Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์

ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์

Published by dnavaroj15, 2019-10-07 21:09:50

Description: ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์

Keywords: ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์

Search

Read the Text Version

ปรากฏการณท์ ่ีเกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ วชิ าวิทยาศาสตร์ 6 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสรุ ิยะ http://www.kksci.com ห้องเรียนออนไลน์ครเู ดช https://site.google.com/view/krudech-online โรงเรยี นสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถมั ภ์

ปรากฏการณ์ท่เี กดิ จากโลกหมนุ รอบตัวเอง การเคล่ือนท่ขี องโลก โลกหมุนรอบแกนสมมุติที่ผ่านขัว้ โลกเหนือและขัว้ โลกใต้ แกนสมมตุ ินีจ้ ะชีไ้ ปยงั จดุ ค่อนข้างจะคงท่ีบนฟ้ าโดยในปัจจบุ นั แกน ท่ีผา่ นขวั้ โลกเหนือชีไ้ ปยงั จดุ ซง่ึ ดาวเหนืออย่ใู กล้ๆทิศทางที่โลกหมนุ คือ จากทิศตะวนั ตกไปทางทิศตะวนั ออก กลา่ วคือ หมนุ จากทาง ประเทศพม่ามาทางประเทศไทย การหมนุ รอบตวั เองของโลกจึงทา ให้เกิด \"ทศิ \" โลกหมนุ จากทิศตะวนั ตกไปทิศตะวนั ออก เพราะฉะนนั้ ทิศจึง ไปกบั โลกตลอดเวลา การหมนุ รอบตวั เองของโลกนอกจากจะทาให้ เกิดทศิ แล้วยงั ทาให้เกิดการขนึ ้ -ตกของดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ตลอด ทงั้ ดวงดาวทงั้ หลายบนฟ้ าด้วย ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเองโลกก็ เคลื่อนหรือโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปด้วย การเคล่ือนท่ีรอบดวง อาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลา 1 ปี โลกหรือ 365 วนั ด้วยความเร็วที่สงู กว่า จรวด ซง่ึ สง่ ดาวเทียมออกไปนอกโลก ดงั นนั้ จงึ อาจจะเปรียบเทียบ ได้ว่าโลกเป็ นยานอวกาศลาใหญ่ท่ีโคจรอยู่ในอวกาศรอบดวง อาทติ ย์

ปรากฏการณท์ ่เี กดิ จากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ภาพประกอบ 1.2.2 วงโคจรรอบดวงอาทติ ย์ เม่ือโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์จะเกิด \"ระนาบทางโคจรของ โลก\" ซ่ึงหมายถึงพ้ืนราบที่มีดวงอาทิตย์และโลกอยู่บนพื้นราบ เดียวกัน พ้ืนราบอาจแผ่ออกไปไกลถึงฟ้า เส้นโค้งซึ่งเกิดจาก ระนาบทางโคจรของโลกไปตัดท้องฟ้าเรียกว่า \"สุริยวิถี หรือ เส้นอิคลิปติก\" แกนท่ีโลกหมุนรอบซ่ึงผ่านข้ัวโลกเหนือและขั้ว โลกใต้ไม่ต้ังฉากกับระนาบทางโคจรแต่เอียงจากแนวต้ังฉากเป็น มุมประมาณ 23.5 องศา การเอียงของแกนโลกเช่นนี้จะทาให้ข้ัว โลกเหนือหันเข้าหาดวงอาทิตย์ในเดือนมิถุนายนและหันออกจาก ดวงอาทติ ย์ในเดือนธนั วาคม

ปรากฏการณ์ทีเ่ กดิ จากโลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ ฤดกู าล (Seasons) เกดิ จากโลกโคจรรอบดวงอาทิตยโ์ ดยทแี่ กนของโลก เอยี ง 23.5° ในฤดรู อ้ นโลกเอียงข้วั เหนอื เข้าหาดวงอาทิตย์ ทาใหซ้ กี โลกเหนือ กลายเป็นฤดูร้อน และซกี โลกใต้กลายเป็นฤดหู นาว หกเดือนตอ่ มาโลกโคจรไป อยอู่ กี ดา้ นหนงึ่ ของวงโคจร โลกเอียงข้ัวใต้เขา้ หาดวงอาทิตย์ (แกนของโลก เอียง 23.5° คงทีต่ ลอดปี) ทาใหซ้ กี โลกใต้กลายเป็นฤดรู อ้ น และซกี โลกเหนือ กลายเป็นฤดหู นาว ดงั แสดงในภาพที่ 1 ภาพที่ 1 แกนของโลกเอยี ง 23.5° ขณะท่โี คจรรอบดวงอาทติ ย์ วันท่ี 20 - 21 มิถนุ ายน เป็นวนั ครษี มายนั (Summer Solstice) โลกหันซกี โลกเหนือเขา้ หาดวงอาทติ ย์ ทาใหเ้ รามองเห็นดวงอาทิตย์ อยคู่ ่อนไปทางทศิ เหนอื (Dec +23.5°) ดวงอาทิตยข์ น้ึ เรว็ ตกชา้ เวลา กลางวันยาวกว่ากลางคนื ซีกโลกเหนือเป็นฤดูรอ้ น วันท่ี 22 - 23 กันยายน เป็นวันศารทวิษวุ ัต (Autumnal Equinox) ดวงอาทติ ย์ข้นึ ตรงทิศตะวนั ออกและตกตรงทศิ ตะวนั ตกพอดี กลางวัน และกลางคนื ยาวเทา่ กัน ซีกโลกเหนือเป็นฤดใู บไม้ร่วง เนอ่ื งจากโลก ได้รับพลังงานจากดวงอาทิตยล์ ดลงเมอื่ เทยี บกับฤดรู อ้ น ต้นไมจ้ งึ ผลดั ใบทิง้

ปรากฏการณ์ท่เี กดิ จากโลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ วันท่ี 20 - 21 ธันวาคม เป็นวันเหมายัน (Winter Solstice) โลกหันซีกโลกใต้เข้าหาดวงอาทิตย์ ทาให้เรามองเห็นดวง อาทิตย์อยู่ค่อนไปทางทิศใต้ (Dec -23.5°) ซีกโลกเหนือเป็นฤดู หนาว ดวงอาทิตย์ขึ้นช้าตกเร็ว เวลากลางวันส้ันกว่ากลางคืน โลกจึงได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์น้อยท่ีสุด ต้นไม้ในเขต ละติจูดสูงท้ิงใบหมด เน่ืองจากพลังงานแสงแดดไม่พอสาหรับ การสังเคราะห์แสง วันที่ 20 - 21 มีนาคม (Vernal Equinox) ดวงอาทิตย์ขึ้น ตรงทิศตะวันออกและตกตรงทิศตะวันตกพอดี กลางวันและ กลางคืนยาวเท่ากัน ซีกโลกเหนือเป็นฤดูใบไม้ผลิ เน่ืองจากโลก ได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์มากขึ้นเม่ือเทียบกับฤดูหนาว ตน้ ไมผ้ ลิใบออกมาเพือ่ สังเคราะหแ์ สงผลิตอาหาร อ้างองิ ทีม่ า : http://www.lesa.biz/astronomy/astro-events/seasons https://sites.google.com/site/krunewkew/science6/s1

ปรากฏการณ์ทเ่ี กดิ จากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ความแตกตา่ งของชว่ งเวลากลางวนั และกลางคนื มอี ิทธิพลตอ่ การ ผลแิ ละผลดั ใบในเขตละตจิ ดู สูงๆ เช่น ทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือ แต่ ในเขตละติจดู ต่าใกลเ้ ส้นศนู ย์สตู รจะไมม่ ีผลมากนกั เนอ่ื งจากดวงอาทติ ย์ ปรากฏเป็นมมุ สูงใกล้จดุ เหนือศรี ษะ พืน้ ผวิ โลกไดร้ บั พลงั งานจากดวง อาทิตยม์ ากตลอดทั้งปี ตน้ ไมจ้ ึงไมผ่ ลดั ใบ ภาพท่ี 2 ลมมรสุมทพี่ ัดผา่ นประเทศไทย ถ้าหากพ้ืนผิวของโลกมีสภาพเป็นเนื้อเดียวเหมือนกันหมด (ทรง กลมท่ีสมบูรณ์) ทุกบริเวณของโลกจะมี 4 ฤดูตามท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้น อย่างไรก็ตามพื้นผิวโลกมีสภาพแตกต่างกัน เช่น ภูเขา ที่ราบ ทะเล มหาสมุทร ซ่ึงส่งอิทธิพลต่อสภาพลมฟ้าอากาศ ประเทศไทยต้ังอยู่บน คาบสมุทรอินโดจีน ขนาบด้วยมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต้ จึงตกอยู่ ในอทิ ธิพลของลมมรสมุ (Monsoon) ทาใหป้ ระเทศไทยมี 3 ฤดู ดงั นี้ • ฤดูร้อน: ตงั้ แตเ่ ดอื นมนี าคม ถึงกลางเดอื นพฤษภาคม • ฤดฝู น: ตั้งแตก่ ลางเดือนพฤษภาคม ถงึ ปลายเดือนตลุ าคม • ฤดูหนาว: ตั้งแตป่ ลายเดือนตุลาคม ถึงเดือนกมุ ภาพันธ์

คาถามชวนคิด โลกโคจรรอบดวงอาทติ ยใ์ นลกั ษณะแกนโลกเอยี งทาให้เกิด ปรากฏการณใ์ ด ................................................................................................ ............................................................................................... ปรากฏการณท์ เ่ี กดิ จากโลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ ทาให้เกดิ อะไร ................................................................................................ แกนโลก คืออะไร ................................................................................................ ทรงกลมฟ้าคืออะไร ................................................................................................ เม่อื โลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ในลกั ษณะที่แกนโลกเอยี ง ตาแหน่งการ ข้นึ ตกของดวงอาทติ ยเ์ มื่อโลกอยตู่ าแหน่งตา่ งๆบนวงโคจร จะเปน็ อยา่ งไร ................................................................................................ ในชวี ิตประจาวนั นักเรียนคดิ ว่าตาแหน่งการขึ้นตกของดวงอาทติ ยม์ ี การเปล่ียนแปลงหรอื ไม่ อย่างไร ................................................................................................

ผจู้ ัดทา.... Fatdech Naowarot dnavaroj Dechmanee Naowarot โรงเรียนสมเดจ็ พระญาณสงั วร ในพระสังฆราชปู ถัมภ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook