Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CANADA (1)

CANADA (1)

Published by manatsara.lak, 2018-12-26 00:40:04

Description: CANADA (1)

Search

Read the Text Version

CANADA

ประวตั ิประเทศแคนาดา แคนาดา (องั กฤษและฝรัง่ เศส: Canada) เปน ประเทศในทวีปอเมรกิ าเหนือ ตดิ กับสหรัฐอเมรกิ า เปน ประเทศท่ีมที ีต่ ้งั อยทู างเหนือมากท่ีสุดของโลกและมขี นาดใหญเ ปนอนั ดบั สองของโลก ปจ จบุ ันแคนาดาใชร ะบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมพี ระมหากษตั ริยเ ปนประมขุโดยถอื สมเดจ็ พระราชินนี าถเอลซิ าเบธที่ 2 แหงสหราชอาณาจกั รเปนพระมหากษัตรยิ  (หมายเหตุ: พระองคเดยี วกับพระมหากษัตริยสหราชอาณาจกั ร แตโดยรัฐธรรมนญู แลวถือวาเปนคนละตาํ แหนง ) ดนิ แดนที่เปน ประเทศแคนาดาในปจจบุ ันในอดตี มผี ูอยอู าศัยอยูแลว เปนชนพนื้ เมอื งหลากหลายกลุม เมือ่ ตอนตนคริสตศตวรรษท่ี 15 นกัสํารวจเดนิ ทางชาวอังกฤษและฝรง่ั เศสไดเขา มาสาํ รวจ และตอ มาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝง มหาสมทุ รแอตแลนตกิ ในป ค.ศ.1763ฝรง่ั เศสไดยอมสูญเสยี อาณานิคมเกือบทง้ั หมดในทวปี อเมรกิ าเหนอื หลังจากสงครามเจด็ ป ในป ค.ศ.1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมขององั กฤษ 3 แหงขน้ึ และประเทศแคนาดากถ็ ือกาํ เนดิ ขน้ึ ในรูปแบบของเขตปกครองสหพนั ธรฐั ประกอบดวย 4 รัฐ และน่กี ลายเปนจดุ เรม่ิ ตน ของการเพิ่มจาํ นวนขึน้ ของรฐั และดนิ แดนตางๆ และกระบวนการไดร ับอาํ นาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบญั ญัตแิ หงเวสตมินสเตอรในป ค.ศ.1931 ไดเพ่ิมอํานาจปกครองตนเองและเปน ผลใหเ กดิ พระราชบัญญัตแิ คนาดาในป ค.ศ.1982 ซ่งึ มีผลใหแ คนาดาตัดขาดจากการขนึ้ ตรงตอ อํานาจของรัฐสภาองั กฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบดวยรัฐ 10 รฐั และดนิ แดน 3 แหง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชนิ นี าถเอลซิ าเบธที่ 2เปนพระประมุขสูงสดุ แคนาดาเปนประเทศท่ีใชภาษาทางการ 2 ภาษาท้ังในระดับประเทศและในรฐั นิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษาน้นั คอื ภาษาอังกฤษและภาษาฝรงั่ เศส และมคี วามหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเปน ประเทศท่ีมีความกา วหนาทางเทคโนโลยแี ละเปน ประเทศอตุ สาหกรรม มีเศรษฐกจิ ทห่ี ลากหลาย ซงึ่ พง่ึ พาทรพั ยากรธรรมชาตอิ ันอุดมสมบูรณ และพ่งึ พาการคา ขาย โดยเฉพาะกับสหรฐั อเมรกิ าซึ่งเปนประเทศทแ่ี คนาดามีความสมั พนั ธอันยาวนานและสลบั ซับซอ น

ธงชาตแิ คนาดา ธงชาติแคนาดา (องั กฤษ: The Maple Leaf, ธงใบเมเปล ; ฝร่งั เศส: l'Unifolié, ธงรูปใบไมใบเดียว) เปน ธงรปู สเ่ี หล่ยี มผนื ผา กวาง 1สวน ยาว 2 สวน ภายในแบงริ้วธงออกเปน 3 สวนตามแนวต้งั โดยมสี ัดสว นความกวา งแตละแถบเปน 1:2:1 แถบนอกสีแดง แถบในสขี าวกลางมีรปู ใบเมเปลปลาย 11 แฉกสีแดงใบใหญ ธงนีไ้ ดป ระกาศใชเปนธงชาตอิ ยา งเปน ทางการเมื่อป พ.ศ. 2508 เพ่อื ใชแทนทธ่ี งยูเนยี นแจก็ ซ่งึ เคยใชเปนธงชาตแิ คนาดาโดยนติ ินยั

การแตงกาย ชนพื้นเมอื งในทวปี อเมริกา หรอื อนิ เดียนแดง หรือ ชนพนื้ เมอื งชาวอเมริกนั(องั กฤษ: Indigenous people of the Americas หรือRed Indian หรอื NativeAmerican) เปน กลมุ คนท่ีอาศัยในทวีปอเมริกามานานกอน ที่ชาวยโุ รปจะเขามาอพยพยา ยถิน่ ฐานมาตง้ั รกราก ในอดีตไดมีสงครามเกดิ ข้ึนมากมายในประเทศสหรัฐอเมรกิ า ในการแยง ชงิ ดินแดน การตอสู รวมถงึ การคา ท่เี กิดข้นึ ระหวา งชาวยุโรป (ชาวอเมริกันปจจบุ ัน) กับชาวอนิ เดียนแดง ในปจ จบุ นั ชาวอินเดยี นแดงบางกลุม อาศัยรวมอยูกบั ชาวอเมริกนั ทั่วไป และบางกลุมไดถ ูกจํากัดพน้ื ทีใ่ หอาศัยอยูในเขตสงวนอินเดียนแดงคาํ วา อนิ เดียนแดงนั้น ในภาษาองั กฤษใชค าํ วา Indian หรือ Native Americanโดยในอดตี ไดใ ชคาํ วา Red Indian แตไ ดเลกิ ใชแลว โดยถอื วา เปนคาํ ไมสภุ าพในการกลาวถึง แบง ออกเปน 3 เผาใหญ ไดแ ก เผา มายา เผาแอซแทและเผาอนิคา

การแบง เขตการปกครอง แคนาดาเปนสหพนั ธรัฐที่ประกอบดว ย 10 รฐั (provinces) และ 3 ดนิ แดน (territories) ความแตกตา งท่ีสาํ คญั ระหวางรัฐกบั ดนิ แดนคอืรัฐของแคนาดาไดร บั มอบอาํ นาจจากบทบัญญตั ิในกฎหมายรฐั ธรรมนูญโดยตรง ขณะที่ดนิ แดนของแคนาดาจดั ตัง้ ข้ึนโดยกฎหมายของสหพนั ธรัฐ ดงั นน้ั รัฐบาลสหพันธจงึ มอี ํานาจโดยตรงในการควบคุมดูแลดินแดน สวนรฐั บาลของรฐั นั้นจะมีอาํ นาจและสทิ ธิในการปกครองตนเองมากกวา รฐั และดนิ แดนของแคนาดามรี ายชอื่ ดงั ตอไปนี้ 1.แอลเบอรตา 2.บรติ ิชโคลมั เบีย 3.แมนโิ ทบา 4.นวิ บรนั สวิก 5.นวิ ฟนดแ ลนดแ ละแลบราดอร 6.โนวาสโกเชยี 7.ออนแทรีโอ 8.ปรินซเอด็ เวริ ด ไอแลนด 9.ควิเบก 10.ซัสแคตเชวัน ดนิ แดน 1.นอรทเวสตเ ทรร ทิ อรีส 2.นนู าวตุ 3.ยคู อน

ตราแผนดินของแคนาดา ตราแผนดนิ ของแคนาดา (มีชื่อเรียกอยา ไมเ ปนทางการวา ตราอารมแหงแคนาดาหรือมีชือ่ เรยี กอยางเปน ทางการวา ตราแผน ดนิ ของแคนาดา ในพระปรมาภไิ ธยพระมหากษัตริยแ หงสหราชอาณาจักร)และ ใชเปน ตราประจาํ พระประมขุ สงู สดุ แหง แคนาดา ประกาศใชอยา งเปนทางการครงั้ แรก เม่อื พ.ศ. 2411 โดยไดรบั แรงบนั ดาลใจจากการออกแบบตราจากตราแผนดินของสหราชอาณาจักร พรอมกับมีการปรบั แกไขลักษณะบางอยา งของตราใหเ หมาะสม

ประชากรศาสตร จาํ นวนประชากร:32.601.360 ลา นคน (2551) สงั คมของแคนาดาเปน สงั คมทมี่ ีสวนผสมของชนชาติตาง ๆ มากมาย โดยชนชาติท่อี พยพเขา มาต้ังถิน่ ฐานมากที่สดุ ระหวา งป พ.ศ.2534 - 2543 คือคนจากเอเชีย (จีน อนิ เดีย ปากสี ถาน ลาว เขมร เวียดนาม ฟล ิปปน ส อหิ รา น) ซงึ่ เพิ่มข้นึ เปน รอยละ 59.5 ของคนเขาเมืองเพือ่ ตั้งถ่ินฐานในแคนาดา โดยในป พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) รฐั สภาแคนาดาไดออกกฎหมายคนเขาเมอื งตามขอเสนอของพรรคอนรุ ักษนิยม ซงึ่ ยงั คงมีผลบังคับใชจ นทุกวันน้ี สาระสําคญั ของกฎหมายดังกลา วคือการยกเลิกการเลือกปฏบิ ตั ิ (กอนหนา น้ี มีการออกกฎหมายป พ.ศ. 2430 (ค.ศ. 1887)เพ่ือกดี กันการเขาเมืองของคนจนี และตอ มาป ค.ศ. 1910 ไดอ อกกฎหมายท่ีใชหลกั การแหลง กาํ เนิด แบงเปน preferred ซง่ึ คอื กลมุ คนยโุ รป และ non-preferred ไดแก กลมุ ทไ่ี มใ ชยโุ รป) กลาวคอื การเปด รับคนเขา เมอื งจากทกุ ทอี่ ยา งเปน ทางการทว่ั ไป และการใชวธิ กี ารคิดคะแนนประเมนิ นํา้ หนัก (point system) วาสมควรรับผูใ ดเขาไปตัง้ ถน่ิ ฐานในแคนาดา ทง้ั น้ี เปน ที่นา สงั เกตวา แคนาดามองเรอื่ งการรบั คนเขาไปตง้ั ถ่นิ ฐานอยา งเปนการถาวร เพื่อเปน ฐานการเก็บภาษีใหแกร ัฐบาลกลางและรัฐบาลของรัฐ คานิยมหลักของสงั คมแคนาดาทฝ่ี ง ลึกในทุกคนคอื การสงเสรมิ และเคารพในสิทธแิ ละเสรีภาพของมนุษย ซ่งึ เปน หลักพน้ื ฐานสาํ คญัทีส่ ดุ ของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สังคมแคนาดาจะสนใจอยางยง่ิ ตอพฒั นาการในประเทศทม่ี ีระบอบการปกครองที่มกี ารละเมิดสิทธมิ นุษยชน

ภมู อิ ากาศภมู ปิ ระเทศ ประเทศแคนาดามีอาณาเขตตดิ กบั สหรัฐอเมริกา เปนประเทศทม่ี ที ่ตี ัง้ อยูท างเหนอื มากท่สี ดุ ของโลกและมีขนาดใหญเปนอนั ดบั สองของโลก ปจจบุ ันแคนาดาท่ตี ง้ั ทศิ เหนอื จรดมหาสมุทรอารก ติก ทศิ ใตจ รดสหรัฐอเมรกิ า ทศิ ตะวนั ออกจรดมหาสมทุ รแอตแลนติก ทิศตะวันตกจรดมหาสมทุ รแปซิฟก และรฐั อะแลสกาของสหรัฐอเมริกา พ้ืนท่ี 9,976,140 ตารางกโิ ลเมตร ขนาดใหญเ ปน อนั ดบั 2 ของโลก จาํ นวนประชากร: 34.59 ลา นคน (2554)สภาพภมู ิอากาศ เนอ่ื งจากประเทศแคนาดามีขนาดคอนขางใหญ สภาพภมู อิ ากาศในแตล ะพน้ื ท่ีอาจมคีวามแตกตา งกนั อยบู าง แตฤดหู ลักๆของแคนาดามดี ังนี้ฤดูหนาว เริ่มต้ังแตเดือน มกราคม ถึงกลางเดอื นมีนาคม มีหิมะตกโดยทั่วไป อณุ หภูมจิ ะต่าํ กวา จุดเยอื กแข็ง (-13°C)แถบโตรอนโตและคัลการี แวนคเู วอรอ ากาศจะอนุ กวาเลก็ นอ ย ฤดใู บไมผ ลิ เร่มิ ต้งั แตช วงกลางเดือนมนี าคมไปจนถึงมิถุนายน อาจจะมีหิมะตกอยูบา งในชว งตน ฤดู โดยเฉพาะบนยอดเขา ทะเลสาปนํา้ แข็งจะเริ่มละลายกลายเปน ทะเลสาปใน อากาศจะเริม่ อบอนุ ขนึ้ ฤดูรอน เริ่มตัง้ แตกลางเดอื นมถิ ุนายน ไปจนถงึ กลางเดือนกนั ยายน เดอื นกรกฏาคนเปน เดอื นทรี่ อ นท่สี ดุ อุณหภมู อิ าจสูงถึง30 - 40 °C แตจะไมรูสกึ อึดอดั มากเนือ่ งจากอากศคอ นขา งแหงฤดูใบไมร ว ง เรม่ิ ตัง้ แตกลางเดอื นกนั ยายนไปจนถึงส้นิ เดอื นธันวาคม อุณหภมู ิจะเริม่ เย็นลงอกี ครง้ั จะเรม่ิ เหน็ หมิ ะตกต้งั แตเดอื นตุลาคม

ซเี อน็ ทาวเวอร (CN Tower) หอคอยเดีย่ วทสี่ ูงท่สี ุดในโลก ต้ัง อยูในยา นใจกลางเมอื งโตรอนโต รัฐออนแทริโอ ประเทศแคนาดา เปน หอคอยสอื่ สารและสงั เกตการณร ปู ทรงเหมือนเข็มและมรี ะเบียงลอมรอบเปนระยะๆเพ่อื ใชเปน ชน้ั ชมววิ ชน้ั ลางภายในทาวเวอรมีภัตตาคารและรา นอาหารหรูไวใ หท านอาหารพรอ มชมความงามยามคา คนื ของโตรอนโต ณ จดุ ชมวิวสงู สุดของซเี อ็นทาวเวอรห รือ สกายพอด (Sky Pod) นกั ทองเที่ยวจะสามารถชมทวิ ทศั นท่งี ดงามจนนา ท่งึ ของนครโตรอนโตจากความสงู 342 เมตรไดไ กลถงึ 100กิโลเมตร และในวันท่ที องฟาแจมใสจะ สามารถมองเหน็ เมืองโรเชสเตอร รัฐนิวยอรก หรอื สมั ผสั ละอองนาจากน◌ําตกไนแอการาไดเลยทีเดยี ว สวนลิฟตข องทนี่ ก่ี ็ไมเ หมอื นท่ีอ่ืนเพราะมีความเร็วถงึ 20 กม.

2. เทือกเขาซัลเฟอร(Sulphor Mountain) เทอื กเขาทม่ี ที ัศนียภาพงดงามเปน อยา งยง่ิ และเปน แหลง ทองเท่ยี วยอด นยิ มในเขตอทุ ยานเทอื กเขาแคนาเดย้ี นรอ็ กกี้ CANADIAN Rocky Mountain Park ต้ังอยูใกลเ มืองทอ งเทยี่ วสาํ คัญ 2 เมือง คือ เมอื งบานฟแ ละเมืองเลก หลุยส ในอดีตไดมกี ารกอ สรางทางรถไฟขา มทวปี สาย Canadian Pacific Railway และคนงานไดไปพบบอน◌ าํ พรุ อ นที่มีแรกาํ มะถันมากมาย รัฐบาลจงึ ประกาศจดั ตง้ั พ้ืนทีข่ องเทือกเขาซลั เฟอรนข้ี น้ึ เปนเขตอทุ ยานเทือกเขาแคนา เดยี้ นรอ็ กก้ี เทอื กเขาซัลเฟอรเปนจุด กาํ เนดิ ของบอน◌ํารอนมากมายในอทุ ยาน แหง ชาตแิ บนฟ โดยเมอื่ ฝนตกลงมา ท่ยี อดเขาน◌าํ ฝนจะไหลผา นชั้นกาํ มะถนั และไดร ับความ รอนจากใตโ ลก จงึ กลายเปน บอน◌ ํารอ น บางจดุ จะพงุ ออกมาตามรอยปริแตกของชั้นหนิ กลาย เปน น◌ าํ พรุ อ น . . . นกั ทอ งเทีย่ วสามารถนงั่ รถกระเชา ข้ึนไปยังจุดชมววิ บน ยอดเขาซัลเฟอรซง่ึ อยูส งู กวาระดับน◌ ําทะเล 2,285 เมตร บนยอดเขามีทาง เดนิ ไปยงั สว นท่สี ูงทีส่ ุดของ ยอดเขา คอื ยอดแซนซัน (Sanson Peak) จาก จดุ ชมวิวแหง นีน้ กั ทอ งเท่ยี วสามารถมองเหน็ ววิ ทวิ ทศั นอ ันงดงามของเทอื กเขา รอ็ กกี้และสเี ฟาสดใสของทะเลสาปเอเมอรัลใดในแบบพาโนรามาเลยทีเดียว

3. ทะเลสาปหลยุ ส Lake Louise ทะเลสาบอนั โดงดังไปทว่ั โลกของ อลั เบอรต าไดรบั การยกยองวาเปนหมูบ านและทะเลสาบท่ีสวยทส่ี ดุ แหง หน่ึงในโลก ทะเลสาบหลุยสอยูเหนอื เมอื งบานฟข น้ึ ไป 60 กิโลเมตร และอยูสูงกวา ระดบั น◌ําทะเล 1,730เมตร แวดลอ มดว ยเทือกเขาที่มหี มิ ะขาวโพลนปกคลมุ ยอดเขา น◌ําในทะเลสาบหลุยสเ ปน สเี ขยี วมรกต ผิวน◌ํานิง่ เรยี บใสราวกับกระจกสะทอ นเงาของขุนเขาและธารน◌ําแขง็ ทีอ่ ยู สงู ข้ึนไปเปนภาพที่งดงามราวอยูใ นดนิแดนแหงความฝน บรเิ วณรมิ ทะเลสาบมีหมบู า นเล็กๆที่สวยงาม และเปน ทต่ี ั้งของ สกีรสี อรท ท่ีมีชื่อเสยี ง อยาง เลค หลุยส Mountain Resort เลค หลุยสเปนแหลง ทองเท่ียวทมี่ ที า เรือสวยงามตดิ อันดบั ตน ๆ ของโลก ทีพ่ กั ท่ีนักทอ งเที่ยวนยิ มมาพกั คอื Fairmont Chateau Lake Louise จากจดุ ชมวิวของโรงแรมแหงน้ีจะสามารถมองเห็นววิ เทิวทัศนในมุมทส่ี วยทสี่ ุดของทะเลสาบ เลค หลยุ ส . . . กิจกรรมยอดฮติ เอีกอยา งทนี่ กั ทองเทย่ี วนยิ มคือการปน เขาและเดินเลน ลัดเลาะตามแนวทะเลสาบสีมรกต พรอมสัมผัสธรรมชาติอันสวยงามรอบดา นของอทุ ยานแหงชาติบานฟ ซงึ่ มีท้ังทุงดอกไมปา บอ น◌ําแรธรรมชาติ และธารน◌ําแขง็ อนั งดงาม

4. สะพานแขวนคาปล าโน (Capilano Bridge) ไดช ือ่ วา เปนสะพานแขวนทําดวยไมท ีย่ าวที่สุดในโลก แขวนอยูเหนอืแมน◌ าํ คาปลาโนซ่ึงไหลเชย่ี วกรากอยเู บ้อื งลางทีต่ ◌ําลงไปถึง 230 ฟุต ความพิเศษของสะพานแขวนคาปล าโน คอื เปนสะพานไมแ ขวนทีย่ าวทส่ี ดุ ในโลกและกลาวกนั วาสามารถรับน◌ําหนักของ เคร่ืองบนิ รบไดถ ึง 3-4 ลําเลยทีเดยี วบรเิ วณโดยรอบจะมสี ถานีเพาะพนั ธุป ลาแซลมอน มีผลิตภัณฑท ่ีทาํ จากปลาแซลมอนเปน สนิ คาขึ้นชอ่ื ของท่นี ่ี บรเิ วณน้ปี น แหลง ทอ งเท่ยี วท่ีสําคญั นอกจากความสวยงามของภมู ปิ ระเทศแลวยังเปนแหลง รวบรวมความรูเกย่ี วกับธรรมชาตขิ องปลาแซลมอนไวอยา งครบถว น นอกจากนี้ที่นีย่ งั เปนสถานที่ที่มคี ูห นมุ สาวนิยมมาขอแตงงานกนั บนสะพานอาจจะเปน เพราะบรรยากาศอนั สุดแสนจะโรแมนติคและธรรมชาตอิ นั งดงามทร่ี ายลอมตลอดเสน ทางเดินของสะพานไมท ย่ี าวที่สดุ ในโลกแหงนี้

5. อาคารรัฐสภาในเมอื งวกิ ตอเรีย (British Columbia Parliament Buildings)ใเนทมลสือสาํ อ าํใงถมควหาดกิัญนม ว ตีททแยอศัท่ีลออเนะรอุทาเยียีงคยปเภาาทนถราูก่ยีสนทพสถวไ่ีอทรามนั าปี่มดงงตชีอขดยก่อื ง้นึ กนเาสใรามนยี รนเงมชปาทเนวพก่สี งอานั ุดรยแธะแากห หงแวยง ลาห่ิงะงนงปอด่งึา1ขงค8าอา9มรง3ทเแม-่สีห1ือุดง 8งนข9ตี้อ6ัง้งปอเมจยือจใู งบุนวนั ใิคจเตปกอน ลเหราียงนแ่ึงวด

6. Columbia Icefield (Athabasca Glacier) ทงุ น◌ ําแขง็ ขนาดใหญในอทุ ยานแหง ชาติแบนฟ (Banff National Park) และเปน ทงุ นา แข็งทเ่ี ดนิ ทางเขาไปชมไดงายทส่ี ุดในโลกแหงหนึง่ โดยมี AthabascaGlacier เปนเนินเขานาแข็งอยูดา นหนา นักทองเท่ยี วขา ไปสมั ผัสไดโ ดยการเดนิ เทาไปจากถนน หรอื หากตองการขึน้ ไปชมทงุ น◌ ําแขง็ อยางใกลชิด กส็ ามารถซือ้ ทวั รซ่งึจะพาเราขึน้ รถ Ice Explorer 6 ลอไตน ◌ ําแขง็ ขึ้นไปชมดานบนของทงุ นา แข็งนอกจากนั้นรอบบรเิ วณยังมโี รงแรม ภตั ตาคาร กฟ๊ิ ชอป และนทิ รรศการเก่ียวกับGlacier ภายใน Icefield Center ใหชมฟรี ไปชม glacier milk ซ่ึงหาดไู ดยากตลอดทางจะมปี า ยเตือนวา หามกระโดดขา มหรอื เขา ใกลอ นั ตรายมาก ดทู ข่ี อบของทุงน◌าํ แข็งน้จี ะเหน็ รอยแตกและมี glacial milk ไหลเปนทางเเหน็ เปนสีขาวขนุ ๆ ทางข้นึชม Glacier จะคอ ยๆชันมากขน้ึ เรื่อยๆ ดา นลางคอื ทะเลสาบที่ glacier ทล่ี ะลายแลวไหลลงไปรวมกัน เวลาแดดออกจะเหน็ เปน สีฟา ใสสวยงาม ออกจาก ColumbiaIcefield Center ประมาณ 5 กม.จะมีจุดชมวิว มองเห็นน◌ าํ ตก และหนาผาดา นหลงัของ Glacier มบี รกิ าร Glacier Skywalk ใหอ อกไปชมวิวแบบพาโนรามา แตนาหวาดเสยี วเพราะพ้นื เปนกระจก Columbia Icefield เปน สถานที่ทองเทยี่ วใหมท ่มี ีชอ่ืเสยี งโดงดงั ในเวลาอนั รวดเรว็

จัดทาํ โดยน.ส.มนสั รา ลกั ษณะพร้มิ ปวส.1/13 เลขท่ี26


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook