วนั มาฆบูชา
ประวตั ิวนั มาฆบูชา ประวัติวันมาฆบูชาเริมต้นขนึ ภายหลงั ทีพระพุทธเจ้าได้เสด็จเดินทางไปปฏิบัติพุทธกิจแสดงธรรม ณ ถาสุกรขาตาเสร็จสิ นแลว้ พระองค์ ได้เดินทางกลบั มาประทับทวี ดั เวฬุวนั เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ เมือหลงั จากทพี ระองคไ์ ดท้ รงตรัสรู้ไปเปนเวลา 9 เดือน ในวนั ทพี ระองคเ์ สด็จ กลบั มาประทับตรงกับวนั เพ็ญ เดอื นมาฆะ หรือเดอื น 3 ในเวลาบ่าย พระอรหันตสาวกไดเ้ ดินทางมามาเขา้ เฝาพร้อมกนั โดยมิได้นัดหมาย ณ สถานทปี ระทับของพระพุทธเจ้า อันประกอบไปด้วย คณะศิษย์ของชฎิล 3 พีน้อง จํานวน 1,000 รูป และคณะของพระอัครสาวก จํานวน 250 รูป รวมจํานวนได้ 1,250 รูป โดยในจํานวนนีมิได้นับรวมชฎิล 3 พีน้องและอัครสาวกทงั 2 ซึงการเดินทางมาเข้าเฝาพระพุทธเจ้าในวนั มาฆฤกษ์นีนับ เปนการเข้าประชมุ ของพระอรหันต์ผูเ้ ปนมหาสั งฆนิบาติ และประกอบดว้ ย องค์ประกอบอัศจรรยท์ งั 4 ประการทเี รียกวา่ จาตรุ งคสั นนิบาต อัน ประกอบไปดว้ ย 1.พระสงฆ์สาวกมาประชุมพร้อมกนั โดยมิไดน้ ัดหมายเปนจํานวน 1,250 รูป ณ วัดเวฬุวนั เมืองราชคฤห์ แควน้ มคธ 2.พระสงฆ์ทเี ดินทางมาประชมุ ทงั หมดตา่ งลว้ นแตเ่ ปน เอหิภิกขุอุปสั มปทา หรือการเปนพระสงฆ์โดยได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้า โดยตรง 3.พระสงฆ์ทงั หมดทมี าประชมุ ลว้ นแลว้ แตเ่ ปนพระอรหันตผ์ ู้ทรงอภิญญา 6 4.วนั ทพี ระสงฆ์มาประชุมตรงกบั วันเพ็ญมาฆปุรณมีดิถี ขึน 15 คา เดือน 3 เปนวนั ทพี ระจันทร์เตม็ ดวงกําลงั เสวยมาฆฤกษ โดยอาจเรียก วันนีเปนอีกคาํ หนึงได้ว่า วันจาตุรงคสั นนิบาต หรือวนั ทมี ีการประชุมพร้อมดว้ ยองค์ 4
มูลเหตวุ ันมาฆะบูชา ภายหลังจากทีองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไดท้ รงตรัสรู้เมอื วันขึน 5 คา เดือน 6 และไดท้ รงประกาศพระศาสนา อีกทังได้มกี ารส่งพระอรหันต สาวกออกไปจากริกเพือเผยแพร่พระทุทธศาสนายังสถานทีต่างๆ ลว่ งมากน็ ับเปนเวลาได้ 9 เดือน แต่เดมิ พระสงฆ์เหลา่ นีเคยนับถอื ศาสนา พราหมณ์อย่กู ่อนทีหันมานับถือพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า และระลึกได้ว่าในวันทีพระจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ (วันขึน 15 คา เดอื น 3) เปนสําคัญของศาสนาพราหมณ์ ซึงเหลา่ ผู้ศรัทธา พราหมณลทั ธนิ ิยมถอื กันว่าวันนีเปนวนั ศิวาราตรี โดยจะทําการบูชาพระศิวะดว้ ยการ ลอยบาป หรือล้างบาปดว้ ยนา แต่บัดนีตนไดเ้ ลิกนับถอื ในลัทธิเดมิ หันมานับถือพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้าแลว้ เห็นว่าควรเปลยี นเปน เดินทางไปเข้าเฝาเพือฟงพระสัทธรรมจากพระพุทธเจ้า จึงทําให้พระอรหันต์เหล่านีทีเคยปฏบิ ัติศิวาราตรีอย่เู ดิม พร้อมใจกันไปเข้าเฝา พระพุทธเจ้าโดยมไิ ดน้ ัดหมาย
โอวาทปาฏิโมกข์ เมอื พระพุทธเจ้าได้ทรงทอดพระเนตรเห็นมหาสังฆนิบาต อันประกอบไปด้วยเหตุอัศจรรย์ทัง 4 หรือทีเรียกกนั ว่า จาตุรงคสั นนิบาต พระองค์จึงทรงเห็นเปนโอกาสอันสมควรทีจะ แสดง โอวาทปาฏิโมกข์ อันเปนหลักคําสอนสําคัญซึงเปนหัวใจหลักของพระพุทธศาสนาแกท่ ีประชุมของพระสงฆ์เหล่านี เพือเปนการวางจดุ หมา ย หลกั กา ร รวมถึงวิธีการเข้าถึง พระพุทธศาสนาแก่พระอรหันตสาวกและพุทธบริษัททังหลาย พระพุทธองค์จึงทรงแสดงโอวาทปาฏโิ มกข์เปนพระพุทธพจน์ 3 คาถากึง ท่ามกลางมหาสังฆสันนิบาต มใี จความดงั นี สพฺพปาปสฺส อกรณํกสุ ลสฺสูปสมฺปทา สจิตฺตปริโยทปนํเอตํ พุทธาน สาสนํฯ ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกขฺ า นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา น หิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี สมโณ โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโตฯ อนูปวาโท อนูปฆาโต ปาติโมกเฺ ข จ สํวโร มตฺต ฺ ุตา จ ภตฺตสฺมึ ปนฺต ฺจ สยนาสนํ อธิจิตฺเต จ อาโยโค เอตํ พุทฺธาน สาสนํฯ แปล : การไม่ทําความชัวทังปวง ๑ การบําเพ็ญแต่ความดี ๑ การทําจิตของตนให้ผ่องใส ๑ นีเปนคําสอนของพระพุทธเจ้าทังหลาย ขนั ติ คือความอดกลัน เปนตบะอย่าง ยิง, พระพุทธเจ้าทังหลายกล่าวว่านิพพาน เปนบรมธรรม, ผู้ทําร้ายคนอืน ไมช่ ือว่าเปนบรรพชิต,ผู้เบียดเบียนคนอืน ไม่ชือว่าเปนสมณะการไม่กลา่ วร้าย ๑ การไมท่ ําร้าย ๑ ความ สํารวมในปาฏโิ มกข์ ๑ ความเปนผู้รู้จักประมาณในอาหาร ๑ ทีนังนอนอันสงัด ๑ ความเพียรในอธิจิต ๑ นีเปนคําสอนของพระพุทธเจ้าทังหลายทีเข้าใจกนั โดยทัวไป และจํากันได้มาก ก็คือ ความในคาถาแรกทีว่า ไมท่ ําชัว ทําแต่ความดี ทําจิตใจให้ผ่องใส
พระพุทธพจน์คาถาแรก พระพุทธองค์ทรงกลา่ วถงึ พระนิพพาน ว่าเปนจดุ ม่งุ หมาย หรืออุดมการณ์อันสูงสุดของบรรพชิตและพุทธบริษัท อันมลี กั ษณะทีแตกต่างจาก ศาสนาอืน ดงั พระบาลีทีว่า นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา หรือทีเรียกว่า อุดมการณ์ 4 อันประกอบไปด้วย ๑.ความอดทนอดกลนั เปนสิงทีนักบวชในศาสนานีพึงยึดถอื อีกทังเปนสิงทีต้องใช้ประสบกับสิงทีไม่ชอบใจทุกอย่างทีต้องเจอในชีวิต นักบวช อาทิ ประสงค์ร้อนไดเ้ ย็น ประสงค์เย็นไดร้ ้อน ๒.การมงุ่ ให้ถงึ พระนิพพานทีเปนเปาหมายหลักของผู้ออกบวช มใิ ช่สิงอืนนอกจากพระนิพพาน ๓.พระภิกษุและบรรพชิตในพระธรรมวินัยนี (ภกิ ษุณี สามเณร สามเณรี สิกขมานา) ไมถ่ ึงทําให้ผู้อืนลาํ บากด้วยการทําความทุกข์กาย หรือทุกข์ใจไม่ว่าจะในกรณีใดๆ ๔.พระภกิ ษุ ตลอดจนบรรพชิตในพระธรรมวินัยนี ต้องขอแกท่ ายกด้วยอาการทีไม่เบียดเบียน (ไมเ่ อ่ยปากเซ้าซีขอและไม่ใช้ปจจัยสี อย่างฟุมเฟยจนเดอื ดร้อนทายก) โดยพระพุทธพจน์คาถาทีสองนีในโอวาทปาฏโิ มกข์ทีพุทธศาสนิกชนมักท่องจําไปปฏบิ ัติ ซึงเปนเพียงหนึงในคาถาสามคาถากงึ เท่านัน
พระพุทธพจน์คาถาทสี อง พระพุทธองค์ทรงกลา่ วถงึ วิธีการอันเปนหัวใจสําคัญเพือเข้าถงึ จดุ มุง่ หมายของพระพุทธศาสนาแกพ่ ุทธบริษัททังปวงทีเรียกว่า หลกั การ 3 อันประกอบไปดว้ ย ๑.การไม่ทําชัวทังปวง ๒.การบําเพ็ญแต่ความดี ๓.การทําจิตใจของตนให้ผ่องใสเปนอิสระจากกิเลสทังปวง
พระพุทธพจน์คาถาทสี าม พระพุทธองค์ทรงกลา่ วถงึ หลักการปฏบิ ัติของพระสงฆ์ผู้ทําหน้าทีเผยแพร่พระศาสนา 6 ประการทีเรียกว่า วิธีการทงั 6 อันประกอบไปดว้ ย ๑. ไม่ว่าร้าย ไดแ้ ก่ ไม่กลา่ วให้ร้ายหรือ กล่าวโจมตีใคร ๒. ไม่ทําร้าย ได้แก่ ไม่เบียดเบียนผู้อืน ๓. สํารวมในปาติโมกข์ ได้แก่ ความเคารพระเบียบวินัย กฎกติกา กฎหมาย รวมทังขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีของสังคม ๔. รู้จักประมาณ ไดแ้ ก่ รู้จักความพอดีในการบริโภคอาหารหรือการใช้สอยสิงต่าง ๆ ๕. อย่ใู นสถานทีทีสงัด ไดแ้ ก่ อย่ใู นสถานทีสงบมีสิงแวดลอ้ มทีเหมาะสม ๖. ฝกหัดจิตใจให้สงบ ได้แก่ฝกหัดชําระจิตให้สงบมีสุขภาพคุณภาพและประสิทธิ ภาพทีดี
ความสํ าคญั ของวนั มาฆบูชา หากจะพูดโดยสรุปรวมแลว้ ความสําคัญของวนั มาฆบูชา เปนวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาวันหนึงของโลก ตรงกับวนั ขนึ 15 คา เดอื น 3 ซึงในวันนีเมอื ครังอดีตมีเหตุการณ์น่าอัศจรรย์เกดิ ขึน โดยพระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้าจํานวน 1,250 รูป มาเฝาพระพุทธเจ้า ณ วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ โดยมไิ ดน้ ัดหมาย อีกทังพระสงฆ์เหล่านันยังเปน เอหิภิกขุอุปสั มปทา หรือเปนพระสงฆ์ทีไดร้ ับการ อุปสมบทโดยตรงจากพระพุทธเจ้า และเปนพระอรหันต์อีกด้วย วันขึน ๑๕ คา เดือน ๓ หรือวันมาฆบชู านี พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดง โอวาทปาติโมกข์ ในทีประชุมสงฆ์ ทีเปนบอกกล่าวถงึ หลักการ อุดมการณ์ และวิธกี ารปฏบิ ัติในพระพุทธศาสนา สามารถนําข้อกําหนดต่างๆ เหล่านีไปใช้ได้ในทุกสังคม มีเนือหาทีกล่าวถงึ การละความชัวทุก ชนิด หมนั ทําความดีให้เปนกิจวัตร ให้ตนถงึ พร้อมและมีจิตใจทีผ่องใส
กิจกรรมทีพึงปฏิบัติในวันมาฆบูชา ในวันมาฆบชู า พุทธศาสนิกชนชาวไทยนิยมทําบุญตักบาตรในตอนเช้า อีกทังตลอดทังวันกย็ ังมีการบําเพ็ญกศุ ลความดอี ืนๆ เพิมอีก ดว้ ย ไม่ว่าจะเปน การเดนิ ทางไปวัดเพือรับศีล งดเว้นการทําบาปทังปวง การถวายสังฆทาน การให้อิสระทาน (ปลอ่ ยนกปลอ่ ยปลา) การฟงพระธรรมเทศนา รวมถึงการไปเวียนเทียนรอบโบส์ถในช่วงเย็น โดยปกติในวันมาฆบชู ากอ่ นทีจะเริมการเวียนเทียน วัดต่างๆ จะจัดให้มกี ารทําวัตรสวดมนต์ หรือทีการทําวัตรเย็ น แล้วตามดว้ ยการ เวียนเทียนอย่างเปนทางการในช่วงเวลาประมาณ 20.00 น. หรือ 2 ทุ่มตรง (มีพระสงฆ์นําเวียนเทียน) ซึงบทสวดทีพระสงฆ์นิยมสวดใน วันมาฆบูชากอ่ นเริมการเวียนเทียนนีจะนิยมสวดตามลาํ ดบั ดังนี (ทังบาลีและคําแปล)
บทบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พระผู้มพี ระภาคเจ้า เปนพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลสเพลงิ ทุกข์สินเชิง ตรัสรู้ชอบไดด้ ้วยพระองค์เอง พุทธัง ภะคะวันตัง อะภวิ าเทมิ ข้าพเจ้าอภวิ าทพระผู้มพี ระภาคเจ้า ผู้รู้ ผู้ตืน ผู้เบิกบาน (กราบ) สะวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม พระธรรม เปนธรรมทีพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว ธมั มงั นะมัสสามิ ข้าพเจ้าขอนมสั การพระธรรม (กราบ) สุปะฏปิ นโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ประพฤติปฏบิ ัติดแี ลว้ สังฆัง นะมามิ ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์(กราบ)
บทนมัสการนอบน้อมบูชาพระพุทธเจ้า นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธสั สะ (๓ จบ ) ขอนอบน้อมแด่พระผู้มพี ระภาคเจ้า พระองค์นัน ซึงเปนผู้ไกลจากกิเลส เปนผู้ตรัสรู้ดว้ ยพระองค์เอง โดยชอบ (กราบ)
บทสรรเสริญพระพุทธคณุ อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต โลกะวิทู อนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถาเทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ แปล พระผู้มพี ระภาคเจ้าพระองค์นัน เปนผู้แจกจ่ายธรรม เปนพระอรหันต์ ตรัสรู้ดโี ดยชอบด้วยพระองค์เอง ทรงถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ(ความรู้และความประพฤติ) เสด็จไปด(ี คือไปทีใดก็ยังประโยชน์ให้ทีนัน) ทรงรู้แจ้งโลก ทรงเปนสารถีฝกคนทีควรฝก หาผู้อืนเปรียบมไิ ด้ ทรงเปนศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทังหลาย ทรงเปนผู้ตืน ทรงเปนผู้แจกจ่ายธรรม
บทสรรเสริญพระพุทธคุณ สวดทํานองสรภัญญะ องค์ใดพระสั มพุทธ สุวิสุทธสั นดาน ตัดมลู กเลสมาร บ ม่ หิ ม่นมิหมองมวั หนึงในพระทัยท่าน ก็เบิกบานคือดอกบัว ราคี บ พันพัว สุวคนธกําจร องค์ใดประกอบดว้ ย พระกรุณาดังสาคร โปรดหมปู่ ระชากร มละโอฆกนั ดาร ชีทางบรรเทาทุกข์ และชีสุขเกษมศานต์ ชีทางพระนฤพาน อันพ้นโศกวิโยคภยั พร้อมเบญจพิธจัก- ษุ จรัสวิมลใส เห็นเหตุทีใกล้ไกล ก็เจนจบประจักษ์ จริง กําจัดนาใจหยาบ สั นดานบาปแห่งชายหญงิ สัตว์โลกไดพ้ ึงพิง มละบาปบําเพ็ญบญุ ข้าขอประนตน้อม ศิระเกลา้ บังคมคุณ สั มพุทธการุ ญ- ญ ภาพนันนิรันดร(กราบ)
บทสรรเสริญพระธรรมคณุ สะหวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม สันทิ ฐโิ ก อะกาลิโก เอหิปสสิโก โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญ ูหีติ แปล พระธรรม เปนสิงทีพระผู้มีพระภาคเจ้าไดต้ รัสไว้ดแี ลว้ เปนสิงทีผู้ศึกษาและปฏบิ ัติ พึงเห็นได้ดว้ ยตนเอง เปนสิงทีปฏบิ ัติได้ และให้ผลได้ไม่จํากัดกาล เปนสิงทีควรกล่าวกะผู้อืนว่า ท่านจงมาดูเถดิ เปนสิ งทีควรน้อมเข้ามาใส่ ตัว เปนสิงทีผู้รู้กร็ ู้ไดเ้ ฉพาะตน ดังนี…
บทสรรเสริญพระธรรมคณุ สวดทํานองสรภัญญะ ธรรมะคือคุณากร ส่ วนชอบสาธร ดุจดวงประทีปชัชวาล ส่ องสั ตว์สั นดาน แห่งองค์พระศาสดาจารย์ เปนแปดพึงยล สว่างกระจ่างใจตน อันลึกโอฬาร ธรรมใดนับโดยมรรคผล นามขนานขานไข และเก้ากับทังนฤพาน ให้ลว่ งลุปอง สมญาโลกอุดรพิสดาร นบธรรมจํานง พิสุทธิพิเศษสุกใส อีกธรรมต้นทางครรไล ปฏบิ ัติปริยัติเปนสอง คือทางดาํ เนินดุจคลอง ยังโลกอุดรโดยตรง ข้าขอโอนอ่อนอุตมงค์ ดว้ ยจิตและกายวาจา (กราบ)
บทสรรเสริญพระสั งฆคุณ สุปะฏปิ นโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ แปล อุชุปะฏปิ นโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏบิ ัติดแี ลว้ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏบิ ัติตรงแลว้ ญายะปะฏปิ นโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆ์สาวกของพระผู้มพี ระภาคเจ้า ปฏบิ ัติเพือรู้ธรรมเปนเครืองออกจากทุกข์แล้ว สงฆ์สาวกของพระผู้มพี ระภาคเจ้า ปฏบิ ัติสมควรแล้ว สามจี ิปะฏปิ นโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ได้แก่บคุ คลเหล่านี คือ คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุรุษได้ ๘ บุรุษ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยคุ านิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา นันแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มพี ระภาคเจ้า เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย เปนผู้ควรแกส่ ักการะทีเขานํามาบชู า ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลกี ะระณีโย เปนผู้ควรแกส่ ักการะทีเขาจัดไว้ต้อนรับ อนุตตะรัง ปุญญกั เขตตัง โลกัสสาติ เปนผู้ควรรับทักษิ ณาทาน เปนผู้ทีบุคคลทัวไปควรทําอัญชลี เปนเนือนาบุญของโลก ไมม่ เี นือนาบญุ อืนยิงกว่า ดงั นี.
บทสรรเสริญพระสั งฆคุณ สวดทํานองสรภัญญะ สงฆ์ใดสาวกศาสดา รับปฏบิ ัติมา แต่องค์สมเดจ็ ภควันต์ ลุทางทีอัน เห็นแจ้งจตุสั จเสร็จบรร- ปญญาผ่องใส ระงับและดับทุกข์ภยั บ่ มิลําพอง โดยเสดจ็ พระผู้ตรัสไตร ศาลแดโ่ ลกยั สะอาดและปราศมวั หมอง มีคุณอนนต์ เหินห่างทางข้าศึ กปอง พกทรงคุณา- ดว้ ยกายและวาจาใจ พระไตรรัตน์อัน เปนเนือนาบญุ อันไพ- อันตรายใดใด และเกิดพิบลู ย์พูนผล สมญาเอารสทศพล อเนกจะนับเหลือตรา ข้าฯ ขอนบหมพู่ ระศรา- นุคุณประดุจรําพัน ด้วยเดชบุญข้าอภิวันท์ อุดมดเิ รกนิรัติศัย จงช่วยขจัดโพยภัย จงดับและกลบั เสือมสูญฯ
บทสวดบูชาเนืองในวนั มาฆบูชา อัชชายัง มาฆะปุณณะมี สัมปตตา มาฆะนักขัตเตนะ ปุณณะจันโท ยุตโต ยัตถะ ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ จาตุรังคิเก สาวะกะสันนิปาเต โอวาทะปาฏโิ มกขัง อุททิสิ ตะทาหิ อัฑฒะเตระสานิ สัพเพสังเยวะ ขีณาสะวานัง สัพเพ เต เอหิภกิ ขุกา สัพเพป เต อะนามนั ติตาวะ ภะคะวะโต สันติกงั อาคะตา เวฬุ วะเน กะลันทะกะนิวาเป มาหะปุณณะมยิ ัง วัฑฒะมานะกัจฉายายะ ตัสมิญจะ สันนิปาเต ภะคะวาวิสุทธุโปสะถัง อะกาสิ อะยัง อัมหากงั ภะคะวะโต เอโกเยวะ สาวะกะ สันนิปาโต อะโหสิ จาตุรังคิโก อัพฒะเตระสานิ ภกิ ขุสะตานิ สัพเพสังเยวะ ขีณาสะวานัง มะยันทานิ อิมัง มาฆะปุณณะมี นักขัตตะสะมะยัง ตักกาละสะทิสัง สัมปตตา จิระปะรินิพพุตัมป ตัง ภะคะวันตัง อะนุสสะระมานา อิมสั มงิ ตัสสะ ภะคะวะโต สักขิภเู ต เจติเย อิเมหิ ทีปะธูปะปุปผาทิสักกาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง ตานิ จะ อัฑฒะเตระสานิ ภิกขุสะตานิ อะภิปูชะยามะ สาธุ โน ภนั เต ภะคะวา สะสาวะกะสังโฆ สุจิระปะรินิพพุโต คุเณหิ ธะระมาโน อิเม ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะฯ
คําแปล วันนีมาประจวบวันมาฆปุรณมี เพ็ญเดือน ๓ พระจันทร์เพ็ญประกอบดว้ ยฤกษ์มาฆะ ตรงกับวันทีพระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ ทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ขึน ในทีประชุมสาวกสงฆ์พร้อมด้วยองค์ ๔ ประการ ครังนัน พระภกิ ษุ ๑,๒๕๐ องค์ ลว้ นแต่เปนพระขีณาสพ อุปสมบทด้วยเอหิภกิ ขุอุปสัมปทา ไมม่ ีผู้ใดเรียกมาประชุมยังสํานักพระผู้มีพระภาค ณ เวฬุวนาราม เวลาตะวันบ่ายในวันมาฆปุรณม,ี แล สมเด็จพระผู้มพี ระภาคเจ้าได้ทรงทําวิสุทธอิ ุโบสถ ทรงแสดงโอวาทปาฏโิ มกข์ขึน ณ ทีประชุมแห่งนัน การประชุมสาวกสงฆ์ พร้อมดว้ ยองค์ ๔ ของพระผู้มพี ระภาคเจ้าแห่งเราทังหลายนี ได้มีครังเดยี วเท่านัน พระภกิ ษุ ๑,๒๕๐ องค์ล้วนแต่พระขีณาสพ บัดนีเราทังหลายมาประจวบ มาฆปุรณมีนักขัตต์สมยั นี ซึงคล้ายกับวันจาตุรงคสันนิบาตนันแล้ว มาระลกึ ถึงพระผู้มพี ระภาคเจ้าและภิกษุ ๑,๒๕๐ องค์นัน ด้วยสักการะ ทังหลายมีเทียนธูปแลดอกไม้เปนต้นเหลา่ นี ในเจดยี สถานนี ซึงเปนพยานของพระผู้มพี ระภาคเจ้านัน ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอเชิญพระผู้มี พระภาคพร้อมดว้ ยสาวกสงฆ์ แมป้ รินิพพานนานมาแลว้ ดว้ ยดี ยังเหลืออย่แู ต่พระคุณเจ้าทังหลาย จงทรงรับสักการะบรรณาการคนยาก เหล่านีของข้าพระพุทธเจ้าทังหลาย เพือประโยชน์ เพือความสุข แกข่ ้าพเจ้าทังหลายสินกาลนาน เทอญ.
ต่อจากนันจะมีการจดุ ธูปเทียนและถือดอกไม้ทีเปนเครืองสักการะบชู า แลว้ เดนิ เวียนรอบปูชนียสถานจํานวน 3 รอบ โดยขณะทีกาํ ลังเดินอย่นู ัน พึงตังจิตใจให้สงบ พร้อมสวดระลึกถงึ พระพุทธคุณด้วยการสวด อิติปโส รอบที 1 ระลึกถึงพระธรรมคุณด้วยการสวด สวากขาโต รอบที 2 และปดท้ายดว้ ยการระลกึ ถึงพระสังฆคุณด้วยการสวด สุปะฏิปนโน รอบที 3 ทําเช่นนีไปจนกว่าจะเวียนจบครบ 3 รอบ แล้วให้นําธูป เทียน ดอกไมไ้ ปบชู าตามปูชนียสถานจึงเปนอันเสร็จพิธี
จัดทําโดย นางสาวมนัสรา ลกั ษณะพริม เลขที 26 ปวส.1/13
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: