ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การจัดการขยะในชุมชนแก้ว นิมิตร ตาบลคลองหน่ึง อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ผู้วิจัย มีเป้าหมายเพ่ือให้ความรู้เกี่ยวกับ ความหมายของขยะ ประเภทของขยะ แนวทางการจัดการขยะ หลักเกณฑ์มาตรฐานภาชนะรองรับขยะ การลดปริมาณขยะ การนาขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ โรคที่เกิดจาก ขยะ และระยะเวลาของการย่อยสลายขยะแต่ละประเภท ในรูปแบบ Infographic และรวบรวมทาเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เพือ่ สะดวกต่อการใชง้ านและเผยแพร่ ผู้ วิ จั ย ห วั ง เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ว่ า ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ เร่ื องกา ร จั ดกา ร ขยะในชุมชนแก้ว นิมิตร ต าบ ล ค ลองหนึ่ง อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี จะมีประโยชน์ต่อผู้ท่ีต้องการ จะศึกษาและสามารถนาความรู้ท่ีได้จากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มน้ี ไปประยุกต์ใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ คณะผูว้ จิ ัย มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร
-อาหารสตั ว์ -ธนาคารวัสดุรีไซเคลิ -ฝงั กลบ -บางส่วนรไี ซเคิลได้ -ปุย๋ หมกั -ขยะแลกไข่,ถุงผา้ -เตาเผา เชน่ แบตเตอรมี่ ือถือ -นา้ หมักชีวภาพ -บริจาค - คัดแยกออกมาและ ใหห้ น่วยงานกาจัดอยา่ ง ถูกหลกั วิชาการ
√ สามารถปอ้ งกันแมลงวนั √ มคี วามทนทาน แข็งแรง หนู สุนขั และสัตว์อ่นื ๆ ตามมาตรฐานสากล ไมใ่ หค้ ้ยุ เขยี่ ขยะได้ √ ไม่มีส่วนประกอบของสารพษิ √ มขี นาดพอเหมาะ หากจาเป็นควรใชส้ ารเติมแตง่ ใน มคี วามจุเพยี งพอต่อปริมาณ ปริมาณที่นอ้ ยและไมอ่ ยใู่ นเกณฑ์ ขยะสะดวกต่อการถ่ายเทขยะ ทเ่ี ป็นอันตรายต่อผู้บรโิ ภค และการทาความสะอาด √ ถงั ขยะควรมีสดั ส่วนจากพลาสติกท่ีใช้แล้วไม่ต่า กวา่ รอ้ ยละ 50 โดยน้าหนัก
จุดรวบรวมขยะขนาดยอ่ ม เ พื่ อ ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ประหยัด จึงต้องมีการต้ังจุดรวมขยะขึ้นโดยจุด รวบรวมขยะจะกาหนดไวต้ ามสถานที่ต่าง ๆ ได้แก่ หมู่บ้าน โรงอาหาร โรงภาพยนตร์ โดยมีภาชนะ รองรับตั้งไว้เป็นจุด ๆ เช่น หมู่บ้านจัดสรร กาหนดให้จุดรวบรวม 1 จุดต่อจานวนครัวเรือน 50-80 หลังคาเรือน แต่ละครัวเรือนจะรวบรวม ขยะท่ีคัดแยกได้ โดยนาขยะที่แยกประเภทของ สตี า่ ง ๆ มาท้ิงท่จี ุดรวบรวมขยะ
การแปรสภาพขยะ ในการจัดการขยะ อาจจัดให้มีระบบที่ช่วยเพ่ิม ประสิทธิภาพด้วยการแปรสภาพขยะ คือ การเปล่ียนแปลง สภาพลักษณะทางกายภาพเพ่ือลดปริมาณเปล่ียนรูปร่าง โดยวิธี คัดแยกเอาวัสดุที่สามารถหมุนเวียนใช้ประโยชน์ได้ออกมา วิธีการบดให้มีขนาดเล็กลง และวิธีอัดเป็นก้อนเพ่ือลดปริมาตร ของขยะได้ร้อยละ 20-75 ของปริมาตรเดิมท้ังนี้ข้ึนอยู่กับ ประสิทธิภาพของเคร่ืองมอื และลกั ษณะของขยะ
การลดปริมาณขยะ การลดปรมิ าณขยะให้ได้ผลดตี อ้ งเรม่ิ ตน้ ที่การคัดแยกขยะกอ่ นทงิ้ เพ่อื ไมใ่ ห้เกดิ การปนเป้อื น ทาให้ได้วัสดุเหลอื ใช้ทีม่ คี ณุ ภาพสูง สามารถนาไป Reused-Recycle ได้ง่าย รวมทัง้ ปริมาณขยะที่จะตอ้ งนาไปกาจัดมีปริมาณนอ้ ยลงดว้ ย และลักษณะสมบัตขิ ยะทแ่ี ตกต่างกันด้วย การคดั แยกขยะสามารถดาเนนิ การได้ 4 ทางเลือก การคดั แยกขยะทกุ ประเภทและทกุ ชนิด การคัดแยกขยะ 4 ประเภท (Four cans) การคัดแยกขยะสด ขยะแห้ง และขยะอันตราย (Three cans) การคัดแยกขยะสดและขยะแห้ง (Two cans)
ตางรางเปรยี บเทยี บข้อดแี ละขอ้ เสียทางเลือกการคดั แยกขยะ ทาง รูปแบบ ภาชนะ ขอ้ ดี ข้อเสยี สรุป เลอื กท่ี รองรบั ขยะ ผลงาน 1. แยกขยะท่ใี ชไ้ ดใ้ หม่ แบง่ ตาม วัสดทุ น่ี า -พาหนะเก็บขนต้องมี ดีมาก ทุกประเภทและ ประเภทขยะ กลับไปใช้ ประสิทธภิ าพสูง แยกขยะท่ตี ้อง ประโยชนม์ ี สามารถเก็บขยะท่ีแยก นาไปกาจัด คณุ ภาพดมี าก ได้หมด แต่ละวิธีได้ - เพมิ่ จานวนภาชนะ รองรบั ขยะมากขน้ึ 2. แยกขยะ4ประเภท แบง่ เปน็ ถังขยะ วัสดทุ น่ี า เพ่มิ จานวนภาชนะ ดี (Four cans) รีไซเคิล ขยะ กลับไปใช้ รองรบั ขยะมากขน้ึ ท่วั ไป ขยะยอ่ ย ประโยชนใ์ หม่มี สลายได้และ คณุ ภาพดี ขยะอันตราย 3. แยกขยะสด แบง่ เป็นถงั ง่ายต่อการนา วัสดุท่นี ากลับไปใช้ พอใช้ ขยะแห้ง ขยะสดขยะแหง้ ขยะสดไปใช้ ประโยชนย์ งั ปะปนกัน และขยะอนั ตราย และขยะ ประโยชน์และ อยูไ่ มไ่ ด้แยกประเภท (Three cans) อันตราย นาขยะอันตราย ไปกาจดั 4. แยกขยะสด แบ่งเปน็ ถัง ง่ายตอ่ การนา สับสนต่อนิยามคา ตอ้ ง และขยะแห้ง ขยะแห้ง ขยะเปียกใช้ วา่ ขยะเปยี ก ขยะแห้ง ปรับปรงุ (Two cans) และขยะเปยี ก ประโยชน์ ทาให้ทิ้งไมถ่ กู ต้องกับ ถงั รองรบั
เป็นการนาขยะท่ีสามารถคัดแยกได้กลับมา การนาขยะไปปรับสภาพให้มีประโยชน์ต่อ ใช่ใหม่ โดยจาเป็นต้องผ่านกระบวนการ การบารุงรักษาดิน เช่น การทาน้าหมัก แปรรูปใหม่(Recycle) หรือใช้ซ้า(Reuse) ชี ว ภ า พ ,ก า ร ห มั ก เ ป็ น ปุ๋ ย เ พื่ อ เ พ่ิ ม ก็ได้ (การทาส่ิงประดิษฐ์จากวัสดุเหลือ สารอาหารใหแ้ ก่ดินและเปน็ อาหารสตั ว์ ใช)้ โดยนาขยะมากาจดั โดยวิธฝี งั กลบอย่าง เป็นการนาขยะที่สามารถเปลยี่ นเปน็ ถกู หลักวชิ าการ (Sanitary landfill) พลงั งานความรอ้ นหรือเปล่ียนเปน็ รปู จะไดพ้ ้ืนท่ีสาหรับใชป้ ลูกพืช สรา้ ง กา๊ ซชีวภาพมาเพอ่ื ใช้ประโยชน์ สวนสาธารณะ สนามกีฬา เปน็ ต้น นาเศษอาหารไปทาเปน็ อาหารไปเลยี้ งสตั ว์ การเล้ยี งสตั วด์ ว้ ยมูลฝอยอินทรยี ์,การเล้ียง ไสเ้ ดอื นเพือ่ เพ่มิ สารอาหารใหแ้ กด่ ิน
โรคภมู แิ พ้ โรคจากการตดิ เช้ือ โรคผิวหนงั โรคระบบทางเดินอาหาร โรคมะเรง็
โ ร ค จ า ก ก า ร ติ ด เ ช้ือ อันตรายจากขยะตดิ เชอ้ื โรค เชน่ ถุงยางอนามัย ผา้ อนามัย กระดาษ ทิชชทู ่ีใชแ้ ลว้ สาลีเช็ดแผล เข็มฉดี ยา ฯลฯ หรือขยะที่เป็นวัตถุมีคม เช่น ไม้แหลม แก้วแตก และโลหะมีคม ฯลฯ โ ร ค ภู มิ แ พ้ เกิดจากการสูดดมกลิ่นขยะ หรือฝุ่นละอองท่ีปลิวฟุ้งกระจายมาจาก เศษขยะชนดิ ตา่ งๆ ตลอดจนก๊าซหรอื ไอของสารพษิ จากขยะอันตราย บาง ชนดิ ทีร่ ะเหยหรอื ปล่อยสารออกมาเปน็ ฝ่นุ ผสมอยู่ในอากาศ เช่น สี น้ามัน รถยนต์ โ ร ค ร ะ บ บ ท า ง เ ดิ น อ า ห า ร เกิดจากเช้ือจุลินทรีย์ต่างๆ เช่น ไวรัส รา หรือแบคทีเรียในขยะ มูลฝอยท่ีตกค้างบนพื้น ซ่ึงเป็นแหล่งเพาะพันธ์ุช้ันดีของหนู ยุง แมลงสาบ และแมลงวัน พาหะนาโรคภัยต่างๆ มาสู่มนุษย์ เช่น โรคท้องร่วง โรค พยาธติ า่ งๆ โรคบดิ รวมถงึ เช้ืออหวิ าตกโรค และไทฟอยด์ โ ร ค ผิ ว ห นั ง ขยะมีพิษบางชนิด เช่น ยาฆ่าแมลง ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดจะมี สารเคมอี นั ตรายประกอบ ถ้าหากสัมผสั หรือจับต้องโดยตรง จะทาให้ซึมเข้าสู่ ผิวหนัง กระแสเลือด และเขา้ สู่รา่ งกายไปอย่างรวดเร็ว จนเกดิ โรคต่างๆ โ ร ค ม ะเ ร็ ง ถ้าหากสูดดมอากาศเสีย หรือสัมผัสสารเคมีอันตรายต่างๆ อย่าง ต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน อาจทาให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งผิวหนัง มะเรง็ ตับ หรอื มะเร็งชนิดอ่นื ๆ ได้
ขยะเมอ่ื ของกนิ ของใช้ กลายเปน็ …นานเทา่ ไหรก่ วา่ จะยอ่ ยสลายได้ ? ร่วมกันลดปริมาณขยะ สร้างนิสัย ไปซอ้ื ของ
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: