระหว่างการทากิจกรรมรวมท้ังบันทึกพฤติกรรมการทางานลงในแบบประเมิน 7. ระหว่างการดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนจนถึงการตรวจกระดาษคาตอบ ครูสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล และบนั ทึกลงในแบบประเมิน 8. ครูควรคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบคุ คลของนักเรยี น 9. เมื่อศึกษาชดุ การเรียนรู้แลว้ ควรให้นักเรยี นสรปุ ความรู้ที่ไดร้ บั อีกคร้ังหนึ่ง 10. ต้องให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนเมื่อศึกษาชุดการเรียนรู้จบแล้ว และนาผลมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับผลการทดสอบก่อนเรียนเพื่อพฒั นาตอ่ ไป ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เร่อื ง วฒั นธรรมไทย
เล่มท่ี 1 ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับวฒั นธรรม 7 คาชี้แจงสาหรบั นกั เรียน เมื่อนกั เรยี นไดน้ าชดุ การเรยี นรู้ไปใช้ ให้ปฏิบตั ิดังน้ี 1. นักเรียนศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และจุดประสงค์การเรียนรู้ให้ เข้าใจ 2. นักเรยี นต้องทาแบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนทีจ่ ะศึกษาชดุ การเรียนรู้ 3. นักเรียนต้องศึกษาทาความเข้าใจบทเรียนทีละเรื่องตามลาดับ ห้ามข้ามเรื่อง เพราะจะทาให้เนือ้ หาไมต่ ่อเนือ่ ง 4. เมื่อนักเรียนพบข้อคาถาม นักเรียนไม่ควรดูเฉลยก่อน เพราะเป็นการไม่ ซื่อสัตย์ต่อตนเอง หากนักเรียนตอบคาถามเรียบร้อยแล้วให้ดูเฉลยว่าถูกต้องหรือไม่ ถ้า ไมถ่ กู ต้องให้กลับไปศึกษาเนือ้ หาอีกครั้ง แล้วแก้ไขคาตอบให้ถกู ต้อง 5. ชุดการเรียนรู้เล่มนี้จะมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อนักเรียนมีความซื่อสัตย์ ไม่ดู คาตอบก่อนทาข้อสอบหรือตอบคาถาม 6. เมื่อนักเรียนศึกษาเนื้อหาหรือกิจกรรมครบแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบ หลังเรียน เพื่อวัดความเข้าใจในบทเรียนทั้งหมด 7. การประเมินผลการเรียนนักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ 80 ขนึ้ ไป คือต้องได้ 8 คะแนนขึ้นไปจาก 10 คะแนน หากได้คะแนนต่ากว่านี้ต้องทบทวนบทเรียนใหม่ และทา กิจกรรมตามขั้นตอนทดสอบใหม่ให้ผ่านเกณฑ์ จึงจะผ่านบทเรียนนี้ 8. หากนักเรียนทากิจกรรมไม่ทัน หรือไม่เข้าใจกิจกรรมที่ทา นักเรียนสามารถ ยืมชุดการเรียนรู้ไปศึกษาเองในเวลาว่าง และสามารถพัฒนาตนเองได้ตลอดเวลา ชดุ การเรยี นรู้รายวิชาสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 เร่อื ง วัฒนธรรมไทย
เลม่ ท่ี 1 ความร้เู บอ้ื งตน้ เก่ียวกบั วัฒนธรรม 8 แผนผงั ขั้นตอนการเรียนรู้ อ่านคาชีแ้ จง / คาแนะนา การใชช้ ดุ การเรียนรู้ ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ศกึ ษาชดุ การเรียนรู้โดยปฏิบตั ิกจิ กรรม - ศึกษาเนื้อหา - ทากิจกรรมการเรยี นรู้ - ตรวจกิจกรรมการเรยี นรู้ ทาแบบทดสอบหลงั เรียน ผา่ นเกณฑ์ ไม่ผา่ นเกณฑ์ ศึกษาชุดกิจกรรมตอ่ ไป ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เรือ่ ง วฒั นธรรมไทย
เล่มท่ี 1 ความรู้เบ้อื งต้นเกย่ี วกบั วัฒนธรรม 9 แบบทดสอบกอ่ นเรียน คาชี้แจง : 1. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัยเลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก จานวน 10 ข้อ 2. ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 10 นาที ขอ้ ละ 1 คะแนน 3. ให้นกั เรยี นเลอื กคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดยี ว แล้วทาเครอ่ื งหมายกากบาท () ลงในกระดาษคาตอบให้ถูกต้อง 1. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของวฒั นธรรมได้ชัดเจนที่สดุ ก. สง่ิ ทีเ่ ป็นความเจริญของแตล่ ะท้องถิ่น ข. ประเพณขี องชาตติ ่าง ๆ ทีม่ ีการพัฒนามาจนถึงปจั จุบัน ค. เอกลกั ษณ์ของชนชาตติ ่าง ๆ ที่มีความเจรญิ ก้าวหน้า ง. ทกุ สง่ิ ที่มนษุ ยส์ ร้างข้ึนเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวันและถ่ายทอดจากบรรพบุรษุ มายงั คนรุ่นหลงั 2. วัฒนธรรมไมไ่ ด้ครอบคลมุ ถึงเรอ่ื งใดต่อไปนี้ ก. อาหาร ข. เครอ่ื งนุ่งห่ม ค. ส่งิ ที่เกิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ ง. ภาษาพดู 3. ความสาคัญทีส่ ุดของวัฒนธรรมคือข้อใด ก. ช่วยให้มนษุ ยป์ รบั ตัวกับส่งิ แวดล้อม ข. เป็นเครือ่ งมือจัดระเบียบสังคมมนุษย์ ค. ช่วยให้สังคมอยู่อยา่ งปกติสุข ง. ช่วยให้เป็นมรดกของสังคม ชดุ การเรยี นรู้รายวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เรอื่ ง วัฒนธรรมไทย
เลม่ ท่ี 1 ความรู้เบ้อื งตน้ เก่ยี วกับวฒั นธรรม 10 4. ข้อใดถอื เป็นปจั จัยที่สาคัญน้อยที่สดุ ทีท่ าให้มนุษยจ์ าเป็นต้องสร้างสรรค์วัฒนธรรม ก. เพราะมนุษย์เป็นสตั ว์สังคมที่ชอบรวมตวั กนั เป็นกลมุ่ ข. เปน็ เครื่องมือในการดารงชีวิตร่วมกนั ในสังคม ค. เพือ่ ให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย ง. เพือ่ เป็นแบบแผนการดาเนนิ ชีวิตในสงั คม 5. ข้อใดกล่าวไมถ่ กู ตอ้ งเกี่ยวกับลกั ษณะของวฒั นธรรม ก. วฒั นธรรมไมส่ ามารถเปล่ยี นแปลงได้ ข. วฒั นธรรมเกิดจากการเรียนรู้ของมนุษย์ ค. วฒั นธรรมเปน็ แบบแผนในการดาเนนิ ชีวิต ง. วัฒนธรรมเปน็ ของส่วนรวม 6. “วัฒนธรรมเกิดจากการทีค่ นมาอยู่รวมกนั และสร้างรูปแบบในการดาเนินชีวิตร่วมกัน” ข้อความดังกลา่ วสอดคลอ้ งกบั ลักษณะสาคญั ของวฒั นธรรมในข้อใด ก. วฒั นธรรมเป็นของส่วนรวม ข. วฒั นธรรมเกิดจากการเรียนรู้ของมนษุ ย์ ค. วฒั นธรรมเปน็ สิ่งที่เปลย่ี นแปลงได้ ง. วัฒนธรรมเปน็ แบบแผนในการดาเนนิ ชีวิต 7. มารยาทในการอยู่รวมกนั ในสังคมเป็นวัฒนธรรมประเภทใด ก. คตธิ รรม ข. เนติธรรม ค. สหธรรม ง. วตั ถธุ รรม ชดุ การเรยี นรู้รายวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เรอ่ื ง วัฒนธรรมไทย
เลม่ ที่ 1 ความรู้เบอื้ งตน้ เก่ียวกบั วฒั นธรรม 11 8. พฤติกรรมในข้อใดหมายถึงวฒั นธรรมประเภทคติธรรม ก. อนั เข้าแถวเพื่อซือ้ อาหาร ข. แอมไปใช้สิทธิลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ ค. อ้นไมส่ ูบบุหรีใ่ นโรงภาพยนตร์ ง. อุ๋มเสียสละที่น่งั บนรถโดยสาธารณะให้คนแก่และคนพิการเสมอ 9. ข้อใดไมเ่ กย่ี วขอ้ งกบั องค์ประกอบสาคญั ของวัฒนธรรม ก. องค์มติ ข. องค์การ ค. องค์กร ง. องค์พิธกี าร 10. “ความรู้ ความคิด ความเชื่อ อดุ มการณ์ ทถี่ ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปสคู่ นอีกรุ่นหนึง่ ” ข้อความ ดังกล่าวสอดคลอ้ งกับองค์ประกอบของวฒั นธรรมข้อใด ก. องค์การ ข. องค์พิธกี าร ค. องค์วัตถุ ง. องค์มติ ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เร่ือง วัฒนธรรมไทย
เลม่ ที่ 1 ความรูเ้ บอื้ งตน้ เก่ยี วกับวัฒนธรรม 12 กระดาษคาตอบ แบบทดสอบกอ่ นเรียน ชือ่ - สกลุ ............................................................. ช้ัน ........... เลขที่ ........ ข้อ ก. ตัวเลือก เกณฑก์ ารประเมิน 1. ข. ค. 2. ง. ตอบถูก ข้อละ 1 คะแนน 3. 4. ตอบผิด/ไมต่ อบ ข้อละ 0 คะแนน 5. 6. หรือตอบมากกว่า 1 ขอ้ 7. 8. แปลผลคะแนน 9. 10. 8 - 10 คะแนน ดี 5 - 7 คะแนน พอใช้ 0 - 4 คะแนน ปรับปรุง สรปุ ผล 8 - 10 คะแนน 0 - 7 คะแนน สรุปผลการประเมิน รวม ........... คะแนน ผา่ น ไม่ผา่ น ชดุ การเรียนรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง วัฒนธรรมไทย
เลม่ ท่ี 1 ความร้เู บ้อื งต้นเก่ียวกับวฒั นธรรม 13 ความหมายของวฒั นธรรม วฒั นธรรม มีผู้ให้ความหมายไว้มากมายพอจะสรุปเพือ่ ให้เกิดความเข้าใจ ดังนี้ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านอักษรศาสตร์และวรรณคดีกฎหมายและการทูตของไทยในอดีต ทรง บัญญัติคาว่า “วัฒนธรรม” ข้ึนและได้มีใช้เปน็ หลกั ฐานทางราชการครั้งแรก เมื่อ พ.ศ 2483 โดยแปลมาจากมาจากภาษาองั กฤษ คือ Culture ซึ่งมาจาก Cultura ในภาษาละติน หมายถึง “การเพะปลูกหรือการปลูกฝัง” โดยทรง อธบิ ายว่า “วัฒนธรรม” คือความเจริญในทางวิชาความรู้ เช่น วิทยาศาสตร์ ศิลปวิทยา วรรณคดี ศาสนา ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี และจรรยา มารยาท ขณะเดียวกันวัฒนธรรมเป็นมรดกแห่งสังคม มีทั้งส่วนที่จับต้องได้ และจับตอ้ งไม่ได้ ภาพที่ 1 พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมืน่ นราธิปพงศ์ประพนั ธ์ ทีม่ าของภาพ : https://dl.lnwfile.com/h53spf.jpg พระยาอนมุ านราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) นกั สังคมวิทยาในอดตี ที่มี ผลงานเขียนมากมายโดยเฉพาะด้านวัฒนธรรม อธิบายว่า วัฒนธรรมคือ ส่ิงที่ มนษุ ย์เปล่ยี นแปลง ปรับปรงุ หรือประดิษฐ์ขนึ้ เพือ่ ความเจริญงอกงามในวิถีชีวิต ของส่วนรวม หรือคือวิถีชีวิตของมนุษย์ในส่วนรวมที่สามารถถ่ายทอดกันได้ วฒั นธรรม คือ ความคิดเหน็ ความรู้สึก ความประพฤติ และกริ ิยาอาการหรือการ กระทาใด ๆ ของมนุษย์ในส่วนรวมที่ลงรูปเป็นพิมพ์เดยี วกัน และแสดงออกมาให้ ปรากฏในรปู ของภาษา ศิลปะ ความเชื่อถือ และระเบียบประเพณี ภาพที่ 2 พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) ที่มาของภาพ : http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/6/69 ชุดการเรยี นรู้รายวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 เร่ือง วฒั นธรรมไทย
เลม่ ที่ 1 ความร้เู บ้ืองตน้ เก่ียวกบั วัฒนธรรม 14 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประเวศ วะสี ผู้ได้รับรางวัลแมก ไซไซ สาขาบริการรัฐ จากประเทศฟิลิปปินส์ และรางวัลบุคคลดเี ดน่ ของชาติ สาขาการแพทย์ของไทย กล่าวว่า วฒั นธรรม คือการปฏิบตั ิ หรือวิถีชีวิตของชุมชนหรือสังคม ได้มาจากประสบการณ์จริง เลอื กสรร กลัน่ กรองลองใช้ และถา่ ยทอดดว้ ยการปฏิบัตสิ บื ตอ่ กนั มา อีกชื่อหน่ึงของวัฒน ธรรมคือ ภูมิปัญญาด้ังเดิม (Traditional Knowledge) เป็นวัฒนธรรมที่เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับ ส่งิ แวดล้อมซึง่ แต่ละแห่งแตกตา่ งกนั ภาพที่ 3 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประเวศ วะสี ที่มาของภาพ : https://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/thumb/a/ad/ ศาสตราจารย์ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย ผู้ที่มีบทบาทในการพัฒนา ดา้ นการศึกษาของไทยปัจจุบันดารงตาแหนง่ องคมนตรี ได้กล่าวถึงวัฒนธรรมว่า โดยทั่วไปวัฒนธรรม (Culture) มี 2 ความหมาย ความหมายแรกเป็นความหมาย ที่เข้าใจโดยท่ัวไป คือ วัฒนธรรม เป็นรูปแบบหน่ึงของอารยธรรม โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในส่วนทีเ่ กี่ยวกับความเชื่อศิลปะประเพณีนยิ มและธรรมเนยี มนยิ มตา่ ง ๆ ที่สะท้อนวิถีชีวิตวิถีการคิดความเชื่อแล้วประดิษฐ์เปน็ ผลผลิตท้ังที่เป็นนามธรรม และรปู ธรรมซึ่งมีความแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะกลุ่มหรือหมู่ชนต่าง ๆ ภาพที่ 4 ศาสตราจารย์ นายแพทย์เกษม วัฒนชยั ทีม่ าของภาพ : http://library.cmu.ac.th/pinmala/alumni/047002.jpg ส่วนอีกความหมายหน่ึงหมายถึง การพัฒนาสติปัญญาด้วยกระบวนการของการศึกษาหรือการเรียนรู้ การศึกษาวัฒนธรรมมีท้ังด้านวัฒนธรรมศึกษา คือการเรียนรู้เรือ่ งวัฒนธรรม (Culture) ที่มีเน้ือหาสาระและด้านที่เป็น การสร้างและซึมซบั วฒั นธรรม (Culture Education) ซึ่งท้ังสอง 2 ดา้ น ไม่เหมือนกนั การศึกษาวฒั นธรรมตอ้ งศึกษาทั้ง 2 ด้าน คือต้องมีการสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนเช่น มีวิธีการรูปแบบหรือสร้างสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ (Acculturation) เพื่อให้ซึมซับและสร้างวัฒนธรรมในตนเองขณะเดียวกันต้องเรียนรู้เรื่องวัฒนธรรม เช่น การเรียนรู้ วฒั นธรรมไทย วัฒนธรรมลาว วัฒนธรรมพม่า ชุดการเรยี นรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เรื่อง วฒั นธรรมไทย
เลม่ ที่ 1 ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกับวัฒนธรรม 15 ภาพที่ 5 สัญลักษณ์องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ที่มาของภาพ : https://unesco.usmission.gov/wp-content/uploads/sites/201/2014/08/logo-unesco.png เน่ืองจากวัฒนธรรมมีความหมายหลากหลายดังนั้นองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) จึงจัดประชุมที่ประเทศเม็กซิโกเมือ่ พ.ศ. 2525 เห็นร่วมกัน ว่าวัฒนธรรม คือ วัฒนธรรมของคนที่เกิดจากกระบวนการอนั ซับซ้อนทางสังคมหรือกลุ่มชนโดยรวม เอามิติด้านจิตใจ วัตถุ ภูมิปัญญา และอารมณ์เข้าไว้ด้วยกัน จนเป็นเอกลักษณ์ของสังคมนั้น ๆ มิใช่ เพียงแต่ศิลปะและวรรณกรรม หากรวมถึงรูปแบบวิถีชีวิตหลากหลาย เช่น สิทธิมนุษยชนข้ันพื้นฐาน ระบบค่านยิ ม ตลอดจนขนบธรรมเนยี มประเพณีและความเชือ่ ต่าง ๆ กลา่ วโดยสรุป วัฒนธรรม คือ สรรพสง่ิ ที่มนุษย์สร้างขึ้น ไมว่ ่าในแง่วตั ถุ สัญลักษณ์ หรือ ความคิด ความเชื่อ และส่ิงที่สร้างขึ้นน้ันจะต้องเป็นทีย่ อมรับของกลุ่มสมาชิกในกลุ่มนั้นเรียนรบั ถ่ายทอดกนั ไปท้ังโดยตรงและโดยอ้อม มีการดัดแปลงแก้ไขไปตามสภาพการณ์ของยคุ สมัย ค่านยิ ม ตลอดจนขนบธรรมเนยี มประเพณีและความเชือ่ ต่าง ๆ ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 เรื่อง วฒั นธรรมไทย
เลม่ ท่ี 1 ความรู้เบื้องต้นเกีย่ วกับวฒั นธรรม 16 ความสาคญั ของวัฒนธรรม วฒั นธรรมเป็นองค์ประกอบพ้ืนฐานอนั เป็นแกนสาคัญอันหนึ่งของสงั คมมนุษย์ ทั้งนี้ เพราะ วัฒนธรรมเป็นแบบแผนในการดารงและดาเนินชีวิตของคนในสังคม วัฒนธรรมจึงเป็นตัวกาหนด พฤติกรรมหรือความพฤติประพฤติของมนุษย์ในแต่ละสังคมดังนั้นวัฒนธรรมจึงมีความสาคัญต่อ ทกุ สงั คมซึง่ สามารถจาแนกความสาคัญของวัฒนธรรมออกเป็นดา้ นต่าง ๆ ดังนี้ 1. วัฒนธรรมเปน็ เครือ่ งสร้างระเบียบแกส่ ังคม วฒั นธรรมเปน็ เครือ่ งกาหนดพฤติกรรม ของสมาชิกในสังคมให้มีระเบียบแบบแผนที่ชัดเจน รวมถึงผลของการแสดงพฤติกรรม ตลอดจน การสร้างแบบแผนของความคิด ความเชื่อ และค่านิยมของสมาชิกให้อยู่ในรูปแบบเดียวกัน เช่น การตกั บาตรในตอนเช้าของคนไทย ภาพที่ 6 การตกั บาตร ทีม่ าของภาพ : http://4.bp.blogspot.com/-G5dk8AAdkcs/ ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เร่ือง วัฒนธรรมไทย
เลม่ ที่ 1 ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกับวฒั นธรรม 17 2. วัฒนธรรมทาให้เกิดความเป็นเอกภาพ สังคมที่มีวัฒนธรรมเดียวกันย่อมจะมี ความรสู้ กึ ผูกพันเป็นพวกเดียวกนั เกิดความเปน็ ปึกแผ่นจงรักภกั ดแี ละอทุ ิศตนให้กับสงั คมซึ่งทาให้ อยู่รอด เช่น การละหมาดเปน็ การสร้างความเป็นเอกภาพอย่างหนึง่ ในศาสนาอิสลาม ภาพที่ 7 การละหมาดของคนทีน่ ับถือศาสนาอิสลาม ทีม่ าของภาพ : https://www.posttoday.com/media/content/2012/12/16/0E42E6211A4A45CC8C7A9D72ACF8D36B.jpg 3. วฒั นธรรมเปน็ ตวั กาหนดรูปแบบของสถาบนั เช่น รปู แบบของครอบครวั จะเหน็ ได้ว่า ลกั ษณะของครอบครวั แต่ละสงั คมแตกต่างกันไป ทั้งนี้ เนื่องจากวัฒนธรรมในสังคมเป็นตัวกาหนด รูปแบบ เช่น ทิเบตที่มีวัฒนธรรมการแต่งงานระหว่างชายหลายคนกับหญิงคนเดียว หรือผู้นับถือ ศาสนาอิสลามและฮินดูมีวัฒนธรรมการแต่งงานระหว่างชายคนเดียวกับหญิงหลายคน ส่วนผู้นับ ถอื ศาสนาคริสต์และพระพุทธศาสนามีวฒั นธรรมการแต่งงานระหว่างชายคนเดียวกบั หญงิ คนเดียว ภาพที่ 8 การแต่งงานของคนทีน่ บั ถือศาสนาอิสลาม ชายคนเดียวกับแตง่ งานได้กับผู้หญิงถงึ 4 คน ที่มาของภาพ : http://news.muslimthaipost.com/uploads/2016/3/29/01.jpg ชดุ การเรยี นรู้รายวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 เรอ่ื ง วฒั นธรรมไทย
เล่มท่ี 1 ความร้เู บ้ืองต้นเกย่ี วกับวฒั นธรรม 18 4. วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือช่วยแก้ปัญหาและสนองความต้องการของมนุษย์ มนุษย์ ไม่อาจดาเนินชีวิตภายใต้ส่ิงแวดล้อมได้อย่างสมบูรณ์ ดังน้ัน จึงต้องแสวงหาความรู้จา ก ประสบการณท์ ี่ตนได้รับดว้ ยการประดษิ ฐ์คิดค้นวิธีการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์ต่อชีวิต และถ่ายทอดจากสมาชิกรุ่นหนึ่งไปสู่สมาชิกอีกรุ่นหนึ่งต่อไป เช่น การป้ันหม้อดินเอาไว้สาหรับใช้ งาน ภาพที่ 9 การป้ันหมอ้ ทีม่ าของภาพ : http://www.churchofjoy.net/wp-content/uploads/2013/06/ 5. วัฒนธรรมช่วยให้ประเทศชาติเจรญิ ก้าวหน้า สงั คมใดมีวฒั นธรรมที่ดีงามเหมาะสม เช่น มีระเบียบวินยั ขยัน อดทน เหน็ ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าสว่ นตวั สงั คมนั้นย่อมเจริญก้าวหน้า ได้อยา่ งรวดเรว็ ภาพที่ 10 ความมีระเบียบวินัยของคนญ่ปี ุ่น ที่มาของภาพ : http://www.strategic-man.com/files/Tsunami.jpg ชดุ การเรยี นรู้รายวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เร่อื ง วฒั นธรรมไทย
เล่มท่ี 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั วัฒนธรรม 19 6. วัฒนธรรมเป็นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชาติ เอกลักษณ์ หมายถึง ลักษณะพิเศษ หรือลักษณะเด่นของบุคคลหรือของสังคมที่แสดงว่าสังคมหนึ่งแตกต่างไปจากอีกสังคมหนึ่ง เช่น วฒั นธรรมการพบปะกันในสงั คมตะวันตกจะใช้มอื สัมผสั กนั หรือทีเ่ รียกว่า เชกแฮนด์ ในสังคมญ่ีปุ่น จะใช้การคานับที่แสดงถึงการเคารพกัน สว่ นสังคมไทยจะใช้การไหว้พร้อมกับกล่าวคาว่าสวัสดี ภาพที่ 11 การแสดงความเคารพด้วยการไหว้ของคนไทย ทีม่ าของภาพ : http://province.m-culture.go.th/nan10/comity12.jpg ชดุ การเรียนรู้รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรอ่ื ง วฒั นธรรมไทย
เลม่ ที่ 1 ความรเู้ บอื้ งตน้ เก่ียวกับวัฒนธรรม 20 ลักษณะของวัฒนธรรม วฒั นธรรมมีลกั ษณะทีส่ าคัญดังนี้ 1. เกิดขึ้นมาจากการเรียนรู้ของมนุษย์ วัฒนธรรมไม่ใช่สัญชาตญาณหรือส่ิงที่ติดตัว มนุษย์มาตั้งแต่เกิด แต่จะเกิดขนึ้ มาจากการเรียนรู้ของสมาชิกในสังคม เช่น การสร้างบ้าน สมาชิก ในสังคมจะต้องเรียนรู้วิธีการสร้างบ้านจากสมาชิกคนอืน่ ๆ ไม่ใช่ว่าทุกคนจะมีความรู้ในการสร้าง บ้านติดตัวมาแตก่ าเนิด ภาพที่ 12 การแสดงบ้านเรือนของคนภาคใต้ ทีม่ าของภาพ : https://sites.google.com/site/adecmjuu2605/_/rsrc/1491704352275/ 2. เป็นมรดกของสังคม วัฒนธรรมเป็นส่ิงที่ถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ใน การถ่ายทอดน้ันจะต้องใช้ระยะเวลายาวนาน และใช้ภาษาเปน็ เครื่องมือสาคัญ เพือ่ เป็นสื่อกลางใน การดาเนนิ การถ่ายทอด ทาให้วัฒนธรรมเป็นมรดกของสงั คมทีค่ นรุ่นก่อนถ่ายทอดสู่คนรุ่นหลงั ภาพที่ 13 ตวั อักษรไทย ทีม่ าของภาพ : http://4.bp.blogspot.com/-s6QLaYKf8sE/ ชดุ การเรยี นรู้รายวิชาสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 เรอื่ ง วฒั นธรรมไทย
เล่มที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเกย่ี วกับวฒั นธรรม 21 3. เปน็ แบบแผนในการดาเนินชวี ิต แตล่ ะสงั คมจะมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน และไมอ่ าจ บอกได้ว่าวัฒนธรรมของสังคมใดดีกว่ากัน เนื่องจากวัฒนธรรมของแต่ละสังคมจะมีความ สอดคล้องและเหมาะสมกับการดาเนินชีวิตของคนและสภาพแวดล้อมในสังคมน้ัน ๆ เช่น วัฒนธรรมไทยมีแบบแผนในการดาเนินชีวิตแบบหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นด้านความเป็นอยู่ การแต่งกาย อาหาร ส่วนวัฒนธรรมจีนก็มีแบบแผนการดาเนินชีวิตของตนที่แตกต่างจากวฒั นธรรมไทย ดังน้ัน แตล่ ะสังคมกจ็ ะมีแบบแผนในการดาเนนิ ชีวิตที่มีลกั ษณะเฉพาะเป็นของตนเอง ภาพที่ 14 การไหว้บรรพบรุ ษุ ของชาวจีน ที่มาของภาพ : https://static5-th.orstatic.com/userphoto/Article/0/2N/000IVQEA6DDBF79532CF17j.jpg 4. เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลง ได้วัฒนธรรมมีการเปลย่ี นแปลงอยู่เสมอ เนื่องจากคนประดษิ ฐ์ คิดค้นส่ิงใหม่ ๆ หรือปรับปรุงส่ิงที่มีอยู่เดิมให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่ เปล่ียนแปลงอยู่เสมอ เช่น สมัยก่อนคนไทยนิยมเดินทางโดยใช้เรือเป็นพาหนะ แต่เมื่อสภาพสังคม เปล่ียนแปลงไปมีการตัดถนนหนทางมากขึ้น คนไทยจึงหันมานิยมใช้รถยนต์เป็นพาหนะในการ เดนิ ทางมากขึน้ เพราะสะดวกและรวดเร็วกว่า ภาพที่ 15 วิวัฒนาการของการเดินทางจากอดีตสู่ปจั จบุ ัน ทีม่ าของภาพ : https://static5-th.orstatic.com/userphoto/Article/0/2N/000IVQEA6DDBF79532CF17j.jpg ชดุ การเรียนรู้รายวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เร่ือง วฒั นธรรมไทย
เลม่ ท่ี 1 ความร้เู บือ้ งตน้ เก่ยี วกบั วัฒนธรรม 22 5. เป็นสิ่งที่แสดงถึงรูปแบบของความคิดร่วมกันของสมาชิกในสังคม วัฒนธรรมเป็น เคร่อื งกาหนดรูปแบบของความคิดในการแสดงพฤติกรรมของสมาชิกในสังคม ซึ่งสมาชกิ จะรับรู้ไป ในแนวทางเดียวกันและแสดงปรับพฤติกรรมน้ันออกมาเหมือนกัน เช่น คนไทยใช้ช้อนส้อมในการ รบั ประทานอาหาร ส่วนคนจนี จะใช้ตะเกียบในการรบั ประทานอาหาร ภาพที่ 16 วฒั นธรรมการกินอาหารของชาวจีนโดยใชต้ ะเกียบ ที่มาของภาพ : http://media.ch3thailand.com/v4/news/2018/07/6502519723.jpg 6. เป็นของส่วนรวม วัฒนธรรมมิใช่ของผู้ใดผู้หนึ่งโดยเฉพาะ แต่เป็นของส่วนรวมซึ่งเกิด จากการที่คนมาอยู่รวมกันและสร้างรูปแบบในการดาเนินชีวิตร่วมกนั วัฒนธรรม จึงเปน็ ส่งิ ที่สมาชิก ในสงั คมปฏิบัติ มิใช่สิง่ ทีส่ มาชกิ ของสังคมเพียงคนใดคนหนึ่งปฏิบัตเิ ท่านน้ั กล่าวโดยสรุป วัฒนธรรมเป็นส่ิงที่มนุษย์สร้างขนึ้ และถ่ายทอดเปน็ มรดกของสังคมเพื่อใช้ เป็นแบบแผนการดาเนินชีวิต สามารถเปล่ียนแปลงได้ตามสภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงอยู่เสมอ และเป็นส่ิงที่สมาชิกในสังคมจะประพฤติปฏิบัติไปในทางเดียวกัน ดังนั้นวัฒนธรรมจึงเป็นของ สว่ นรวมมิใช่ของผู้หนึ่งผู้ใดโดยเฉพาะ ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 เรอ่ื ง วัฒนธรรมไทย
เลม่ ท่ี 1 ความรเู้ บ้อื งตน้ เกีย่ วกบั วัฒนธรรม 23 ประเภทของวฒั นธรรม วัฒนธรรมแบ่งออกเปน็ 2 ประเภทคือ วฒั นธรรมทางวัตถุ วฒั นธรรมทีไ่ ม่ใชว่ ตั ถุ 1. วัฒนธรรมทางวัตถุ (Material Culture) หมายถึง ส่ิงประดิษฐ์และเทคโนโลยีต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่ิงที่มีรูปร่างมองเห็นได้สัมผัสได้หรือจับต้องได้เช่นบ้านเรือนกระดาษถ้วยชามเส้ือ เป็นต้น วัฒนธรรมทางวัตถุเรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่าวตั ถธุ รรมหรือรปู ธรรม 2. วัฒนธรรมที่ไม่ใชว่ ัตถุ (Non-Material Culture) หมายถึง ส่ิงต่าง ๆ ที่ไม่มีรูปร่างไม่ สามารถมองเห็นได้ไม่สามารถจับต้องหรือสัมผัสได้ เช่น ความรู้ ค่านิยม แนวความคิด ขนบธรรมเนียม ประเพณี เปน็ ต้น วฒั นธรรมทีไ่ มใ่ ช่วัตถเุ รยี กชือ่ อีกอย่างหนึ่งว่า “นามธรรม” ภาพที่ 17 วัฒนธรรมที่สมั ผัสได้และวฒั นธรรมทีส่ ัมผสั ไม่ได้ ทีม่ าของภาพ : http://e-learning.e-tech.ac.th/learninghtml/s1301/punit1-13/piu01.jpg ชดุ การเรียนรู้รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เรอื่ ง วัฒนธรรมไทย
เลม่ ท่ี 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกับวัฒนธรรม 24 พระราชกฤษฎีกาได้จัดวางระเบียบราชการกรมการวัฒนธรรม พ.ศ. 2435 ได้แบ่ง วฒั นธรรมออกเปน็ 4 ประเภท คือ คติธรรม เนติธรรม สหธรรม วัตถธุ รรม 1. วัฒนธรรมประเภทคติธรรม เป็นวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับจิตใจหรือคุณธรรมที่ใช้ใน การดาเนนิ ชีวิตในสังคม เช่น ความเมตตากรุณา ความซือ่ สัตย์สจุ ริต ความกตญั ญูกตเวที เปน็ ต้น 2. วัฒนธรรมประเภทเนติธรรม เป็นวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับประเพณี กฎหมาย สิทธิ และหน้าที่ที่สมาชกิ ในสงั คมจะต้องปฏิบัติตาม เช่น การปฏิบัตติ ามกฎจราจร การปฏิบัตติ ามพิธกี าร แตง่ งาน เปน็ ต้น 3. วัฒนธรรมประเภทสหธรรม เป็นวฒั นธรรมทีเ่ กี่ยวข้องกบั มารยาทในการอยู่ร่วมกันใน สังคม เช่น การยืนตรงเมื่อได้ยินเสียงเพลงชาติและเพลงสรรเสริญพระบารมี มารยาทในการทา ความเคารพกบั ผู้ใหญ่ เป็นต้น 4. วัฒนธรรมประเภทวัตถุธรรม เป็นวัตถุส่ิงของที่ได้มาจากการคิดและประดิษฐ์โดย มนษุ ยเ์ พือ่ ให้การดาเนนิ ชีวิตมีความสะดวกสบายขนึ้ เช่น ตู้เย็น รถยนต์ โทรทศั น์ เปน็ ต้น ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 เร่ือง วัฒนธรรมไทย
เล่มท่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเก่ยี วกับวฒั นธรรม 25 องคป์ ระกอบของวฒั นธรรม รองศาสตราจารย์สุพัตรา สุภาพ ที่ปรึกษาหัวหน้าภาคสังคมวิทยามานุษยวิทยา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ได้อธิบายว่า วฒั นธรรมประกอบดว้ ยลกั ษณะทีส่ าคญั 4 ประการ ดังนี้ องคม์ ติ องค์วัตถุ องค์ พิธีการ องค์การ 1. องค์มติ หมายถึง ความรู้ ความคิด ความเชื่อ และอุดมการณต์ ่าง ๆ ทีจ่ ะถ่ายทอดจากช่ัวอายุของ คนรุ่นหนึ่งไปยังชั่วอายุของคนอีกรุ่นหนึง่ เรือ่ ย ๆ ไป ถอื เป็นแนวทางในการสร้างพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม เช่น ความเชือ่ เกี่ยวกบั เรือ่ งศาสนา ความเชือ่ ในเรือ่ งระบอบการเมืองการปกครอง 2. องค์พิธีการ หมายถึง การจัดระเบียบประเพณี หรือแบบแผนของพฤติกรรมอย่างเป็นมาตรฐาน ให้เป็นที่ยอมรับของคนทั่วไป เช่น พิธีกรรมต่าง ๆ ตั้งแต่เกิด พิธีบวชนาค พิธีสมรส รวมทั้งวิธีการแต่งกาย การรบั ประทานอาหาร 3. องค์การ หมายถึง องค์การ สถาบนั สมาคม ทีไ่ ด้มกี ารจัดระเบียบ มีกฎเกณฑ์ขอ้ บงั คับ มีวิธกี าร ดาเนินงานอย่างมีระเบียบ มีวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้แน่นอนชัดเจน เพื่อผูกพันบุคคลที่เป็นสมาชิกในการ แสดงความรู้สึกที่มีต่อกันองค์การ หน่วยย่อยและเล็กที่สุดได้แก่ ครอบครัว และองค์การที่ใหญ่ที่สุด คือ สหประชาชาติ 4. องค์วัตถุ หมายถึง วัฒนธรรมทางด้านวัตถุท้ังหลาย ที่มีรูปร่างที่สามารถสัมผัสจับต้องได้ เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ ส่ิงก่อสร้าง โบสถ์ วิหาร เจดีย์ รวมท้ังส่ิงที่ไม่มีรูปร่าง เช่น ภาษาที่ใช้ในการติดต่อส่ือสาร ความหมายต่อกนั หลักวิชาการต่าง ๆ ชดุ การเรียนรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เรอ่ื ง วัฒนธรรมไทย
เลม่ ท่ี 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ยี วกบั วฒั นธรรม 26 ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความหมายและความสาคัญของวฒั นธรรม คาชีแ้ จง : ให้นักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนีใ้ ห้ถกู ต้อง วฒั นธรรม หมายถึง .................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ความสาคัญ ของวฒั นธรรม ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เรอ่ื ง วฒั นธรรมไทย
เล่มท่ี 1 ความรู้เบ้อื งต้นเก่ียวกบั วัฒนธรรม 27 ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ประเภทของวฒั นธรรม (1) คาชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านบทความต่อไปนี้ แล้ววิเคราะห์ว่า ส่ิงใดเป็นวัฒนธรรมทางวัตถุและส่ิงใด ไมใ่ ช่วัฒนธรรมทางวัตถุ การศึกษาและการอ่านทาให้เกิดความรู้ความคิด และความฉลาด บุคคลสามารถสร้าง ความเจริญม่นั คงได้ด้วยการอ่านหนังสือต่าง ๆ เช่น สารานุกรมไทยสาหรับประชาชน หนังสือ แบบเรยี น หนงั สือสารคดี วฒั นธรรมทางวัตถุ ไดแ้ ก่ .......................................................................................................... วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ ไดแ้ ก่ ...................................................................................................... การดาเนินชีวิตประจาวันของคนเราย่อมเก่ียวข้องกับกฎหมายอยู่ตลอดเวลา การศึกษา เร่อื งกฎหมายที่เกี่ยวขอ้ งกับชีวิตประจาวัน จะช่วยใหเ้ รามีความเข้าใจที่ถกู ตอ้ ง ซึง่ เราศึกษาได้ จากหนังสือแบบเรียน ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และ เอกสารคาประกาศกฎเกณฑ์และระเบียบตา่ ง ๆ วฒั นธรรมทางวตั ถุ ได้แก่ .......................................................................................................... วัฒนธรรมที่ไมใ่ ชว่ ตั ถุ ได้แก่ ...................................................................................................... ชดุ การเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เร่อื ง วฒั นธรรมไทย
เลม่ ท่ี 1 ความรเู้ บื้องต้นเกย่ี วกบั วัฒนธรรม 28 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จดั การทอ่ งเทีย่ ว 4 ภาค ที่เนน้ วิถีชวี ิตไทย และการละเล่น ของแต่ละภูมิภาค เช่น การแสดงโปงลาง การร้องเพลง การแสดงตลก นอกจากน้ันยังมีการ สาธิตและประเพณีลอยกระทง ประเพณีสงกรานต์ ในงานน้ีมีสินค้าต่าง ๆ เช่น อาหารประจา ภาค สินค้าหัตกรรม เช่น ผา้ ทอ ผา้ ไหม เครือ่ งจักสาน วฒั นธรรมทางวตั ถุ ได้แก่ .......................................................................................................... วฒั นธรรมที่ไมใ่ ช่วัตถุ ได้แก่ ...................................................................................................... การเลน่ ฟุตบอลและบาสเกตบอล เปน็ กีฬาที่ประชาชนให้ความนยิ มอยา่ งมาก เพราะกตกิ า การเลน่ ยุติธรรม อุปกรณ์การเลน่ กฬี า เช่น ลกู ฟตุ บอล ลกู บาสเกตบอล หาซื้อไดง้ ่าย วัฒนธรรมทางวตั ถุ ไดแ้ ก่ .......................................................................................................... วัฒนธรรมทีไ่ ม่ใชว่ ัตถุ ได้แก่ ...................................................................................................... ชดุ การเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เรื่อง วฒั นธรรมไทย
เลม่ ท่ี 1 ความรเู้ บือ้ งตน้ เกย่ี วกบั วฒั นธรรม 29 ใบงานที่ 1.3 เรือ่ ง ประเภทของวัฒนธรรม (2) คาชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านบทความเรื่อง “หมู่บ้านอุดมสุข” และนาตัวอย่างวัฒนธรรมท้ังหมดของ หมู่บ้านนีไ้ ปเตมิ ลงในช่องว่างที่กาหนดให้ หมบู่ า้ นอุดมสุข หมู่บ้านอดุ มสุขมีลูกบ้านประมาณ 250 คน มีวดั โพธิร่มเยน็ ซึง่ มพี ระพทุ ธรปู ประธานคือ พระมณีรัตนสุข เป็นศูนย์กลางความเชื่อและความศรัทธาของพระพุทธศาสนา เจ้าอาวาสคือ หลวงพ่อธรรมรกั ษา เป็นพระสงฆ์ทีม่ จี ริยวตั รงดงาม มีความเมตตากรุณา ท่านอบรมสัง่ สอนให้ ชาวบ้านยึดมั่นในหลักธรรมคส่ังสอนของพระพุทธเจ้า เช่น การมีความเมตตากรณุ า มีความรัก ใครสามัคคีและเสียสละ การประกอบอาชีพที่ซื่อสัตย์สุจริต การประพฤติตนสุภาพอ่อนโยน และการดารงชีวิตอย่างพอเพียง ประชาชนในหมู่บ้านจึงอยู่อ่างประหยัด มีส่ิงของเครื่องใช้ เฉพาะทีจ่ าเป็น เช่น จอบ เสยี ม จาน ชาม ตะกร้า เส้อื ผ้า พดั ลม รถจักรยานยนต์ ศูนย์กลางทางการศึกษาของหมู่บ้านนี้ คือ โรงเรียนอุดมสุขวิทยา ซึ่งอบรมส่ังสอน นักเรยี นให้มีความรู้และมีระเบียบวินัย ปฏิบตั ติ นตามกฎเกณฑ์ และระเบียบปฏิบัติของโรงเรียน นอกจากน้ันยังฝึกให้นักเรียนมีกิริยามารยาทในการรับประทานอาหาร มารยาทในการแสดง ความเคารพ และมารยาทการเข้าสังคม สาหรับความสงบเรียบร้อยของหมู่บ้าน มีผู้ใหญ่สุขดูแลให้ประชาชนเคารพกฎหมาย กฎเกณฑ์ และกติกาของสังคม ตลอดจนดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม นอกจากนี้ยังเป็นผู้นาชุมชนใน การรักษาวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมที่ดี เช่น ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง ประเพณกี ารบรรพชา อปุ สมบท ดงั นั้นชีวิตและความเปน็ อยขู่ องคนในหมู่บ้านจึงสงบสขุ ชดุ การเรยี นรู้รายวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เรือ่ ง วฒั นธรรมไทย
เล่มที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเกย่ี วกบั วัฒนธรรม 30 ประเภทของ ตวั อย่างของวฒั นธรรม ข้อ วฒั นธรรม 1. คติธรรม ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. 2. เนตธิ รรม ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. 3. วตั ถุธรรม ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. 4. สหธรรม ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. ชดุ การเรียนรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เรอ่ื ง วัฒนธรรมไทย
เล่มที่ 1 ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับวัฒนธรรม 31 ใบงานที่ 1.4 เรอ่ื ง องค์ประกอบของวฒั นธรรม คาชีแ้ จง : ให้นกั เรยี นอธิบายความหมายของคาต่อไปนใี้ ห้ถูกต้อง องคม์ ติ หมายถึง .............................. องค์พธิ ีการ หมายถึง ....................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... องค์ประกอบ ของวัฒนธรรม องค์การ หมายถึง ............................ องค์วตั ถุ หมายถึง ............................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ชดุ การเรยี นรู้รายวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 เร่อื ง วัฒนธรรมไทย
เลม่ ที่ 1 ความรูเ้ บ้ืองต้นเกย่ี วกับวฒั นธรรม 32 แบบทดสอบหลังเรียน คาชี้แจง : 1. แบบทดสอบเป็นแบบปรนยั เลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก จานวน 10 ข้อ 2. ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 10 นาที ขอ้ ละ 1 คะแนน 3. ให้นกั เรยี นเลอื กคาตอบทีถ่ กู ทีส่ ุดเพียงคาตอบเดยี ว แล้วทาเครอ่ื งหมายกากบาท () ลงในกระดาษคาตอบให้ถกู ต้อง 1. มารยาทในการอยู่รวมกันในสงั คมเป็นวัฒนธรรมประเภทใด ก. คตธิ รรม ข. เนติธรรม ค. สหธรรม ง. วัตถุธรรม 2. ข้อใดกล่าวไมถ่ ูกตอ้ งเกี่ยวกับลักษณะของวัฒนธรรม ก. วฒั นธรรมไมส่ ามารถเปล่ยี นแปลงได้ ข. วัฒนธรรมเกิดจากการเรียนรู้ของมนษุ ย์ ค. วฒั นธรรมเปน็ แบบแผนในการดาเนนิ ชีวิต ง. วฒั นธรรมเปน็ ของส่วนรวม 3. ข้อใดถอื เป็นปัจจัยที่สาคญั น้อยทีส่ ุดที่ทาให้มนษุ ยจ์ าเปน็ ต้องสร้างสรรค์วฒั นธรรม ก. เพราะมนษุ ย์เปน็ สตั ว์สงั คมที่ชอบรวมตวั กนั เป็นกลมุ่ ข. เปน็ เครื่องมือในการดารงชีวิตร่วมกนั ในสังคม ค. เพือ่ ให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย ง. เพื่อเปน็ แบบแผนการดาเนนิ ชีวิตในสงั คม \\ ชดุ การเรียนรู้รายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 เร่ือง วัฒนธรรมไทย
เลม่ ที่ 1 ความร้เู บอื้ งต้นเก่ียวกบั วฒั นธรรม 33 4. ข้อใดไมเ่ กย่ี วข้องกับองค์ประกอบสาคัญของวฒั นธรรม ก. องค์มติ ข. องค์การ ค. องค์กร ง. องค์พิธกี าร 5. วฒั นธรรมไมไ่ ดค้ รอบคลมุ ถงึ เรื่องใดต่อไปนี้ ก. อาหาร ข. เคร่อื งนุ่งห่ม ค. สง่ิ ที่เกิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ ง. ภาษาพูด 6. “ความรู้ ความคิด ความเชื่อ อดุ มการณ์ ทถี่ ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปสคู่ นอีกรุ่นหนึ่ง” ข้อความ ดงั กล่าวสอดคลอ้ งกับองค์ประกอบของวฒั นธรรมข้อใด ก. องค์การ ข. องค์พิธกี าร ค. องค์วตั ถุ ง. องค์มติ 7. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของวฒั นธรรมได้ชัดเจนที่สดุ ก. สง่ิ ที่เป็นความเจริญของแตล่ ะท้องถิ่น ข. ประเพณขี องชาตติ ่าง ๆ ทีม่ ีการพฒั นามาจนถึงปัจจบุ นั ค. เอกลักษณ์ของชนชาตติ ่าง ๆ ที่มีความเจรญิ ก้าวหน้า ง. ทุกสง่ิ ที่มนษุ ยส์ ร้างข้ึนเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั และถ่ายทอดจากบรรพบุรษุ มายัง คนรุ่นหลงั ชดุ การเรียนรู้รายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 เรือ่ ง วฒั นธรรมไทย
เลม่ ที่ 1 ความรู้เบอื้ งตน้ เกย่ี วกบั วัฒนธรรม 34 8. พฤติกรรมในข้อใดหมายถึงวฒั นธรรมประเภทคติธรรม ก. อันเข้าแถวเพื่อซือ้ อาหาร ข. แอมไปใช้สิทธิลงประชามติร่างรัฐธรรมนญู ค. อ้นไมส่ ูบบุหรี่ในโรงภาพยนตร์ ง. อุ๋มเสียสละทีน่ ั่งบนรถโดยสาธารณะให้คนแก่และคนพิการเสมอ 9. ความสาคญั ที่สุดของวัฒนธรรมคือข้อใด ก. ช่วยให้มนษุ ยป์ รบั ตวั กบั สง่ิ แวดล้อม ข. เป็นเครื่องมือจดั ระเบียบสงั คมมนษุ ย์ ค. ช่วยให้สงั คมอยู่อยา่ งปกติสุข ง. ช่วยให้เป็นมรดกของสงั คม 10. “วัฒนธรรมเกิดจากการที่คนมาอยู่รวมกันและสร้างรูปแบบในการดาเนนิ ชีวิตร่วมกนั ” ข้อความดงั กลา่ วสอดคลอ้ งกับลกั ษณะสาคญั ของวฒั นธรรมในข้อใด ก. วฒั นธรรมเป็นของส่วนรวม ข. วฒั นธรรมเกิดจากการเรียนรู้ของมนษุ ย์ ค. วฒั นธรรมเป็นสิ่งที่เปลย่ี นแปลงได้ ง. วฒั นธรรมเป็นแบบแผนในการดาเนนิ ชีวิต ชดุ การเรียนรู้รายวิชาสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เร่อื ง วัฒนธรรมไทย
เลม่ ท่ี 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวัฒนธรรม 35 กระดาษคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียน ชื่อ - สกุล ............................................................. ชนั้ ........... เลขที่ ........ ข้อ ก. ตัวเลือก เกณฑ์การประเมิน 1. ข. ค. 2. ง. ตอบถูก ข้อละ 1 คะแนน 3. 4. ตอบผิด/ไมต่ อบ ข้อละ 0 คะแนน 5. 6. หรือตอบมากกว่า 1 ขอ้ 7. 8. แปลผลคะแนน 9. 10. 8 - 10 คะแนน ดี 5 - 7 คะแนน พอใช้ 0 - 4 คะแนน ปรับปรงุ สรปุ ผล 8 - 10 คะแนน 0 - 7 คะแนน สรปุ ผลการประเมิน รวม ........... คะแนน ผ่าน ไมผ่ ่าน ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรือ่ ง วฒั นธรรมไทย
เลม่ ที่ 1 ความรู้เบือ้ งตน้ เกยี่ วกบั วฒั นธรรม 36 บรรณานุกรม กมล ทองธรรมชาต.ิ (2558). หนงั สือเรยี น รายวิชาพ้นื ฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการ ดาเนนิ ชวี ิตในสงั คม ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4-6. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทศั น์. ณัทธนทั เล่ยี วไพโรจน์. (2560). หนงั สือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าทีพ่ ลเมือง วฒั นธรรม และ การดาเนนิ ชวี ิตในสงั คม ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพฯ : พฒั นาวิชาการ. ธวชั ทันโตภาส และคณะ. (2558). หนังสือเรยี น รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วฒั นธรรม และ การดาเนนิ ชวี ิตในสงั คม ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4-6. กรงุ เทพฯ : วฒั นาพานชิ . นงลกั ษณ์ ทองอยู่. (2558). หนงั สือเรยี น รายวิชาพืน้ ฐาน หนา้ ทีพ่ ลเมือง วฒั นธรรม และการ ดาเนนิ ชวี ิตในสังคม ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพฯ : แมค็ . ยุรารัตน์ พนั ธุ์ยรุ า และคณะ. (2558). หนงั สือเรยี น รายวิชาพืน้ ฐาน หนา้ ที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชวี ิตในสงั คม ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรงุ เทพฯ : เอมพนั ธ์. วิชาการและมาตรฐานการศึกษา,สานกั . (2551). ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนร้แู กนกลาง กลุ่มสาระ การเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรฐั ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ภาควิชา. (2547). สงั คมและ วัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . สชุ าดา วราหพันธ์. (2559). หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ หนา้ ที่พลเมือง วฒั นธรรม และการ ดาเนนิ ชวี ิตในสงั คม 4-6. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์เอมพันธ์. สพุ ัตร สภุ าพ. (2542). สงั คมและวัฒนธรรมไทย. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ . อคิน รพีพัฒน์. (2551). วัฒนธรรมคือความหมาย. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสริ ินธร. ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง วฒั นธรรมไทย
เล่มที่ 1 ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับวัฒนธรรม 37 ภาคผนวก ชดุ การเรียนรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เรอื่ ง วฒั นธรรมไทย
เลม่ ที่ 1 ความรู้เบ้อื งตน้ เกีย่ วกับวฒั นธรรม 38 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน ข้อ ตวั เลือก ง. ก. ข. ค. 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. ชดุ การเรียนรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 เรอ่ื ง วัฒนธรรมไทย
เล่มที่ 1 ความรู้เบ้อื งตน้ เก่ียวกับวัฒนธรรม 39 ใบงานที่ 1.1 เรือ่ ง ความหมายและความสาคญั ของวัฒนธรรม คาชีแ้ จง : ให้นกั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนีใ้ ห้ถูกต้อง วฒั นธรรม หมายถึง สง่ิ ทีม่ นษุ ยส์ ร้างข้ึนเพือ่ ความเจริญก้าวหน้าจนเป็นเอกลกั ษณ์ของสังคมนั้น ๆ และถ่ายทอดไปสคู่ นรุ่นหลัง (พิจารณาจากคาตอบของนกั เรยี น โดยให้อยู่ในดุลยพินินของครผู ู้สอน) วัฒนธรรมเป็นเครือ่ งสร้างระเบียบ วัฒนธรรมทาให้เกิดความเปน็ แก่สังคม เอกภาพ วฒั นธรรมเปน็ ตัวกาหนดรูปแบบ ความสาคัญ วฒั นธรรมช่วยแก้ปญั หาและสนอง ของสถาบนั ของวัฒนธรรม ความตอ้ งการของมนษุ ย์ วฒั นธรรมช่วยให้ประเทศชาติ วัฒนธรรมเปน็ เครื่องแสดง เจริญก้าวหน้า เอกลกั ษณ์ของชาติ ชดุ การเรยี นรู้รายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เร่อื ง วฒั นธรรมไทย
เล่มท่ี 1 ความรเู้ บื้องตน้ เกี่ยวกบั วัฒนธรรม 40 ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ประเภทของวัฒนธรรม (1) คาชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านบทความต่อไปนี้ แล้ววิเคราะห์ว่า ส่ิงใดเป็นวัฒนธรรมทางวัตถุและส่ิงใด ไมใ่ ช่วัฒนธรรมทางวตั ถุ การศึกษาและการอ่านทาให้เกิดความรู้ความคิด และความฉลาด บุคคลสามารถสร้าง ความเจริญมน่ั คงได้ดว้ ยการอ่านหนังสือต่าง ๆ เช่น สารานุกรมไทยสาหรับประชาชน หนังสือ แบบเรยี น หนงั สือสารคดี วัฒนธรรมทางวัตถุ ได้แก่ สารานุกรมไทยสาหรับประชาชน หนังสือแบบเรียน หนังสือสาร คดี วฒั นธรรมทีไ่ ม่ใช่วตั ถุ ไดแ้ ก่ การอ่านหนังสือ ความรู้ การเรียนรู้ การศึกษาเลา่ เรียน การดาเนินชีวิตประจาวันของคนเราย่อมเก่ียวข้องกับกฎหมายอยู่ตลอดเวลา การศึกษา เรอ่ื งกฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับชีวิตประจาวนั จะชว่ ยให้เรามีความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ ง ซึ่งเราศึกษาได้ จากหนังสือแบบเรียน ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และ เอกสารคาประกาศกฎเกณฑ์และระเบียบต่าง ๆ วัฒนธรรมทางวัตถุ ได้แก่ หนังสือแบบเรียน ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ เอกสารคาประกาศกฎเกณฑ์และระเบียบตา่ ง ๆ วัฒนธรรมทีไ่ มใ่ ชว่ ัตถุ ได้แก่ วิธีการดาเนินชีวิตของมนุษย์ กฎหมาย ระเบียบ กฎเกณฑ์ ชดุ การเรียนรู้รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เรื่อง วัฒนธรรมไทย
เลม่ ที่ 1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเก่ียวกับวฒั นธรรม 41 การท่องเที่ยวแหง่ ประเทศไทย จัดการทอ่ งเที่ยว 4 ภาค ที่เนน้ วิถีชวี ิตไทย และการละเล่น ของแต่ละภูมิภาค เช่น การแสดงโปงลาง การร้องเพลง การแสดงตลก นอกจากน้ันยังมีการ สาธิตและประเพณีลอยกระทง ประเพณีสงกรานต์ ในงานน้ีมีสินค้าต่าง ๆ เช่น อาหารประจา ภาค สินค้าหัตกรรม เชน่ ผา้ ทอ ผ้าไหม เครือ่ งจักสาน วฒั นธรรมทางวัตถุ ได้แก่ สนิ ค้าหตั ถกรรม ผ้าไหม ผ้าทอ เคร่อื งจกั สาน อาหารของแตล่ ะ ภาค วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ ได้แก่ การท่องเที่ยว วิถีชีวิตไทย ประเพณีต่าง ๆ การละเล่นของแต่ ละภมู ภิ าค การเล่นฟตุ บอลและบาสเกตบอล เปน็ กีฬาที่ประชาชนให้ความนยิ มอย่างมาก เพราะกตกิ า การเล่นยตุ ิธรรม อุปกรณ์การเล่นกฬี า เชน่ ลูกฟุตบอล ลูกบาสเกตบอล หาซื้อได้งา่ ย วฒั นธรรมทางวัตถุ ไดแ้ ก่ อปุ กรณ์การเลน่ กีฬา ลกู ฟุตบอล ลูกบาสเกตบอล วฒั นธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ ได้แก่ การเลน่ ฟตุ บอล การเลน่ บาสเกตบอล กีฬา กติกาการเลน่ กีฬา ชดุ การเรียนรู้รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เรอื่ ง วัฒนธรรมไทย
เล่มที่ 1 ความรเู้ บ้อื งตน้ เกีย่ วกับวัฒนธรรม 42 ใบงานที่ 1.3 เรื่อง ประเภทของวฒั นธรรม (2) คาชีแ้ จง : ให้นกั เรยี นอ่านบทความเรือ่ ง “หมบู่ ้านอุดมสขุ ” และนาตัวอย่างวัฒนธรรมท้ังหมดของ หมู่บ้านนไี้ ปเตมิ ลงในช่องว่างทีก่ าหนดให้ หม่บู า้ นอุดมสุข หมู่บ้านอุดมสุขมีลูกบ้านประมาณ 250 คน มีวัดโพธิร่มเย็นซึ่งมีพระพุทธรูป ประธานคือ พระมณีรัตนสุข เป็นศูนย์กลางความเชื่อและความศรัทธา ของ พระพุทธศาสนา เจ้าอาวาสคือ หลวงพ่อธรรมรักษา เป็นพระสงฆ์ที่มีจริยวัตรงดงาม มี ความเมตตากรุณา ท่านอบรมสั่งสอนให้ชาวบ้านยึดม่ันในหลักธรรมคส่ังสอนของ พระพุทธเจ้า เช่น การมีความเมตตากรุณา มีความรักใครสามัคคีและเสียสละ การ ประกอบอาชีพที่ซื่อสัตย์สุจริต การประพฤติตนสุภาพอ่อนโยน และการดารงชีวิตอย่าง พอเพียง ประชาชนในหมู่บ้านจึงอยู่อ่างประหยัด มีส่ิงของเครื่องใช้เฉพาะที่จาเป็น เช่น จอบ เสยี ม จาน ชาม ตะกร้า เส้อื ผ้า พัดลม รถจกั รยานยนต์ ศูนย์กลางทางการศึกษาของหมู่บ้านนี้ คือ โรงเรียนอุดมสุขวิทยา ซึ่งอบรมส่ัง สอนนักเรียนให้มีความรู้และมีระเบียบวินัย ปฏิบัติตนตามกฎเกณฑ์ และระเบียบปฏิบัติ ของโรงเรียน นอกจากนั้นยังฝึกให้นักเรียนมีกิริยามารยาทในการรับประทานอาหาร มารยาทในการแสดงความเคารพ และมารยาทการเข้าสังคม สาหรับความสงบเรียบร้อยของหมู่บ้าน มีผู้ใหญ่สุขดูแลให้ประชาชนเคารพ กฎหมาย กฎเกณฑ์ และกติกาของสังคม ตลอดจนดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม นอกจากนี้ยัง เป็นผู้นาชุมชนในการรักษาวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมที่ดี เช่น ประเพณีสงกรานต์ ประเพณลี อยกระทง ประเพณกี ารบรรพชา อปุ สมบท ดงั น้ันชีวิตและความเป็นอยขู่ องคน ในหมู่บ้านจึงสงบสุข ชดุ การเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 31101) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เรอื่ ง วฒั นธรรมไทย
เลม่ ท่ี 1 ความรูเ้ บอ้ื งตน้ เกีย่ วกบั วัฒนธรรม 43 ประเภทของ ตวั อย่างของวฒั นธรรม ข้อ วัฒนธรรม 1. คติธรรม หลักธรรม ความเชื่อ ความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ความเมตตากรุณา ความรักใคร่สามัคคีและเสียสละ ความซื่อสัตย์สุจริต การดารงชีวิตอย่างพอเพียง 2. เนตธิ รรม ระเบียบวินยั กฎเกณฑ์ ระเบียบปฏิบัติของโรงเรียน กฎหมาย กตกิ าของสังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี ประเพณลี อยกระทง ประเพณกี ารบรรพชาอปุ สมบท ประเพณสี งกรานต์ 3. วตั ถธุ รรม พระพุทธรปู วดั อาคารเรียน จอบ เสยี ม จาน ชาม ตะกร้า เส้อื ผ้า พัดลม รถจักรยานยนต์ 4. สหธรรม มารยาทสุภาพอ่อนโยน มารยาทในการรับประทานอาหาร มารยาทในการแสดงความเคารพ มารยาทในการเข้าสังคม ชดุ การเรียนรู้รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ส 31101) ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 เรือ่ ง วฒั นธรรมไทย
Search